วิธีในข้อใดเหมาะสำหรับใช้แยกส่วนประกอบของสารละลายเนื้อเดียว

ทั้งหมด 20 ข้อ

1

นักเรียนจะใช้หลักการใดในการแยกกรวดออกจากทราย

ก. การทำให้ตกตะกอน

ค. การกรอง

ง. การตกผลึก

2

นักเรียนจะใช้หลักการใดในการแยกผงตะไบจากน้ำตาล

ก. การร่อน

ข. การกรอง

ค. การหยิบออก

3

การกรองควรใช้ในการแยกสารผสมชนิดใด

ก. แยกสารผสมที่เป็นของแข็งขนาดต่างกัน

ข. แยกสารผสมที่เป็นของแข็งกับของเหลวที่ไม่ได้ละลายอยู่ด้วยกัน

ค. แยกสารผสมที่เป็นของแข็งละลายในของเหลว

ง. แยกสารผสมที่เป็นของเหลวละลายในของเหลว

4

การสกัดสีออกจากส่วนของพืช ใช้วิธีการใด

ก. การทำให้ตกตะกอน

ข. การกลั่นลำดับส่วน

ง. โครมาโทรกราฟี

5

สารผสมชนิดใดเหมาะใช้กรวยในการแยกสาร

ข. น้ำและเกลือ

ค. น้ำและลูกเหม็น

ง. น้ำและน้ำตาล

6

สารผสมทุกข้อใช้หลักการระเหิด ยกเว้นข้อใด

ก. การบูร และ เกลือแกง

ข. พิมเสน และ น้ำตาลทราย

ง. ลูกเหม็น และ ผงถ่าน




7

สารละลายในข้อใดไม่สามารถแยกส่วนประกอบได้โดยการระเหยแห้ง

ข. สารละลายคอปเปอร์ซัลเฟต

ค. สารละลายโซเดียมคลอไรด์

ง. น้ำเชื่อม

8

นักเรียนได้รับสารผสมซึ่งมีถ่านผสมกับเกลือ นักเรียนจะแยกโดยใช้วิธีการใด (เรียงตามลำดับ)

ก. การตกผลึก, การละลาย และ การระเหย

ข. การละลาย, การกรอง และ การะเหย

ค. การกรอง, การละลาย และ การระเหิด

ง. การกรอง, การตกผลึก และ การระเหิด

9

ข้อใดกล่าวถึงการกลั่นได้ไม่ถูกต้อง

ก. อาศัยคุณสมบัติของสาร: จุดเดือด

ข. สารที่มีจุดเดือดต่ำก็จะถูกแยกออกมาก่อน

ค. เมื่อสารเปลี่ยนสถานะเป็นไอจะเปลี่ยนให้กลับมาเป็นสถานะของเหลวด้วยการควบแน่น

10

ในการแยกน้ำมันดิบในอุตสาหกรรมน้ำมัน ใช้วิธีการใด

ก. อาศัยความหนาแน่น

ข. การสกัดด้วยตัวทำละลาย

ง. การระเหิด

11

สารในข้อใดระเหิดได้

ก. ผงไอโอดีน

ข. การบูร

ค. แนฟทาลีน

12

ข้อใดคือข้อดีของการกลั่นลำดับส่วน

ก. แยกสารที่มีปริมาณน้อยๆผสมอยู่

ข. สามารถแยกสารที่มีจุดเดือดต่างกันน้อยๆได้

ค. ประหยัดค่าใช้จ่าย

ง. สามารถแยกสารที่มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวที่แตกต่างกันได้




13

ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการตกผลึก

ก. อาศัยหลักการละลายได้ที่ต่างกัน

ข. สารที่ละลายได้น้อยกว่าจะตกผลึกออกมาก่อน

ค. สารตัวหนึ่งในสารผสมจะไม่ละลายในตัวทำละลาย

ง. ผลึกจัดเป็นสารบริสุทธิ์

14

สารที่เคลื่อนที่ไปได้ไกลในการแยกสารด้วยวิธีโครมาโตกราฟี จะมีคุณสมบัติแบบใด
1. เป็นสารที่ดูดซับได้ดี
2. เป็นสารที่ดูดซับได้ไม่ดี
3. เป็นสารที่ละลายได้ดี
4. เป็นสารที่ละลายได้ไม่ดี

ก. 1, 3

ข. 1, 4

ง. 2, 4

15

ถ้าสารเคลื่อนที่ใกล้เคียงกัน ควรทำอย่างไร

ก. เปลี่ยนตัวทำละลายใหม่

ข. เพิ่มความยาวตัวดูดซับ

ง. ไม่มีข้อใดถูก

16

ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของวิธีการโครมาโทกราฟี

ก. แยกสารผสมออกจากกัน

ข. แยกสารบริสุทธิ์ออกจากกัน

ค. แยกสารที่มีปริมาณน้อยๆผสมอยู่

ง. แยกสารเนื้อเดียวที่มีความเป็นขั้วต่างกัน

17

ข้อใดจับคู่การแยกสารได้ถูกต้อง

ก. น้ำคลอง-การตกตะกอน

ข. การทำนาเกลือ-การระเหย

ค. ผลึกจุนสี-การตกผลึก

18

ถ้าต้องการแยกองค์ประกอบต่างๆ ออกจากสารชุด A และ B ควรใช้วิธีใด

องค์ประกอบ Aองค์ประกอบ B
ถ่าน, กำมะถัน, น้ำตาลทราย น้ำมันเบนซิน, น้ำมันก๊าด

ก. A โดยการกลั่นลำดับส่วน B โดยการใช้ตัวทำ ละลาย

ข. A โดยการใช้ตัวทำละลาย B โดยการกลั่น ลำดับส่วน

ค. A โดยการใช้การกลั่น B โดยการกลั่นด้วยไอน้ำ

ง. A โดยการกลั่นด้วยไอน้ำ B โดยการใช้ การกลั่น




19

วิธีในข้อใดเหมาะสำหรับใช้แยกส่วนประกอบของสารละลายเนื้อเดียว

นำสารละลาย 4 ชนิดมาสกัดสีจากดอกอัญชัน ได้ผลดังภาพสารชนิดใดควรนำมาทำตัวละลายเพื่อสกัดสีจากดอกอัญชัน

ก. A

ข. B

ค. C

20

จากตาราง

สารขนาดอนุภาค (เซนติเมตร)การละลายน้ำ
A 0.6 ละลาย
B 0.9 ไม่ละลาย
C 1.1 ละลาย
D 0.7 ละลาย

ถ้าต้องการแยกสาร ของแข็ง 3 ชนิดโดยใช้เครื่องร่อนที่มีขนาดรู 1.0 เซนติเมตร
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
1. สารที่สามารถแยกออกมาได้เป็นอันดับแรกคือ B
2. สารที่สามารถแยกออกมาได้เป็นอันดับแรกคือ C
3. สารที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้คือ A, B
4. สารที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้คือ A, D
ข้อใดกล่าวถูกต้อง

ก. 1, 3

ข. 1, 4

ค. 2, 3