ข้อ ใด ไม่ ได้ เกิดขึ้นใน รัช สมัย พระบาท สมเด็จพระ จุลจอมเกล้า เจ้า อยู่ หัว

ข้อ ใด ไม่ ได้ เกิดขึ้นใน รัช สมัย พระบาท สมเด็จพระ จุลจอมเกล้า เจ้า อยู่ หัว

Show

ข้อ ใด ไม่ ได้ เกิดขึ้นใน รัช สมัย พระบาท สมเด็จพระ จุลจอมเกล้า เจ้า อยู่ หัว

คอร์สเรียน

เกี่ยวกับเรา

OPENDURIAN

หน้าแรก

คอร์สเรียน

คลังข้อสอบ

คลังความรู้

เกี่ยวกับเรา

ล็อคอิน / สมัครสมาชิก

  • ม. ปลาย
  • /
  • O-NET สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
  • /
  • O-NET สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม.6 กุมภาพันธ์ 2552

ข้อ 78

78 of 100

ฝึกทำโจทย์แบบชิลๆ

น้องๆ สามารถเลือกทำโจทย์ได้ตามต้องการ ไม่มีการจับเวลา ไม่มีการนับคะแนน ตอบผิดแล้ว สามารถตอบใหม่ได้ สิ่งสำคัญ ก็คือ ควรทำความเข้าใจกับวิธีทำในเฉลยละเอียด การเรียนคณิตศาสตร์ให้ได้คะแนนดี ต้องเรียนด้วยการลองทำโจทย์เยอะๆ

เคล็ดลับจากติวเตอร์

ระหว่างอ่านเฉลย อย่าลืมมองหา "เคล็ดลับจากติวเตอร์" กรอบสีเขียว เพื่อเรียนวิธีลัด ตีโจทย์แตก เร็ว แวร๊ง!

Skip to content

รู้จักจุฬาฯ

ประวัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย

ข้อ ใด ไม่ ได้ เกิดขึ้นใน รัช สมัย พระบาท สมเด็จพระ จุลจอมเกล้า เจ้า อยู่ หัว

ประวัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย

เจ้านายราชตระกูล ตั้งแต่ลูกฉันเปนต้นลงไป ตลอดจนถึงราษฎรที่ต่ำที่สุด จะให้ได้มีโอกาศเล่าเรียนได้เสมอกัน ไม่ว่าเจ้า ว่าขุนนาง ว่าไพร่ เพราะฉนั้น จึงขอบอกได้ว่าการเล่าเรียนในบ้านเมืองเรานี้จะเปนข้อสำคัญที่หนึ่ง ซึ่งฉันจะอุตสาห์จัดให้เจริญขึ้นจงได้

พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในที่ประชุมพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการ เนื่องในโอกาสเสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ พุทธศักราช 2427

ข้อ ใด ไม่ ได้ เกิดขึ้นใน รัช สมัย พระบาท สมเด็จพระ จุลจอมเกล้า เจ้า อยู่ หัว

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ถือกำเนิดจากโรงเรียนสำหรับฝึกหัดวิชาข้าราชการฝ่ายพลเรือน โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งขึ้น ณ ตึกยาวข้างประตูพิมานชัยศรีในพระบรมมหาราชวัง เมื่อ พ.ศ.2442 และเปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนมหาดเล็ก เมื่อ 1 เมษายน พ.ศ. 2445 เพื่อผลิตบุคลากรให้รับราชการ ซึ่งมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว จากพระบรมราโชบายปฏิรูประบบบริหารราชการแผ่นดินเมื่อ พ.ศ. 2425

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ภาคราชการและเอกชนต้องการบุคลากรทำงานในสาขาวิชาต่างๆ กว้างขวางมากขึ้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระอนุสรณ์คำนึงถึงพระบรมราโชบายในสมเด็จพระบรมชนกาธิราชที่จะ “ให้มีมหาวิทยาลัยขึ้นสำหรับเป็นสถาบันอุดมศึกษาของชาวสยาม” จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาโรงเรียนมหาดเล็กเป็นสถาบันอุดมศึกษา พระราชทานนามว่า “โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว” เมื่อ 1 มกราคม พ.ศ. 2453

ข้อ ใด ไม่ ได้ เกิดขึ้นใน รัช สมัย พระบาท สมเด็จพระ จุลจอมเกล้า เจ้า อยู่ หัว

ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริที่จะขยายการศึกษาในโรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น คือ ไม่เฉพาะสำหรับผู้ที่จะเล่าเรียนเพื่อรับราชการเท่านั้น แต่จะรับผู้ซึ่งประสงค์จะศึกษาขั้นสูงให้เข้าเรียนได้ทั่วถึงกัน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประดิษฐานโรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ ขึ้นเป็น “จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” เมื่อ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 เพื่อเป็นพระบรมราชานุสาวรีย์เฉลิมพระเกียรติแห่งสมเด็จพระบรมชนกาธิราชให้เจริญก้าวหน้ากว้างขวางแผ่ไพศาลต่อไป โดยในช่วงแรกมีการจัดการศึกษาเป็น 4 คณะ ได้แก่ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์

ในครั้งนั้นมีการเปิดสอน 8 แผนกวิชา ได้แก่ การปกครอง กฎหมาย การทูต การคลัง การแพทย์ การช่าง การเกษตร และวิชาครู จัดการศึกษาใน 5 โรงเรียน คือ

โรงเรียนรัฏฐประศาสนศาสตร์

ตั้งอยู่ในพระบรมมหาราชวัง

โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์

ตั้งอยู่ที่บ้านสมเด็จเจ้าพระยา

โรงเรียนราชแพทยาลัย

ตั้งอยู่ที่โรงพยาบาลศิริราช

โรงเรียนเนติศึกษา

ตั้งอยู่ที่เชิงสะพานผ่านพิภพลีลา

โรงเรียนยันตรศึกษา

ตั้งที่วังใหม่ หรือวังกลางทุ่ง หรือวังวินเซอร์

พ.ศ. 2459 – 2465

มีการปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาระดับประกาศนียบัตร และการเตรียมการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญา มีการติดต่อกับมูลนิธิร็อกกี้ เฟลเลอร์ เพื่อให้ช่วยเหลือการเรียนการสอนของคณะแพทยศาสตร์

พ.ศ. 2466 – 2480

เริ่มรับผู้สำเร็จหลักสูตรมัธยมบริบูรณ์เข้าเรียนในคณะแพทยศาสตร์ และมีการปรับปรุงหลักสูตรและรับนักเรียนผู้จบประโยคมัธยมบริบูรณ์เข้าเรียนอีก 4 คณะ

พ.ศ. 2481 – 2490

เริ่มเน้นการเรียนการสอนพื้นฐานของวิชาชีพในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมีการจัดเตรียมมหาวิทยาลัยคือนักเรียนจะต้องเลือกเรียนตามคณะต่างๆ ที่มหาวิทยาลัยเปิดสอนทำให้เกิดโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขึ้น

พ.ศ. 2491 – 2503

เป็นระยะเวลาของการขยายการจัดการศึกษาออกไป โดยเน้นระดับปริญญาตรีเป็นหลัก

พ.ศ. 2504 จนถึงปัจจุบัน

เป็นช่วงเวลาของการขยายการศึกษาระดับปริญญาตรี และเริ่มพัฒนาการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ส่งเสริมการค้นคว้า วิจัย การอนุรักษ์และสนับสนุนศิลปวัฒนธรรม และการบริการทางวิชาการให้แก่สังคม มีการจัดตั้งสถาบันวิจัย สถาบันบริการ ศูนย์ และสำนัก เพื่อให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยและพัฒนาตนเองให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ทุกวิถีทาง ให้สมกับเป็นพระบรมราชานุสาวรีย์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราชของพสกนิกรชาวไทยตลอดไป

ข้อ ใด ไม่ ได้ เกิดขึ้นใน รัช สมัย พระบาท สมเด็จพระ จุลจอมเกล้า เจ้า อยู่ หัว

จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้

ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวอยู่ในสมัยใด

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
สมเด็จพระเจ้ากรุงสยาม
ครองราชย์
1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453
ราชาภิเษก
11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 (ครั้งที่ 1) 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2416 (ครั้งที่ 2) พระบรมมหาราชวัง
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว - วิกิพีเดียth.wikipedia.org › wiki › พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวnull

เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ตั้งดุสิตธานี ทดลองการปกครองตนเองตามระบอบประชาธิปไตย พร้อมออกหนังสือพิมพ์ดุสิตสมิต และ ดุสิตสมัย ตราธรรมนูญลักษณะการปกครองคณะนคราภิบาล ตราพระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์ ฉบับแรก ตั้งกรมสาธารณสุข ในกระทรวงมหาดไทย ซึ่งเป็นต้นรากแห่ง กระทรวงสาธารณสุข

ข้อใดคือพระราชสมัญญาของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์จักรี ผู้ทรงได้รับการเฉลิมพระเกียรติคุณด้วยพระราชสมัญญาว่า “สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า

ข้อใดคือพระราชกรณียกิจด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเห็นความสำคัญของการศึกษา จึงโปรดให้สร้างโรงเรียนหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวัง คือ "โรงเรียนนายทหารมหาดเล็ก" ก่อนจะเปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ" ต่อมาโปรดให้ตั้งโรงเรียนหลวงสำหรับราษฎรขึ้นเป็นแห่งแรก คือ "โรงเรียนวัดมหรรณพาราม" และในที่สุดได้โปรดให้จัดตั้งกระทรวงธรรม ...