ข้อใดเป็นการอ่านเพื่อความรู้


����Ԫ������� �����Ԫ� �31102
�ӹǹ 10 ���
�� �ç���¹�աѹ(�Ѳ�ҹѹ���ػ�����)
����� ��س����͡�ӵͺ���١��ͧ����ش

��ͷ�� 1)
��õդ��� �դ������µç�Ѻ�����ҡ����ش
   �����ҹ��ͤ���
   ��÷Ӥ�������
   ��ú͡�������·��ὧ����
   ����ʴ������Դ��繢ͧ�ؤ��

��ͷ�� 2)
"�����ҹ���͹���͸Ժ�������������դ��������´�����ҡ��鹨ҡ���ͤ������" ���¶֧�����ҹ㹢���
   �����ҹ�դ���
   �����ҹ�Ť���
   �����ҹ���¤���
   �����ҹ��ػ����

��ͷ�� 3)
�����������ѡ㹡����ҹ�դ���
   �Ѻ������Ӥѭ�ͧ����ͧ�����ҹ�����
   �Ӥ������㨡Ѻ���¤Ӻҧ�ӷ�������Ҥӹ���դ����Ӥѭ
   �Դ���˵ؼ����ҧ�ͺ�ͺ��͹���һ�������ҡѺ�����Դ�ͧ��
   �Ծҡ���Ԩ�ó��ʴ������Դ��繵������ͧ�����ҹ�����������֡��Ф����Դ�ͧ��

��ͷ�� 4)
����ͧ���¹���դ�������ѹ��Ѻ�����ҡ����ش
      
ข้อใดเป็นการอ่านเพื่อความรู้

   ���ѧ���������¡
   ��Ե�ѳ��������þ��
   ����ѹ��Ҿ�ѧ���繾�ɵ����ҧ���
   ��Ե�ѳ��������ö�ӡ�Ѻ��������

��ͷ�� 5)
�����¹�ٻ�Ҿ᷹���Ҿٴ �������ͤ���������١��ͧ��ЪѴਹ���·���ش
   ���˭ԧ - ������͹��
   �����͡ - �ػ��ä
   ����Һᴧ - �����ѡ
   �մ� - ������������

��ͷ�� 6)
�����ʴ���������֡�ͧ����оѹ���蹪Ѵ����ش
      
ข้อใดเป็นการอ่านเพื่อความรู้

   ���´�ѧ
   ��Ъ�
   ��蹪�
   ¡��ͧ

��ͷ�� 7)
�������������Դ��ѡ�ͧ��ͤ�����ҧ��
      
ข้อใดเป็นการอ่านเพื่อความรู้

   ����ͨ���ҹ��йض��������稧ҹ���Ƿʹ���
   ����ͨ���ҹ��йض����Դ�ٺ٪���ͧҹ���稡�Ѻ�����
   ����ͨ���ҹ��йض������͡���� �������稸��С�����ҧ���
   ����ͨ���ҹ��йض������㨷ء���ҧ������稧ҹ���������������

��ͷ�� 8)
�ҡ�ӻ�оѹ���ҧ�� ��Ңͧ����������������
      
ข้อใดเป็นการอ่านเพื่อความรู้

   �������
   ������
   ����������ҡ
   ����շ�Ѿ���ҡ

��ͷ�� 9)
"Ⱦ���������ŧ �١�����������ͧ� ���չ�ӵ�� ��Ǽ�� ��繫���ç�繫��� ����������ŧ�ҷӹͧ��ҧ��� ���繤�ҧ��ǵ���˭����ش ���ͨѺ�١��ǡ���繪״�˹���� ����͹�� ��ҡ�����͹˹����� ����ժ��Ե ���ҧ�������͹�ҧ�й�鹡�дԡ��" ��ͤ������¡�ҹ��Ѵ���������ê�Դ�
   �����������
   ͸Ժ�������
   �ȹ������
   ��ó�������

��ͷ�� 10)
��÷�����÷յ�ͧ���·�Ѿ���ҡ������������������ҡѺ�Թ�ͧ����ͧ����� �ç�Ѻ��ҹǹ�
   �է����ҡԹ
   ��ҹ�Ӿ�ԡ����������
   ����ʹ�Ҫ�ҧ ��ҧ�ʹ�����
   ���¹��������ҡ �����ҡ���¹ҹ


ประเภทของการอ่าน

            การอ่านแบ่งออกเป็น ๒ ประเภทคือ การอ่านในใจและการอ่านออกเสียง

๒.การอ่านในใจ

            การอ่านในใจ คือการแปลความหมายของตัวอักษรออกมาเป็นความคิด ความเข้าใจ และนำความคิดความเข้าใจที่ได้นั้นไปใช้ให้เป็นประโยชน์ ประเภทของการอ่านดังต่อไปนี้คือ

๑. การอ่านจับใจความ

            การอ่านจับใจความ เป็นการอ่านหนังสืออย่างละเอียดเพื่อเก็บแนวคิดหรือสรุปสาระสำคัญของเรื่อง ที่อ่าน หลักสำคัญของการอ่านจับใจความคือการแยกใจความ (ข้อความสำคัญที่สุด) ออกจาก พลความ (ข้อความประกอบ)

วิธีการอ่าน

๑) สังเกตส่วนประกอบของงานเขียน เช่น ชื่อเรื่อง คำนำวัตถุประสงค์ ของผู้เขียนว่าเป็นงานเกี่ยวกับอะไร และเขียนเพื่ออะไร

๒) วิเคราะห์จุดมุ่งหมายงานเขียนว่าเขียนด้วยวัตถุประสงค์ใด

๓) จัดลำดับเนื้อหาใหม่ตามความสำคัญ

๔) ใช้การตั้งคำถามกว้าง ๆ ว่าใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร และทำไม เพื่อหาความสัมพันธ์ในการดำเนินเรื่อง

๒. การอ่านตีความ

คือ การอ่านที่ผู้อ่านจะต้องใช้สติปัญญาตีความหมายของคำและข้อความทั้งหมด โดยพิจารณาถึงความหมายโดยนัย หรือความหมายแฝงที่ผู้เขียนต้องการจะสื่อความหมาย ซึ่งทั้งนี้ผู้อ่านจะสามารถตีความหมายของคำสำนวนได้ถูกต้องหรือไม่นั้นจำเป็นต้องอาศัยเนื้อความแวดล้อมของข้อความนั้นๆบางครั้งต้องอาศัยความรู้หรือประสบการณ์ปัจจุบันเป็นเครื่องช่วยตัดสินการอ่านตีความมีหลักเกณฑ์ในการอ่านดังนี้

การอ่านตีความอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้อ่านต้องพิจารณาความหมายโดยอาศัยบริบท น้ำเสียงของผู้เขียน เจตคติ ภูมิหลังของเหตุการณ์ประกอบด้วย

ข้อปฏิบัติในการอ่านตีความ

- อ่านเรื่องให้ละเอียดโดยพยายามจับประเด็นสำคัญของเรื่องให้ได

- หาเหตุผลอย่างรอบคอบเพื่อพิจารณาว่ามีความหมายถึงสิ่งใด

- ทำความเข้าใจกับถ้อยคำที่ได้จากการตีความ

- เรียบเรียงถ้อยคำให้มีความหมายชัดเจนและมีเหตุมีผลเป็นหลักสำคัญ

๓. การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ

การอ่านชนิดนี้เป็นการอ่านที่ค่อนข้างยาก เพราะต้องใช้การหาเหตุผลมาใช้ในการวิจารณ์

ข้อควรปฏิบัติในการอ่านอย่างใช้วิจารณญาณ

๑. พิจารณาความหมายของข้อความที่อ่าน

๒. พิจารณาความต่อเนื่องของประโยคว่ามีเหตุผลสอดรับกันหรือไม่

๓. พิจารณาความต่อเนื่องของใจความหลักและใจความรอง

๔. แยกแยะข้อเท็จจริงออกจากความคิดเห็นและความรู้สึก

๕. พิจารณาว่ามีความรู้เนื้อหา หรือมีความคิดแปลกใหม่น่าสนใจหรือไม่

๔. การอ่านวิเคราะห์

การอ่านชนิดนี้เป็นการอ่านเพื่อพิจารณาอย่างถี่ถ้วน เป็นการแยกแยะทำความเข้าใจองค์ประกอบหรือโครงสร้างของหนังสือแต่ละประเภท

ข้อควรปฏิบัติในการอ่านวิเคราะห์

๑. ศึกษารูปแบบของงานประพันธ์ว่าเป็นรูปแบบใด

๒. แยกเนื้อเรื่องออกเป็นส่วน ๆ ให้เห็นว่าใครทำอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไร

๓. แยกพิจารณาแต่ละส่วนให้ละเอียดลงไปว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง

๔. พิจารณากลวิธีในการนำเสนอ

๕.การอ่านเพื่อประเมินคุณค่า

การประเมินค่าเป็นการตัดสินความถูกต้องเที่ยงตรงและคุณค่าของเรื่องที่อ่าน ว่าถูกต้องชัดเจนหรือไม่ เชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด มีคุณค่าหรือไม่ อย่างไร โดยพิจารณาเนื้อหา วิธีการนำเสนอ และการใช้ภาษา

วิธีการอ่านประเมินคุณค่า

๑.พิจารณาความถูกต้องของภาษาจากเรื่องที่อ่าน
๒.พิจารณาความต่อเนื่องของประโยค ว่าเป็นข้อความที่ไปกันได้ ไม่ขัดแย้งกัน
๓.พิจารณาความต่อเนื่องของความหมาย
๔.เมื่ออ่านแล้วต้องแยกข้อเท็จจริงออกจากความคิดเห็น และความรู้สึกจากเรื่องที่อ่าน

การอ่านออกเสียง

            การอ่านออกเสียง หมายถึงการอ่านข้อความโดยการเปล่งเสียงออกมาเพื่อให้ผู้อื่นได้รับรู้ข้อความนั้นๆ ด้วยการอ่านออกเสียงแบ่งเป็น ๒ ลักษณะคือ

๑.การอ่านออกเสียงปกติ

          เป็นการอ่านออกเสียงตามปกติทั่วไป อ่านได้ทั้งบทร้อยแก้วและร้อยกรอง เช่น อ่านข่าว อ่านประกาศ อ่านตีบท อ่านสารคดี อ่านข้อความประกอบภาพนิ่ง หรืออ่านบทภาพยนตร์

วิธีการอ่านออกเสียงปกติ 

๑.ทำความเข้าใจกับเรื่องที่จะอ่านก่อนการอ่านจริง

๒.ออกเสียงชัดเจน ดังพอประมาณ มีลีลาจังหวะในการอ่านอย่างเหมาะสม

๓.แบ่งวรรคตอนได้ถูกต้อง

๔.อ่านออกเสียงถูกต้องตามอักขรวิธี

๒.การอ่านทำนองเสนาะ

          การอ่านทำนองเสนาะเป็นการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองหรือวรรณคดีไทยให้ไพเราะน่าฟัง มุ่งให้เกิดความรู้สึกซาบซึ้ง เกิดอารมณ์ จินตนาการ คล้อยตามบทร้อยกรองนั้นๆ ด้วย                

วิธีการอ่านทำนองเสนาะ

๑.ต้องรู้จักลักษณะคำประพันธ์ที่จะอ่านก่อนว่าบังคับฉันทลักษณ์อย่างไร

๒.อ่านให้ถูกทำนอง

๓.ควรมีน้ำเสียงและลีลาในการอ่านที่ดี

๔.ออกเสียงแต่ละคำถูกต้องชัดเจน

การอ่านคือข้อใด

การอ่าน คือ กระบวนการที่ผู้อ่านรับรู้สารซึ่งเป็นความรู้ ความคิด ความรู้สึก และ ความคิดเห็นที่ผู้เขียนถ่ายทอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร การที่ผู้อ่านจะเข้าใจสารได้มากน้อยเพียงไร ขึ้นอยู่กับประสบการณ์และความสามารถในการใช้ความคิด (มณีรัตน์ สุกโชติรัตน์, 2547, หน้า 18)

ข้อใดคือสารให้ความรู้

1.การฟังสารประเภทให้ความรู้ สารประเภทให้ความรู้ ได้แก่ ข้อความหรือเรื่องราวที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปในการดำเนินชีวิตประจำวัน ข้อความหรือเรื่องราวเกี่ยวกับข่าวสารเหตุการณ์ความเป็นไปสังคมตั้งแต่สังคมขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ซึ่งจะมีทั้งสารข้อเท็จจริง สารข้อคิดเห็นและสารแสดงอารมณ์ความรู้สึก นอกจากนี้ยังรวม ...

ข้อใดสำคัญที่สุดสำหรับการอ่านในใจ

การอ่านในใจ.
ตั้งสมาธิให้แน่วแน่.
กะระยะช่วงสายตาแต่ละคราวให้กว้างที่สุด จะทำให้อ่านได้รวดเร็ว ไม่ควรมองเป็น ... .
จับใจความสำคัญและใจความประกอบให้ได้ อาจตั้งคำถามถามตนเองว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร แล้วตอบคำถามเหล่านั้นก็จะสามารถจับใจความสำคัญได้.
ไม่ทำปากขมุบขมิบหรือออกเสียงในเวลาอ่าน.

ข้อใดคือความหมายของการพูด

การพูดเป็นพฤติกรรมทางภาษาที่ควบคู่ไปกับการฟังเพื่อการสื่อความหมายระหว่างมนุษย์ เป็นการเปล่งเสียงออกมาเป็นภาษาเพื่อถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึก หรือความต้องการของผู้พูดไปยังผู้ฟัง โดยใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง และอากัปกิริยา จนเป็นที่เข้าใจกันได้