ข้อใดเป็นการกำหนดความโปร่งใสของภาพในพาเลต layer

หนว่ ยที่ 3

มมุ มองภาพและการตกแต่งภาพด้วย Layer

วิชาโปรแกรมกราฟกิ รหัสวชิ า 20204-2007

03 หนว่ ยท่ี 3 มมุ มองภาพและการตกแตง่ ภาพด้วย Layer

3.1 การกำหนดมมุ มองและการย่อหรือขยายภาพ

คำส่ัง การย่อภาพและขยายภาพดว้ ยเครอ่ื งมือ การเปิดพาเลตข้นึ มากำหนดขนาดการแสดงภาพและเลือก
จดุ ทต่ี อ้ งการแสดงไดไ้ ม่ต้องเปลี่ยนเคร่ืองมือบ่อยๆ

3.1.1 การย่อหรือการขยายภาพ คือ คำสั่งสำหรับการขยายไฟลภ์ าพ เพื่อดูรายละเอียดของภาพท่ี
เปิดใช้งานให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น เช่น การย่อภาพและขยายภาพด้วยเมนู View และการใช้เครื่องมือZoom
Tool ขั้นตอนดงั น้ี

3.1.1.1 การย่อและขยายรปู ภาพด้วยเมนู View มี 2 วิธี ดังน้ี
1) การยอ่ ภาพจากเมนคู ำสง่ั เชน่ คลิกทเี่ มนู View → Zoom out หรอื เรียก

ใช้คีย์ลัด เชน่ กดปมุ่ Ctrl + – ที่แป้นพิมพ์ ถา้ กดซ้ำอีกภาพจะมีขนาดเล็กลงไปอกี
2) การขยายรูปภาพจากเมนคู ำสัง่ เชน่ คลกิ ทเี่ มนู View →Zoom In หรือเรียก

ใชค้ ียล์ ดั เช่น กดปมุ่ Ctrl + + + ท่แี ปน้ พิมพ์ ถ้ากดซำ้ อกี ภาพจะมขี นาดใหญข่ ึ้นอีก
3.1.1.2 การย่อภาพและขยายภาพด้วยเครื่องมือ (Zoom Tool) คือ การย่อและขยาย

ภาพ โดยคลิกเคร่อื งมือ แลว้ กำหนดคุณสมบตั เิ ครื่องมอื ในออปชันบาร์

วธิ ีการย่อและขยายภาพดว้ ยเคร่ืองมือ Zoom Tool ดังนี้

1) คลกิ เครอ่ื งมือ รปู เมาส์พอยเตอรจ์ ะเปลี่ยนแปลงไปเป็นรปู แวน่ ขยาย

และเครื่องมือมเี ครอ่ื งหมาย + จากนนั้ คลกิ ทร่ี ปู ภาพทต่ี ้องการขยาย

2) การยอ่ ขนาดภาพโดยกดปุ่ม Alt ที่แป้นพมิ พ์รปู เมาส์พอยเตอร์เปล่ียนเปน็

รูปแว่นขยาย เมาสม์ เี คร่อื งหมาย – จากนน้ั คลกิ ภาพทตี่ ้องการย่อขนาด

การขยายภาพดว้ ยเครอ่ื งมือ ไดแ้ ลว้ ยงั สามารถใชค้ ำสง่ั อืน่ ๆ เช่น คีย์ลัด

ขยายภาพเปน็ ขนาด 100 % ไดง้ า่ ยๆ โดยการกดป่มุ Ctrl + Alt + 0 หรอื ยอ่ ขนาดภาพให้เตม็ จอภาพ

พอดีโดยกดปุม่ Ctrl + 0

การย่อภาพหรือการขยายภาพที่นิยมอีกวิธีหนึ่ง คือ การใช้พาเลต Navigator การขยายภาพ โดย

คลิกเรียกใช้ได้จากเมนู คลิก Window → Navigator คือ การเปิดพาเลตขึ้นมากำหนดขนาดการแสดงภาพ

และเลอื กจดุ ที่ต้องการแสดงไดไ้ ม่ตอ้ งเปลีย่ นเคร่อื งมอื บ่อยๆ

3.1.2 การเลื่อนดูภาพด้วยเครื่องมือ (Hand Tool) คือ การเลื่อนดูภาพในส่วนต่างๆโดย

คลกิ ที่เคร่อื งมือ แลว้ คลิกเมาส์ค้างทภี่ าพ แลว้ ดึงเมาส์เลื่อนดูทลี ะสว่ นของภาพ

ในตำแหนง่ ท่ตี ้องการ

เม่ือนำเมาส์วางทีภ่ าพ โดยเมาสจ์ ะเป็นรูปมอื ซึ่งสามารถใช้เมาส์นี้คลิกเลื่อนดูภาพตาม

ตำแหน่งที่คลิกเมาส์ลงไป (โดยวิธีการดึงเมาส์เลือ่ นภาพมา ณ จุดที่ต้องการดูภาพ) เครื่องมือดังกล่าวจะใชไ้ ด้ก็

ตอ่ เมอื่ ขยายรูปภาพน้นั ๆ ใหม้ ขี นาดใหญ่กวา่ หน้าต่างโปรแกรมจึงจะสามารถ

เลอื่ นดูภาพสว่ นอนื่ ๆ ได้

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ วทิ ยาลยั การอาชีพนครนายก 1

วิชาโปรแกรมกราฟกิ รหัสวิชา 20204-2007

3.2 การตกแตง่ ภาพดว้ ยพาเลต Layer

พาเลต Layer คือ การลำดบั ภาพ การตกแต่งภาพสามารถใช้คำส่งั ตกแต่งแกไ้ ขภาพบางส่วนของภาพได้
เช่น คำสั่งในการแก้ไขภาพ ปรับแต่งภาพ ลบภาพ สามารถทำได้โดยไม่ส่งผลกระทบกับส่วนอื่นๆ ของภาพ โดย
อาศัยการทำงานของพาเลต Layer ที่สามารถควบคุมภาพแยกเป็นส่วนๆ และสามารถสร้างภาพที่มีการวาง
ซ้อนทับกนั

3.2.1 วิธีการเรยี กใช้พาเลต Layer มีวธิ กี ารเรยี กใช้จากเมนู Window แล้วเลือกพาเลต Layer
ขนั้ ตอนดงั นี้

1. คลกิ ที่เมนู Window → Layer หรอื กดปุ่ม F7
2. คลกิ เลือกพาเลต Layer
3.2.2 ส่วนประกอบของพาเลต Layer การสร้างภาพนั้นจำเป็นต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับการใช้พา
เลต Layer เชน่ การใส่ Effects การสรา้ ง Layer Mask และการซ่อน Layer เพ่อื ดูผลลพั ธ์ในลักษณะต่างๆ
โดยสว่ นประกอบของ Layer ทสี่ ำคัญ

3.2.3 พาเลต Layer คือ ลำดับขั้นตอนการวางภาพแบบหนังสือซ้อนทับกันจำนวนหลายๆ เล่ม โดย
วัตถุที่อยู่ด้านบนสุดจะบังทับวัตถุที่อยู่ด้านล่าง และถ้าหากวัตถุที่อยู่ด้านบนสุดมีการเจาะทะลุผ่านจะสามารถ
มองเห็นวัตถุที่อยู่ด้านล่างที่มีการวางซ้อนทับกันหลายๆ ภาพ การวางภาพไม่ควรอยู่ใน Layer เดียวกัน เพื่อ
สะดวกในการแก้ไขภาพ เช่น การลบภาพ และการกำหนดความโปร่งใสของภาพการวางภาพแบบมีลำดับ
กอ่ นหลัง การใส่สีเสน้ และการใส่ Effects

3.2.4 การจดั การเบอ้ื งต้นกับ Layer คือ การจัดการเบื้องตน้ ในการสรา้ ง Layer ใหม่เพ่ือใช้ระบาย
สี การปรับแตง่ คา่ อ่ืนๆ ทีไ่ มต่ อ้ งการใหเ้ ปลี่ยนแปลงภาพใน Layer เดิม และการลบ Layer ทีไ่ ม่ตอ้ งการ ดงั น้ี

3.2.4.1 การสรา้ ง Layer ใหม่ คือ คลิกท่ี Create a new Layer
3.2.1.2 การสรา้ ง Layer ใหม่ คอื คลิกเมนู Layer→ New → Layer หรือปุ่ม
Shift + Ctrl + N ซึง่ สามารถกำหนดออปชนั เพ่มิ เติมให้ Layer ใหม่ทีส่ รา้ งได้ ข้นั ตอนดังน้ี

1. คลกิ เมนู Layer→New → Layer หรอื กดป่มุ Shift + Ctrl + N
เพอ่ื เปิดหน้าตา่ ง New Layer

2. ตง้ั ชื่อให้ Layer ทสี่ รา้ งขน้ึ
3. คลิกเลอื กสีของ Layer เพื่อแยกกลุม่ หรือประเภทของ Layer ทีท่ ำงาน
4. ได้ Layer ใหม่ ที่มชี ือ่ และสี Layer ตามที่กำหนด Layer ท่ีสรา้ งแล้วต้องการ

เปลี่ยนชอ่ื Layer ใหมใ่ นภายหลัง คอื การดับเบลิ คลิก
บนชื่อ Layer เดิมแล้วสามารถตั้งชื่อให้ Layer ใหม่ได้ทันทีการตั้งชื่อทำเพื่อสะดวกในการค้นหา Layer ใน
ภายหลัง

3.2.1.3 การสร้างสำเนา Duplicate Layer คือ การคดั ลอก Layer เพม่ิ จาก Layer เดิมการ
ตกแต่งภาพบางครั้งจำเป็นต้องนำภาพใน Layer เดิมมาทดลองปรับแต่งแก้ไขก่อน เพื่อป้องกันความเสียหายของ
ภาพต้นฉบับซึ่งเราเรยี กวธิ ีการนี้ว่าการการสรา้ งสำเนา Layer

แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ วิทยาลัยการอาชีพนครนายก 2

วิชาโปรแกรมกราฟกิ รหัสวิชา 20204-2007

3.2.1.4 การลบ Delete layer คือ การลบ Layer ท่ีไม่ต้องการ ดังนี้
1) การลบแบบถามซ้ำ การลบดว้ ยวิธีนคี้ ำสั่งจะถามซ้ำอีกครั้งเพือ่

ความแน่ใจก่อนลบทิ้ง การลบ Layer โดยการแดรกเมาส์มาวางที่ปุ่ม การลบผู้ใช้สามารถเลือก Layer
แลว้ แดรกเมาส์ไปวางทป่ี ุ่ม Delete layer ไดท้ ันที โดยคำส่ังจะไม่ถามซ้ำว่าต้องการลบหรือไม่ทำให้ภาพ
น้ันลบไปทนั ที

2) การลบ Layer แบบรวดเร็ว เมื่อต้องการลบ Layer แบบรวดเร็วนั้นผู้ใช้
สามารถคลิกเลอื ก Layer แล้วกดปมุ่ Delete บนแป้นพมิ พ์

3.2.1.5 การสลบั ลำดับ Layer ด้วยคำส่ัง Layer Order คือ สลับตำแหน่งวางภาพใน
Layer เพื่อเปลี่ยนลำดับการซ้อนทับภาพ โดยคลิกเมาส์เลือก Layer ที่ต้องการสลับแล้วสังเกตเมาส์จะ
เปลี่ยนเป็นรูปมือ แล้วแดรกเมาส์ไปวาง ณ ตำแหน่งที่ต้องการวางภาพ เช่น การนำภาพ Layer 2 วางไว้
ด้านบนของ Layer 4 ให้สังเกตเส้นทึบเป็นสีน้ำเงินที่เกิดขึ้น ซึ่งจะเป็นจุดที่สามารถปล่อยเมาส์วางภาพ ณ
ตำแหน่งท่ตี ้องการวาง

3.2.1.6 การรวม Layer ด้วยคำสั่ง Merge Layer คือ การรวมภาพแต่ละภาพใน Layer ภาพ
ทต่ี กแตง่ เรยี บรอ้ ย หรือ Layer ภาพทม่ี ีรปู แบบใกล้เคยี งกนั สามารถรวมภาพนนั้ ให้เปน็ Layer เดยี วกันได้ เพอ่ื
ลดจำนวน Layer ของภาพ ดังนี้

1) รวม Layer ด้วยคำสง่ั Merge Down คอื การรวม Layer ภาพที่อยู่
ด้านบนกับ Layer ด้านล่าง คลิกเลือก Layer 3 แล้วคลิกขวา เลือกคำสั่ง Merge Down (คลิก Layer1→
Merge Down)

2) การรวม Layer ต่างๆ ที่ไม่ได้ซ่อนด้วยคำสั่ง Merge Visible คือ การรวม
Layer ทงั้ หมดยกเว้น Layer ที่ซ่อน คลิกเมนู Layer →เลือก Merge Visible หรือกดปมุ่
Shift + Ctrl + E

3) การรวม Layer ท่ีเลอื ก คอื การเลือก Layer ภาพท่ตี กแตง่ เรียบรอ้ ยแล้ว
ที่ต้องการรวม โดยการคลิกแดรกเมาส์เลือก Layer ก่อนแล้วจึงกดปุ่ม Ctrl + E เพื่อรวม Layer เพื่อเป็น
ภาพเดียวกัน

4) การรวม Layer ท้งั หมดเปน็ Layer ใหม่ คือ การรวม Layer ทงั้ หมดแลว้
สร้างเป็น Layer ใหม่ โดยเลือก Layer อยู่บนสุด กดปุ่ม Ctrl + Alt + Shift + E เพื่อรวม Layer
ทั้งหมดเป็น Layer ใหม่ ภาพที่รวม Layer ใหม่อยู่ด้านบนสุด การคัดลอกภาพใน Layer ไปใช้งานกับภาพ
อน่ื ๆ จะทำได้งา่ ยสามารถคัดลอกไปวางในภาพใหม่ได้ทั้งหมด แต่ถ้าไม่มกี ารรวมLayer ต้องคดั ลอกภาพท้ังหมด
มาวางในภาพอ่ืน จำนวนครง้ั มาก ถงึ จะไดภ้ าพครบทุกภาพ

แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ วทิ ยาลยั การอาชีพนครนายก 3

วชิ าโปรแกรมกราฟกิ รหัสวชิ า 20204-2007

3.3 การปรบั สี ปรบั แสง และแตง่ ภาพดว้ ย Layer

การกำหนดความโปร่งใสของภาพในพาเลต กำหนดความโปร่งใสเฉพาะภาพ แต่ Effectsไม่มีการ
เปลย่ี นแปลง เชน่ Effects คอื เส้นขอบยงั คงเดิมไมม่ ีการเปลีย่ นแปลง

3.3.1 การกำหนดความโปร่งใสด้วยคำสั่ง Opacity ของภาพ คือ การกำหนดความโปร่งใสของภาพ
ในพาเลต Layer สามารถทำได้ 2 แบบ คอื การกำหนดคา่ Opacity และกำหนดค่า Fill ใน Layer โดยการ
ลดค่า Opacity ทำให้ภาพ และ Effects ใน Layer ดูโปร่งใสแต่ถ้ากำหนดค่า Fill จะทำให้ภาพใน Layer
โปร่งใส แต่ Effects จะยงั คงคา่ เหมอื นเดิม

การกำหนดคา่ Opacity คอื ภาพท้งั หมดมีความโปร่งใส โดยต้องเลือก Layer ภาพก่อนแลว้ คลกิ เมาส์
กำหนดค่า Opacity เป็น 50 % ลักษณะภาพ และ Effects จะเบลอ

การกำหนดค่า Fill คือ กำหนดความโปรง่ ใสเฉพาะภาพ แต่ Effectsไม่มกี ารเปลี่ยนแปลง เชน่ Effects
คือ เส้นขอบยงั คงเดมิ ไมม่ กี ารเปลย่ี นแปลง

ตัวอย่าง การลดค่า Fill ลดลง 0 % ภาพใน Layer จะถกู ปรบั จางหายไป แต่ Effects คือเส้นขอบ
ยงั คงเดมิ

3.3.2 การผสมสี Layer ด้วยคำสั่ง Layer Blend Mode คือ การผสมสีระหว่าง Layer โดย
วิธีการผสมสีภาพใน Layer ปัจจุบันเข้ากับ Layer ด้านล่าง ทำให้ภาพเป็นสีพิเศษ เพื่อใช้สร้าง Effectsหรือ
เปลี่ยนมมุ มองของภาพในลักษณะตา่ งๆ ได้ ภาพทั้งหมดในแต่ละLayer ไมม่ กี ารเปลี่ยนแปลงแต่อย่างใดการผสมสี
แบบ Layer มีโหมดให้เลอื กหลายรูปแบบสามารถเลือกใชต้ ามความเหมาะสม ดงั นี้

3.3.2.1 กลมุ่ การผสมสใี หม้ ืดลง คือ การผสมสีของ Layer กล่มุ นีจ้ ะใช้วิธีเปรยี บเทียบความสว่าง
ของพื้นสีทั้งสองแล้วแสดงส่วนของสีที่มีความเข้มกว่าของภาพใน Layer บน และส่วนที่มืดกว่าของภาพใน
Layer ล่าง กลุ่มการผสมสีให้มืดลง ดงั น้ี

1) Darken คือ การเปรียบเทียบความสว่างของพื้นที่สีทั้งสอง Layer แล้วแสดงส่วนของสีที่
สวา่ งกว่าของภาพ Layer ด้านบน แต่ไม่มีผลกับสว่ นที่มดื กว่า

2) Multiply คือ การผสมสีระหว่าง Layer ทั้งสองเหมือนกับการซ้อนฟิล์มสไลด์ 2 แผ่น ที่
ฉายบนโปรเจคเตอร์

3) Color Burn คอื การผสมสใี น Layer ทงั้ สอง โดยการเพมิ่ คา่ ของความเขม้ ของ Layer
บนเม่ือผสมกันผลลพั ธ์ของภาพจะมืดลง

4) Linear Burn คือ การผสมสี Layer ทั้งสอง ลดค่าความสว่างลงผลลัพธ์ที่ได้ภาพจะมืด
ลงแต่จะไมม่ ผี ลกับสขี าวบน Layer

5) Darker color คือ การเทยี บสีในแตล่ ะ Layer ทนี่ ำมาผสมกนั แลว้ นำสไี ปผสมกบั สีพื้นฐาน
และแสดงคา่ ต่ำสุดของสอี อกมา

การผสมสใี นกลุ่มมดื ลง คอื การนำภาพจำนวน 2 ภาพ ผสมสีระหว่างกันและวางใน Layer ตา่ งกนั
3.3.2.2 การผสมสใี หส้ ว่างข้ึน คือ การผสมสีของ Layer ภาพมคี วามสวา่ งเพิม่ ข้นึ

ซ่งึ คำสั่งในการผสมสีกล่มุ ดังกล่าว ดงั นี้
1) Lighten คือ การเทียบสใี นแต่ละพาเลตของแตล่ ะ Layer การนำภาพ

นำมาผสมแล้วเลือกสีสวา่ งกวา่ มาแสดง แตไ่ มม่ ผี ลกับส่วนท่ีสวา่ งอยู่แลว้
2) Screen คอื การผสมสภี าพใน Layer ทง้ั สองเหมอื นการถา่ ยภาพ 2 ภาพ

บนเฟรมเดียวกันซึง่ จะทำให้สว่างขึน้
3) Color Dodge คือ การผสมสีและปรับสภี าพใหส้ ว่างเพิม่ มากข้ึน

แผนกวชิ าคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ วิทยาลัยการอาชีพนครนายก 4

วิชาโปรแกรมกราฟกิ รหัสวิชา 20204-2007

โดยขึ้นอยกู่ ับคา่ สใี น Layer บน (จะใหผ้ ลตรงกนั ขา้ มกับ Color Burn)
4) Linear Dodge คือ การผสมสีและปรบั ภาพให้สวา่ งขึน้ โดยข้ึนอยกู่ บั

ค่าสีใน Layer บนสำหรบั ในส่วนทสี่ วา่ งอยู่แล้วกจ็ ะสว่างมากยิ่งขึ้น
5) Lighter Color คอื การผสมสแี ละปรับสขี องภาพให้สว่างข้ึนเกิดจาก

การเปรียบเทียบค่าของแชนเนลสีมาผสมกับสีหลักบนภาพ และนำค่าสีที่มากที่สุดมาแสดงแต่จะไม่มีผลกับภาพ
สว่ นท่สี วา่ งอย่แู ลว้ และทำให้บางสหี ายไป

3.3.2.3 การผสมสี Layer โดยการเปรียบเทียบสี คือ การผสมสขี อง Layer นำคา่ ของสี
ทั้งสอง Layer มาหักลบกันให้ผลลัพธ์ภาพที่มืดลงหรือสว่างขึ้น โดยจะขึ้นกับสีของภาพใน Layer บน และ
Layer ล่างเกดิ ภาพสสี วยสด แปลกตา และน่าสนใจ ประกอบด้วยคำสัง่ ดังนี้

1) Overlay คือ วิธีการผสมผสานสีแบบ Multiply และสกรีน เข้าด้วยกันโดยภาพ
จะมืดหรอื สว่าง ข้นึ อยู่กบั สใี น Layer ล่าง

2) Soft Light คือ การฉายภาพ Layer บนซ้อน Layer ล่างด้วยแสงไฟอ่อนๆ
ซง่ึ จะทำให้ภาพสว่างและกลมกลืนกนั

3) Hard Light คือ การฉายภาพ Layer บนซ้อน Layer ล่างด้วยแสงไฟแรงๆ
โดยจะให้ผลเหมือนการทำไฮไลท์บนภาพ

4) Vivid light คือ การผสมสีภาพให้มีลักษณะคล้ายกับคัลเลอร์ เบลอ และคัลเลอร์
ดรอปหากภาพมีความสว่างมากกว่าสีเทา 50% จะลดความสว่างลง แต่ถ้าภาพมีความมืดมากกว่าสีเทา 50%
จะเพิ่มความสวา่ งขึน้

5) Linear Light คือ มีลักษณะเหมือนกับการใช้ Linear Burn และ Linear Dodge
โดยปรบั ภาพส่วนที่สวา่ งอยู่แล้วให้สว่างข้นึ และปรบั ภาพส่วนที่มืดอยแู่ ล้วใหม้ ืดขึน้ ทำให้ภาพมสี ีเขม้ ข้ึน

6) Pin Light คือ การผสม Layer ให้ดูกลมกลืนกันทั้งสอง Layer ถ้าภาพใน
Layer บนสีออ่ นกวา่ สเี ทา 50% กจ็ ะถกู แทนทด่ี ว้ ยสีของ Layer ลา่ งแทน

7) Hard Mix คือ การผสม Layer ให้กลมกลืนกัน โดยการเพิ่มค่าสีแดง สเี ขียว และ
สีน้ำเงินผสมกับสีหลักบนภาพในส่วนที่เข้ม และแทนที่สีที่อยู่ด้านล่างสำหรับส่วนที่เป็นสีอ่อนจะแทนที่ด้วยสีขาว
แทน

3.3.2.4 การผสมสีตามองค์ประกอบโมเดลสี คือ การผสมสีของ Layer โดยการนำค่าของสที ง้ั
สองมาหักลบกนั ตามค่าของโมเดลสี ทำใหภ้ าพออกมาในลกั ษณะดังนี้

1) Difference คือ การเทียบสีและนำค่าของสีมาลบกันทำให้ภาพบางส่วนกลายเป็น
สีตรงข้าม คอื สว่ นทมี่ ดื จะปรบั ให้สวา่ ง สว่ นท่ีสว่างจะปรบั ให้มดื ลง

2) Exclusion คือ คล้ายกบั การผสมสดี ว้ ยโหมด Difference โดยจะปรับส่วนท่ีสว่าง
ใหเ้ ป็นสตี รงข้าม แต่จะไม่มผี ลกับสีส่วนทม่ี ืด

3) Subtract คือ การนำข้อมูลของสีมาหักลบกัน โดยดูจากสีเลขฐานในภาพ 8 บิต
และ 16 บติ ทำให้ภาพบางสว่ นมืดและบางสว่ นสว่าง

4) Divide คอื การนำขอ้ มลู ของสแี ต่ละคา่ มาหารกนั จากสีพ้นื ฐานทผี่ สมกนั
3.3.2.5 การผสมสีในกลุ่มสีความสดและความสว่าง คือ การผสมสีที่มีความสด ทำให้ภาพ
ออกมาในลักษณะดังนี้

แผนกวิชาคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ วิทยาลัยการอาชีพนครนายก 5

วชิ าโปรแกรมกราฟิก รหัสวชิ า 20204-2007

1) Hue คอื การผสมสรี ะหวา่ ง Layer ทงั้ สอง โดยการสร้างความสวา่ ง
และสรา้ งความอิ่มสี ซึง่ ทำให้ภาพเปน็ สีเขม้ ข้ึน

2) Saturation คอื การผสมสรี ะหวา่ งภาพใน Layer ท้งั สอง
โดยการสร้างความสวา่ ง สร้างค่าสี และความอ่ิมตวั ของสี เพ่ือทำให้ภาพด้านลา่ งมีความอ่ิมตวั ของสีแต่ไม่มีผลกับ
สว่ นท่เี ป็นสีเทาในภาพล่าง

3) Color คอื การผสมสีภาพของ Layer ต่างๆ ทีท่ ำใหก้ ลมกลนื กัน

คลา้ ยๆ กบั โหมดสี Hue โดยการผสมสีของท้งั สองจะรกั ษาความอม่ิ ตวั ของสสี ่วนท่เี ป็นสีเทาในภาพ

4) Luminosity คอื การผสมสีภาพของ Layer โดยการนำคา่ และ

ความอิ่มตัวของสี Layer ภาพที่อยู่ด้านล่างมาเป็นฐานและเพิ่มความสว่างในสที ี่ผสมกนั มผี ลกับภาพดา้ นบนทำให้

ภาพดูกลมกลืนกนั

3.3.2.6 เทคนิคการปรับสีภาพ คือ การปรับสีภาพถ่ายง่ายๆ โดยการนำสีพื้นสีต่างๆ มาย้อม

ผสมลงไปกบั สีภาพใน Layer เดมิ ทำให้ไดภ้ าพถ่ายมสี ีสนั แปลกตาและโดดเด่น ข้นั ตอนดงั นี้

1. เปิดไฟลภ์ าพ 1 ภาพ

2. เพมิ่ Layer แล้วเลอื กเคร่อื งมือ เทสีแดงลงไป

3. เลือกโหมดสี Color Burn

4. ผลลพั ธภ์ าพหลงั จากเลือกโหมดสี Color Burn

3.3.3 ตกแต่ง Layer ด้วยคำสั่ง Layer Style คือ คุณสมบัติที่กำหนดไว้กับ Layer เพ่ือ
ตกแต่งภาพใน Layer ให้มีลักษณะพิเศษ เช่น การทำแสงเงาให้วัตถุ ทำให้พื้นผิวให้นนู ขึ้น หรือทำแสงฟุ้งออกมา

จากภาพ ดังนี้

3.3.3.1 วิธกี ำหนด style Layer คือ การกำหนด style ให้ Layer
1. เลือกคำสั่ง Layer → Layer Style → เลอื กช่อื style

2. คลิกจากปมุ่ Add a Layer style

3. เลือกคำสั่ง Window → Styles แล้วเลือกชุด style

4. การสร้าง Layer style นนั้ สามารถเลือก Effects ตอ้ งการแลว้ บนั ทึกเป็น style

สำเร็จรูปเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ได้หรือเลือก style สำเร็จรูปที่โปรแกรมกำหนดไว้ให้ เช่น Effects ของข้อความ
ปมุ่ กดเวบ็ เพจ และขอบภาพ วธิ กี ารกำหนด style Layer ดังน้ี

3.3.3.2 การเลอื ก Layer style คอื การกำหนด Layer ท่ตี ้องการแล้วเลือก style ดงั นี้
1. คลิกเลือก Layer ที่ต้องการกำหนด style (หาก Layer ที่เลือกเป็น Layer

Background ดับเบิลคลกิ เปลย่ี นเป็น Layer 0 กอ่ นใช้คำส่งั นี้
2. คลกิ ป่มุ แลว้ เลอื ก Effectsท่ีต้องการใชง้ าน
3. เลือก Option และกำหนดค่าการทำตา่ งๆ ของ Effects
4. คลกิ ป่มุ

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลัยการอาชีพนครนายก 6

วิชาโปรแกรมกราฟิก รหัสวชิ า 20204-2007

3.4 ขนาดของภาพและขนาดของไฟล์

ก่อนนำภาพมาใชง้ านตอ้ งมคี วามเข้าใจเกี่ยวกับขนาดของภาพ หรืออตั ราส่วนของภาพในแต่
ละภาพเช่น กวา้ ง X สงู (Width X Height)ขนาดไฟลภ์ าพคอื ความจุของภาพที่จัดเก็บลงในดสิ ก์ ซึ่งต้องมีความรู้
ทั้งการจัดขนาดของภาพและขนาดของไฟล์ เพื่อนำภาพไปใช้งานให้เหมาะสมกับงาน เช่น การนำภาพไปพิมพ์ที่
ร้านพิมพ์ภาพต้องใช้ขนาดเท่าไหร่ ความละเอียดของภาพก่ี Pixels นำภาพไปใช้บนเว็บเพจขนาดของภาพควร
กำหนดขนาดเท่าไหร่ การนำภาพใช้งานให้ตรงวัตถุประสงค์มากที่สุด โดยการปรับขนาด ตัด หรือลดพื้นที่ที่ไม่
ตอ้ งการออก เปน็ ตน้

3.4.1 การปรับขนาดของภาพ คือ การปรบั ขนาดของภาพท้ังการยอ่ และการขยาย และเปลยี่ น
คา่ ความละเอียดของภาพ ซ่งึ ขนาดของภาพที่เป็น “ความกว้าง  ความสงู ” หรือ “Width  Height เรยี กว่า
Image size การกำหนดความกว้างและความสูง โดยเลือกหน่วยนับเป็นนิ้ว เซนติเมตร หรือ Pixels เพื่อให้ได้
ขนาดของภาพที่เหมาะสมสำหรับการนำไปใช้งาน เช่น ใช้แสดงในหน้าเวบ็ เพจ นำไปใช้ในเอกสารทั่วไป ส่งไปกับ
อเี มล์ หรอื นำภาพพิมพ์ลงกระดาษ เป็นต้น ขัน้ ตอนดงั น้ี

1. คลกิ เมนูคำส่ัง Image → Image Size
2. เลอื กออปชันต่างๆ สำหรับปรบั ขนาดของภาพดังน้ี

Scale Styles ปรับสดั สว่ นของ Layer styleให้เป็นไปตามขนาดของภาพ
Constrain Proportions ใหร้ กั ษาสดั สว่ นเดิมของภาพไว้ คือ เมือ่ กำหนดความกวา้ งหรือความ
สงู ค่าใดค่าหน่ึงอีกคา่ จะถูกปรับตามโดยอตั โนมตั ิ สดั สว่ นภาพจะสมดลุ กนั
Resample Image กำหนดให้เป็นการปรับแบบเพิ่มหรือลดจำนวน Pixels โดยต้องระบุวิธี
คำนวณของโปรแกรม ซึง่ แต่ละวิธีจะให้ผลทีต่ ่างกันดังนี้
Nearest Neighbor การทำงานได้เร็วที่สุด แต่ให้ภาพดอ้ ยทส่ี ุด เหมาะกบั ภาพทมี่ ีความคมชัด
เช่น ภาพวาด
Bilinear ทำงานได้เร็วและให้ภาพดีปานกลาง
Bicubic ใหภ้ าพทด่ี ีท่ีสุด เหมาะสำหรบั ภาพท่วั ไปโดยเฉพาะภาพถา่ ย
Bicubic Smoother เหมาะสำหรับการขยายภาพ
Bicubic Sharper เหมาะสำหรับการย่อและขยายภาพ

3. กำหนดความกวา้ งหรือความสงู และเลอื กหน่วยวดั ภาพ ดังตัวอยา่ งนไ้ี ด้เลือกเป็น
Pixels แล้วคลกิ ปุม่ OK จะไดผ้ ลลพั ธข์ องภาพใหมใ่ นขนาดท่ีกำหนด

3.4.2 ขนาดภาพสำหรับงานส่ิงพิมพ์ ภาพกราฟิกปกหนงั สอื ขนาด 16.5 x19 ซม กำหนดไฟล์ภาพท่ี
Document Size เปน็ หนว่ ยวดั cm หรือ in ตามขนาดจรงิ ของหนงั สือ โดยกำหนดพื้นทส่ี ำหรับตัดตกดว้ ย เชน่
กำหนดขนาดภาพเป็น width 18 และ height 23 การกำหนด Resolution กำหนดค่า 300 pixels/inch ซ่ึง
เปน็ ค่าทีใ่ ชส้ ำหรบั งานส่ิงพมิ พ์

3.4.3 ขนาดภาพสำหรับนำไปพิมพ์ การถ่ายภาพจากกล้องดิจิตอล เมื่อถ่ายภาพแล้วนำภาพเหล่าน้ัน
ไปที่ร้านพิมพ์ภาพตามปกติและเลือกขนาดที่กำหนดได้ แต่ถ้าต้องการภาพให้มีคุณภาพสูงต้องคำนึงถึงภาพที่ถา่ ย
มานั้นพิมพ์ภาพได้ขนาดสูงสุดเท่าไหร่ ถ้ากำหนดสัดส่วนของภาพไม่ตรงกับขนาดกระดาษแล้วจะเลือกตัดส่วนใด
ของภาพออกมรี ายละเอยี ดดงั นี้

3.4.3.1 อัตราส่วน (หรือสัดส่วน) ของภาพ คือ การถ่ายภาพจากกล้องดิจิตอลแบบคอมแพ็ค มี
อัตราความกวา้ งเป็น 4 ต่อ 3 เชน่ ภาพขนาด 3269 X 2448 Pixels (กล้องระดับ 8 ลา้ น Pixels) เป็นต้น กล้อง

แผนกวชิ าคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ วิทยาลัยการอาชพี นครนายก 7

วชิ าโปรแกรมกราฟิก รหัสวิชา 20204-2007

ดิจติ อลระดับสูงข้ึนไปทีเ่ รยี กวา่ DSLR จะถ่ายภาพในอตั ราสว่ น 3 ตอ่ 2 เชน่ ภาพขนาด 3888 X 2592 Pixels
สำหรับกระดาษมาตรฐานที่ใชพ้ ิมพ์ภาพออกทางเครอ่ื งพิมพ์มีหลายสดั ส่วน เช่น การพมิ พ์แบบ 4 X 6 น้วิ (สดั ส่วน
3 ต่อ 2) และ 8 X 10 นิ้ว (สัดส่วน 4 ต่อ 5) เป็นต้น ดังนั้นการพิมพ์ภาพออกมาอาจมีผลใหภ้ าพบริเวณข้างๆ ถูก
ตัดออกไป หากส่งภาพที่ไม่ได้ปรับแต่งมาก่อนทางร้านจะตัดภาพให้เหลือตามสัดส่วนที่ต้องการ ซึ่งการตัดภาพ
อาจไม่ตรงตามความต้องการ เช่น ต้องการตัดภาพบริเวณด้านซ้ายออก หรือต้องการทำให้รูปเล็ก เป็นต้น เมื่อมี
ความต้องการภาพให้เหมาะสมต้องใช้โปรแกรมแตง่ ภาพก่อน เชน่ โปรแกรม Adobe Photoshop ตดั แต่งภาพให้
ได้ขนาดแลว้ บันทึกข้อมลู ไปพิมพ์ทีร่ า้ นตอ่ ไป

3.4.3.2 จำนวน Pixels กับขนาดของภาพ คือ ภาพถ่ายจากกล้องดิจิตอลจะมีจำนวน Pixels
ต่างกันขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของกล้องที่ถ่ายภาพ เมื่อนำภาพไปพิมพ์ที่ร้านต้องพิจารณาจำนวน Pixels ของภาพที่
พมิ พใ์ นขนาดใดบ้างจึงจะมีคณุ ภาพดที ีส่ ุด ภาพท่มี จี ำนวน Pixels ของภาพสูงสามารถพิมพ์ภาพได้ขนาดใหญ่และ
มีความคมชดั มาก

3.4.4 ตัดขอบภาพ Crop คือ การตัดภาพเลือกเฉพาะส่วนด้วยเครื่องมือ Crop หากภาพมี
ขนาดใหญ่เกินไป หรือมีความต้องการนำภาพมาใช้เพียงบางส่วน โดยการเลือกตัดขอบภาพในส่วนที่ไม่ต้องการ
ออก ด้วยเคร่ืองมือดงั กลา่ ว ขน้ั ตอนดังน้ี

1. คลกิ เครือ่ งมือ
2. คลกิ เมาสล์ ากคลุมพืน้ ทส่ี ว่ นทต่ี อ้ งการ
3. ปรับขนาดสัดส่วนให้เหมาะสมแล้วกด Enter เพอ่ื ยืนยันตัดภาพ หรือกด ESC เพื่อยกเลิก
การเลือก

1 4. ภาพท่ถี ูกตดั ขอบนอก

แผนกวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ วิทยาลัยการอาชีพนครนายก 8