ข้อใดเป็นอาคารที่ไม่ต้องขออนุญาตปลูกสร้าง

การขออนุญาตก่อสร้าง แบบไหนจำเป็นต้องได้รับการเซ็นแบบจากสถาปนิก หรือวิศวกร และแบบไหนที่พรบ.ควบคุมอาคารไม่ได้บังคับให้มีการเซ็นแบบ วันนี้ rabbit finance มีคำตอบนั้นมาให้แล้วค่ะ

แบบบ้านที่ขออนุญาตก่อสร้างได้ โดยไม่ต้องมีวิศวกร และสถาปนิกเซ็นแบบ

  • บ้าน 1-2 ชั้น พื้นที่ใช้สอยไม่เกิน 150 ตร.ม. วิศวกร และสถาปนิกไม่ต้องเซ็นแบบ

อ้างอิงจาก กฎกระทรวงฉบับที่ 56 (พ.ศ.2543)

ข้อใดเป็นอาคารที่ไม่ต้องขออนุญาตปลูกสร้าง

การขออนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร รื้อถอนอาคาร หรือเคลื่อนย้ายอาคาร ที่อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนจังหวัด เฉพาะในเขตสภาตำบล หรือเขตองค์การบริหารส่วนตำบล แต่มิได้อยู่ในบริเวณพื้นที่ที่มีกฎกระทรวง หรือข้อบัญญัติท้องถิ่น กำหนดการตามมาตรา 8 (10) หรือประกาศกระทรวงมหาดไทยที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยออกตาม มาตรา 13 ใช้บังคับ ถ้าเป็นอาคารดังต่อไปนี้ ให้แนบเฉพาะแผนผังบริเวณแสดงที่ตั้งอาคารโดยสังเขป และสำเนาเอกสารแสดงสิทธิในที่ดินพร้อมกับคำขอ

“อาคารอยู่อาศัยไม่เกินสองชั้น และมีพื้นที่ทุกชั้นในหลังเดียวกัน รวมกันไม่เกิน 150 ตารางเมตร นั่นหมายถึงบ้านพักอาศัย มีพื้นที่ไม่เกิน 2 ชั้น และพื้นที่ใช้สอยรวมกันไม่เกิน 150 ตารางเมตร เป็นลักษณะที่ทางกฎหมายอนุญาต ไม่จำเป็นต้องมีสถาปนิก และวิศวกรเซ็นรองรับ ส่วนการคุมงานก่อสร้างนั้น เจ้าของบ้านสามารถเซ็นควบคุมงานได้เอง”

ข้อใดเป็นอาคารที่ไม่ต้องขออนุญาตปลูกสร้าง

และนอกจากพื้นที่ใช้สอยแล้ว การออกแบบโครงสร้างทางวิศวกรรมยังมีผลต่อการขออนุญาตเช่นกัน โดยกฎหมายได้ระบุไว้ว่า บ้านหรืออาคารดังกล่าวนี้ต้องเข้าข่ายให้มีวิศวกรออกแบบ และควบคุมงาน
“อาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 3 ชั้นขึ้นไป หรือโครงสร้างของอาคารชั้นใดชั้นหนึ่งสูงตั้งแต่ 4 เมตร หรือมีช่วงคานตั้งแต่ 5 เมตรขึ้นไป”

  • ช่วงคานไม่ถึง 5 เมตร วิศวกร และสถาปนิกไม่ต้องเซ็นแบบ

โดยปกติแล้ว บ้านเรือนทั่วไปจะนิยมออกแบบช่วงคานประมาณ 4 เมตร ซึ่งหากช่วงคานยาวมากกว่านี้ ก็อาจส่งผลให้เกิดอันตรายได้ ดังนั้น กฎหมายจึงได้ระบุไว้ว่า หากช่วงคานยาว 5 เมตรขึ้นไป ต้องมีวิศวกรออกแบบ และคุมงาน

  • ช่วงความสูงชั้นใดชั้นหนึ่งไม่ถึง 4 เมตร วิศวกร และสถาปนิกไม่ต้องเซ็นแบบ

ข้อใดเป็นอาคารที่ไม่ต้องขออนุญาตปลูกสร้าง

โดยปกติแล้ว บ้านเรือนทั่วไปจะนิยมออกแบบให้พื้นจรดฝ้าเพดาน มีความสูงประมาณ 2.6-3 เมตร แต่อาจมีบ้านลักษณะพิเศษ เช่น บ้านชั้นครึ่ง หรือบ้านที่มีความสูงโปร่ง ที่อาจมีความสูงเกินกว่า 4 เมตร ซึ่งหากพื้นที่ใดมีความสูงตั้งแต่ 4 เมตรเป็นต้นไป จะต้องมีลายเซ็นรับรองจากวิศวกรออกแบบ และควบคุมงาน

ปล. ข้อมูลนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ เนื่องจากเขตการปกครองบางแห่งจะมีกฎหมายเฉพาะที่ที่ใช้เฉพาะพื้นที่นั้นๆ รวมทั้งเทศบาลบางแห่งอาจแตกต่างไปจากเทศบาลอื่นๆ

กฎหมายที่มีฉบับแก้ไขเพิ่มเติม หากฉบับแรกระบุว่า “แก้ไขโดย” ฉบับใด หมายความว่า เป็นไฟล์ที่ได้แก้ไขเพิ่มเติมโดยฉบับดังกล่าวแล้ว แต่ถ้าไม่ได้ระบุว่าแก้ไขโดยฉบับใด จะต้องดูฉบับแก้ไขเพิ่มเติมที่ยังไม่ได้ระบุให้ครบถ้วนด้วย
  • ชื่อ “กฎกระทรวง ฉบับที่ … (พ.ศ. ….)” อาจไม่ได้ใส่สร้อยท้ายชื่อ “ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522” ไว้ เพื่อความกระชับ
  • แจ้ง link ไม่สมบูรณ์ หรือแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ที่ศูนย์ข้อมูลกฎหมายอาคาร: [email protected]
  • พระราชบัญญัติ

    • พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 แก้ไขโดย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535, (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2550 (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2558 และพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวกับความรับผิดในทางอาญาของผู้แทนนิติบุคคล พ.ศ. 2560
      • พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
      • พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535
      • พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543
      • พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2550
      • พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2558

    กฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ และประกาศกระทรวงมหาดไทยที่ออกตามมาตรา 8 วรรคสอง

    • กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) แก้ไขโดย กฎกระทรวง ฉบับที่ 58 (พ.ศ.2546) กฎกระทรวง ฉบับที่ 61 (พ.ศ. 2550) กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) และ กฎกระทรวง ฉบับที่ 68 (พ.ศ. 2563) – ลักษณะอาคาร ส่วนต่างๆ ของอาคาร ที่ว่างภายนอก แนวอาคารและระยะต่างๆ ของอาคาร 
      ข้อใดเป็นอาคารที่ไม่ต้องขออนุญาตปลูกสร้าง
      • กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543)
      • กฎกระทรวง ฉบับที่ 58 (พ.ศ. 2546) แก้ไข กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543)
      • กฎกระทรวง ฉบับที่ 61 (พ.ศ. 2550) แก้ไข กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543)
      • กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) แก้ไข กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543)
      • กฎกระทรวง ฉบับที่ 68 (พ.ศ. 25ุ63) แก้ไข กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) 
        ข้อใดเป็นอาคารที่ไม่ต้องขออนุญาตปลูกสร้าง

    • กฎกระทรวง ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) แก้ไขโดย กฎกระทรวง ฉบับที่ 63 (พ.ศ. 2551) – ระบบป้องกันอัคคีภัย, ห้องน้ำและห้องส้วม, ระบบการจัดแสงสว่างและระบายอากาศ, ระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้าสำรองกรณีฉุกเฉิน
      • กฎกระทรวง ฉบับที่ 63 (พ.ศ. 2551) แก้ไข กฎกระทรวง ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537)

    • กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) แก้ไขโดย กฎกระทรวง ฉบับที่ 42 (พ.ศ. 2537) ฉบับที่ 50 (พ.ศ. 2540) และ ฉบับที่ 64 (พ.ศ. 2564) – อาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ
      ข้อใดเป็นอาคารที่ไม่ต้องขออนุญาตปลูกสร้าง
      • กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535)
      • กฎกระทรวง ฉบับที่ 42 (พ.ศ. 2537) แก้ไข กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535)
      • กฎกระทรวง ฉบับที่ 50 (พ.ศ. 2540) แก้ไข กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535)
      • กฎกระทรวง ฉบับที่ 69 (พ.ศ. 25ุ64) แก้ไข กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535)
        ข้อใดเป็นอาคารที่ไม่ต้องขออนุญาตปลูกสร้าง
      • ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน เรื่อง มาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉินในการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานนอกสถานพยาบาล พ.ศ. 2564 การติดตั้งเครื่องฟื้นคืนคลื่นหัวใจด้วยไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ (AED) ตามข้อ 29/2
        ข้อใดเป็นอาคารที่ไม่ต้องขออนุญาตปลูกสร้าง

    • กฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2517) แก้ไขโดย กฎกระทรวง ฉบับที่ 41(พ.ศ. 2537) และ กฎกระทรวง ฉบับที่ 64 (พ.ศ. 2555) – ประเภทของอาคารที่ต้องมีที่จอดรถ จำนวนที่จอดรถ
      • กฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2517)
      • กฎกระทรวง ฉบับที่ 64 (พ.ศ. 2555) แก้ไข กฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2517)
    • กฎกระทรวง ฉบับที่ 41 (พ.ศ. 2537) – ที่จอดรถ, อาคารจอดรถ, ระบบยกรถขึ้นลงฯด้วยลิฟต์, ระบบเคลื่อนย้ายรถด้วยเครื่องจักรกล

    • กฎกระทรวง กำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคาร สำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ. 2548 แก้ไขโดย กฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2564
      ข้อใดเป็นอาคารที่ไม่ต้องขออนุญาตปลูกสร้าง
      • กฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคาร สำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ. 2548
      • กฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคาร สำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2564 แก้ไข กฎกระทรวง กำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารฯ พ.ศ. 2548 
        ข้อใดเป็นอาคารที่ไม่ต้องขออนุญาตปลูกสร้าง

    • กฎกระทรวงว่าด้วยการอนุญาตให้ใช้อาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ ประเภทและระบบความปลอดภัยของโรงมหรสพ และอัตราค่าธรรมเนียมสำหรับการอนุญาตให้ใช้อาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ พ.ศ. 2550
    • กฎกระทรวง กำหนดประเภทและระบบความปลอดภัยของอาคารที่ใช้เพื่อประกอบกิจการเป็นสถานบริการ พ.ศ. 2555
    • กฎกระทรวงกำหนดลักษณะอาคารประเภทอื่นที่ใช้ประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2559 ใช้บังคับ 20 ส.ค. 2559 ถึง 19 ส.ค. 2567
      • กฎกระทรวงกำหนดลักษณะอาคารประเภทอื่นที่ใช้ประกอบธุรกิจโรงแรม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561
      • กฎกระทรวงกำหนดลักษณะอาคารประเภทอื่นที่ใช้ประกอบธุรกิจโรงแรม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2564
        ข้อใดเป็นอาคารที่ไม่ต้องขออนุญาตปลูกสร้าง
      • คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 6/2562 เรื่อง มาตรการส่งเสริมและพัฒนามาตรฐานการประกอบธุรกิจโรงแรมบางประเภท
      • ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยื่นเอกสารหรือหลักฐานของผู้ประกอบธุรกิจโรงแรม ซึ่งมีอาคารที่มีลักษณะตามข้อ 2 ของคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 6/2562 เรื่อง มาตรการส่งเสริมและพัฒนามาตรฐานการประกอบธุรกิจโรงแรมบางประเภท ลงวันที่ 12 มิถุนายน พุทธศักราช 2562
    • กฎกระทรวง ว่าด้วยการยกเว้น ผ่อนผัน หรือกำหนดเงื่อนไข ในการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารสำหรับอาคารในโครงการที่รัฐจัดให้มีหรือพัฒนาเพื่อเป็นที่อยู่สำหรับผู้มีรายได้น้อย พ.ศ. 2554

    • กฎกระทรวง ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2527) แก้ไขโดย กฎกระทรวง ฉบับที่ 48 (พ.ศ. 2540) และฉบับที่ 60 (พ.ศ. 2549) – การออกแบบโครงสร้าง
      • กฎกระทรวง ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2527)
      • กฎกระทรวง ฉบับที่ 48 (พ.ศ. 2540) แก้ไข กฎกระทรวง ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2527)
      • กฎกระทรวง ฉบับที่ 60 (พ.ศ. 2549) แก้ไข กฎกระทรวง ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2527)
    • กฎกระทรวงกำหนดการรับน้ำหนัก ความต้านทาน ความคงทนของอาคารและพื้นดินที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว พ.ศ. 2564 (ยกเลิก กฎกระทรวงกำหนดการรับน้ำหนัก ความต้านทาน ความคงทนของอาคารและพื้นดินที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว พ.ศ. 2550)
      ข้อใดเป็นอาคารที่ไม่ต้องขออนุญาตปลูกสร้าง
      • ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การออกแบบและคำนวณโครงสร้างอาคารเพื่อต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว ลงวันที่ 29 กันยายน 2564
        ข้อใดเป็นอาคารที่ไม่ต้องขออนุญาตปลูกสร้าง

    • กฎกระทรวง ฉบับที่ 44 (พ.ศ. 2538) แก้ไขโดย กฎกระทรวง ฉบับที่ 51 (พ.ศ. 2541) – ระบบการระบายน้ำ, การกำจัดขยะฯ
      • กฎกระทรวง ฉบับที่ 44 (พ.ศ. 2538)
      • กฎกระทรวง ฉบับที่ 51 (พ.ศ. 2541) แก้ไข กฎกระทรวง ฉบับที่ 44 (พ.ศ. 2538)

    ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องกำหนดบริเวณห้ามก่อสร้างฯ ที่ยังใช้บังคับ

    • อาคารพาณิชยกรรมประเภทค้าปลีกค้าส่ง
      • ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิดหรือบางประเภท ในพื้นที่บางส่วนในท้องที่จังหวัดนครราชสีมา ใช้บังคับ 5 มิ.ย. 2563 – 4 มิ.ย. 2564 ** หมดอายุ **
    • เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
      • ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิดหรือบางประเภทในท้องที่ป่งขาม ตำบลหว้านใหญ่ ตำบลชะโนด ตำบลบางทรายน้อย อำเภอหว้านใหญ่ ตำบลบางทรายใหญ่ ตำบลมุกดาหาร ตำบลศรีบุญเรือง ตำบลคำอาฮวน ตำบลนาสีนวน อำเภอเมืองมุกดาหาร และตำบลโพธิ์ไทร ตำบลดอนตาล อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร (เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร) ใช้บังคับ 17 พ.ย. 2561 จนกว่าจะมีกฎกระทรวงหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นที่บังคับใช้ในพื้นที่ดังกล่าวใช้บังคับ
      • ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิดหรือบางประเภทในท้องที่โคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส ตำบลละหาร อำเภอยี่งอ ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ ตำบลสุไหงโก – ลก อำเภอสุไหงโก – ลก และตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส (เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษนราธิวาส) ใช้บังคับ 17 พ.ย. 2561 จนกว่าจะมีกฎกระทรวงหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นที่บังคับใช้ในพื้นที่ดังกล่าวใช้บังคับ
      • ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิดหรือบางประเภทในท้องที่ตำบลเกาะช้าง ตำบลแม่สาย ตำบลเวียงพางคำ ตำบลศรีเมืองชุม ตำบลโป่งผา ตำบลโป่งงาม ตำบลบ้านด้าย ตำบลห้วยไคร้ อำเภอแม่สาย ตำบลศรีดอนมูล ตำบลเวียง ตำบลแม่เงิน ตำบลป่าสัก ตำงบลบ้านแซว ตำบลโยนก อำเภอเชียงแสน และตำบลริมโขง ตำบลเวียง ตำบลสถาน ตำบลศรีดอนชัย ตำบลครึ่ง ตำบลบุญเรือง ตำบลห้วยซ้อ อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย (เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย) ใช้บังคับ 17 พ.ย. 2561 จนกว่าจะมีกฎกระทรวงหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นที่บังคับใช้ในพื้นที่ดังกล่าวใช้บังคับ
      • ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิดหรือบางประเภทในท้องที่ตำบลโนนตาล ตำบลเวินพระบาท ตำบลรามราช อำเภอท่าอุเทน ตำบลอาจสามารถ ตำบลนาราชควาย ตำบลหนองแสง ตำบลบ้านผึ้ง ตำบลนาทราย ตำบลในเมือง ตำบลหนองญาติ ตำบลกุรุคุ ตำบลโพธิ์ตาก ตำบลท่าค้อ อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม (เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษนครพนม) ใช้บังคับ 17 พ.ย. 2561 จนกว่าจะมีกฎกระทรวงหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นที่บังคับใช้ในพื้นที่ดังกล่าวใช้บังคับ
      • ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิดหรือบางประเภทในพื้นที่บางส่วนในท้องที่ตำบลแก่งเสี้ยน และตำบลบ้านเก่า อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี (เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกาญจนบุรี) ใช้บังคับ 17 พ.ย. 2561 จนกว่าจะมีกฎกระทรวงหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นที่บังคับใช้ในพื้นที่ดังกล่าวใช้บังคับ
      • ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิดหรือบางประเภทในท้องที่ตำบลขะเนจื้อ ตำบลแม่ระมาด ตำบลแม่จะเรา อำเภอแม่ระมาด ตำบลแม่กาษา ตำบลแม่ปะ ตำบลท่าสายลวด ตำบลแม่สอด ตำบลพระธาตุผาแดง ตำบลแม่ตาว ตำบลแม่กุ ตำบลมหาวัน อำเภอแม่สอด และตำบลช่องแคบ ตำบลพบพระ ตำบลวาเล่ย์ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก (เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก) ใช้บังคับ 3 พ.ค. 2560 จนกว่าจะมีกฎกระทรวงหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นที่บังคับใช้ในพื้นที่ดังกล่าวใช้บังคับ  ** บางบริเวณที่เป็นตัวเอียงประกาศใช้ข้อบัญญัติท้องถิ่นแล้ว **
      • ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิดหรือบางประเภทในท้องที่ตำบลบ้านเดื่อ ตำบลสีกาย ตำบลหินโงม ตำบลหาดคำ ตำบลในเมือง ตำบลโพธิ์ชัย ตำบลมีชัย ตำบลหนองกอมเกาะ ตำบลค่ายบกหวาน ตำบลเวียงคุก ตำบลพระธาตุบังพวน ตำบลโพนสว่าง อำเภอเมืองหนองคาย และตำบลสระใคร อำเภอสระใคร จังหวัดหนองคาย (เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย) ใช้บังคับ 3 พ.ค. 2560 จนกว่าจะมีกฎกระทรวงหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นที่บังคับใช้ในพื้นที่ดังกล่าวใช้บังคับ
      • ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิด หรือบางประเภท ในท้องที่ตำบลไม้รูด ตำบลคลองใหญ่ และตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด (เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตราด) ใช้บังคับ 22 มี.ค. 2560 จนกว่าจะมีกฎกระทรวงหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นที่บังคับใช้ในพื้นที่ดังกล่าวใช้บังคับ
      • ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิดหรือบางประเภท ในท้องที่ตำบลปาดังเบซาร์ ตำบลสะเดา ตำบลสำนักขาม ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา (เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษสงขลา) ใช้บังคับ 10 ส.ค. 2559 จนกว่าจะมีกฎกระทรวงหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นที่บังคับใช้ในพื้นที่ดังกล่าวใช้บังคับ
      • ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิดหรือบางประเภท ในท้องที่ตำบลป่าไร่ ตำบลบ้านด่าน ตำบลท่าข้าม อำเภออรัญประเทศ และตำบลผักขะ อำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว (เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษสระแก้ว) ใช้บังคับ 10 ก.พ. 2559 จนกว่าจะมีกฎกระทรวงหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นที่บังคับใช้ในพื้นที่ดังกล่าวใช้บังคับ

    กฎกระทรวง กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้างฯ (ไม่รวมที่เป็นเรื่องอาคารพาณิชยกรรมประเภทค้าปลีกค้าส่งโดยเฉพาะ)

    • ดู กฎกระทรวง กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้างฯ ที่ยังใช้บังคับทั้งหมด คลิกที่นี่ (ไม่รวมที่เป็นเรื่องอาคารพาณิชยกรรมประเภทค้าปลีกค้าส่งโดยเฉพาะ)

      อะไรบ้างที่ไม่ต้องขออนุญาตก่อสร้าง

      “อาคารอยู่อาศัยไม่เกินสองชั้น และมีพื้นที่ทุกชั้นในหลังเดียวกัน รวมกันไม่เกิน 150 ตารางเมตร นั่นหมายถึงบ้านพักอาศัย มีพื้นที่ไม่เกิน 2 ชั้น และพื้นที่ใช้สอยรวมกันไม่เกิน 150 ตารางเมตร เป็นลักษณะที่ทางกฎหมายอนุญาต ไม่จำเป็นต้องมีสถาปนิก และวิศวกรเซ็นรองรับ ส่วนการคุมงานก่อสร้างนั้น เจ้าของบ้านสามารถเซ็นควบคุมงานได้เอง”

      บ้านแบบไหนไม่ต้องขออนุญาติก่อสร้าง

      (๑) อาคารของกระทรวง ทบวง กรม ที่ใช้ในราชการหรือใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ (๒) อาคารของราชการส่วนท้องถิ่น ที่ใช้ในราชการหรือใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ (๓) อาคารขององค์การของรัฐที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมาย ที่ใช้ในกิจการขององค์การหรือใช้เพื่อสาธารณประโยชน์

      พื้นที่ เท่าไร ไม่ต้องขออนุญาตก่อสร้าง กทม

      พื้นที่ อบต. กับการขออนุญาตก่อสร้างอาคารอยู่อาศัยไม่เกิน 2 ชั้น ไม่เกิน 150 ตารางเมตร พื้นที่ อบต. กับการขออนุญาตก่อสร้างอาคารอยู่อาศัยไม่เกิน 2 ชั้น ไม่เกิน 150 ตารางเมตร ไม่ต้องเขียนแบบก่อสร้างเต็มรูปแบบ กรณีสิ่งก่อสร้างที่ไม่ใช่ที่อยู่อาศัยไม่ได้รับการยกเว้นนะครับ โยธาไทย 20.7K subscribers.

      กี่ตารางเมตร ไม่ต้องขออนุญาติก่อสร้าง

      ในกรณีที่อาคารอยู่อาศัยไม่เกินสองชั้นและมีพื้นที่อาคารไม่เกิน 150 ตารางเมตร หากจะก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน หรือเคลื่อนย้ายอาคาร ภายในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลและ ไม่เป็นพื้นที่ที่มีกฎหมายเกี่ยวกับการห้ามก่อสร้างอาคารบางชนิดหรือบางประเภท ไม่ต้องยื่นแบบแปลน รายการประกอบแบบแปลนและรายการคำนวณในการขออนุญาต เพียงแต่ยื่น