ข้อใดคือขั้นตอนแรกของการพัฒนาเว็บเพจ

URL (หรือ Universal Resource Locator) คือที่อยู่เว็บแบบสมบูรณ์ที่ใช้ค้นหาหน้าเว็บที่เฉพาะเจาะจง ขณะที่โดเมนคือชื่อของเว็บไซต์ URL จะเป็นสิ่งที่นำไปยังหน้าใดหน้าหนึ่งภายในเว็บไซต์ ทุก URL จะประกอบด้วยชื่อโดเมนและองค์ประกอบอื่นๆ ที่จำเป็นในการค้นหาหน้าเว็บหรือเนื้อหาที่เจาะจง

ตัวอย่าง URL ได้แก่
http://www.google.com
https://en.wikipedia.org/wiki/umami
https://www.youtube.com/feed/trending

แม้ว่าชื่อโดเมนจะนำไปยังเว็บไซต์ได้ แต่การซื้อชื่อโดเมนไม่ได้ทำให้คุณมีเว็บไซต์ โดเมนคือชื่อของเว็บไซต์ ส่วน URL คือวิธีค้นหาเว็บไซต์ และเว็บไซต์คือสิ่งที่ผู้คนจะเห็นและโต้ตอบด้วยเมื่อเข้าชม พูดอีกอย่างคือเมื่อซื้อโดเมน คุณได้ซื้อเพียงชื่อของเว็บไซต์ แต่คุณยังต้องสร้างเว็บไซต์ด้วย

ในความหมายแวดวงดิจิทัล เว็บไซต์คือชุดเนื้อหาที่มักจะอยู่ในหน้าหลายๆ หน้า ซึ่งมีการจัดกลุ่มให้อยู่ในโดเมนเดียวกัน ลองนึกถึงร้านค้าโดยให้โดเมนเป็นชื่อร้าน ส่วน URL เป็นที่อยู่ของร้าน และเว็บไซต์เป็นร้านค้าจริงที่มีชั้นวางสินค้าและแคชเชียร์

โชคดีที่การสร้างเว็บไซต์เป็นเรื่องที่ง่ายดาย รวดเร็ว และประหยัดกว่าการสร้างหน้าร้านจริงหรือสำนักงานมาก ปัจจุบันมีบริษัทดีๆ หลายแห่งที่ช่วยให้ทุกคนสร้างเว็บไซต์สวยๆ และดูเป็นมืออาชีพได้ภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมง และส่วนใหญ่ไม่จำเป็นต้องใช้ความรู้เรื่องการเขียนโค้ดหรือการออกแบบเลย หากต้องการดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์ ให้ลองดูโพสต์เกี่ยวกับวิธีเลือกเครื่องมือสร้างเว็บไซต์

คุณต้องมีสิ่งต่อไปนี้เพื่อสร้างเว็บไซต์

  1. ชื่อโดเมน (เช่น yoursite.com)
  2. ผู้รับจดทะเบียนและโฮสต์ของโดเมน (เช่น Google Domains)
  3. เครื่องมือสร้างเว็บไซต์ด้วยตัวเอง เช่น SquareSpace หรือ Wix หรือนักออกแบบเว็บ
  4. เนื้อหาดิจิทัล เช่น ข้อความ รูปภาพ วิดีโอ และสื่ออื่นๆ ที่ผู้เข้าชมจะเห็นเมื่อมาที่เว็บไซต์ของคุณ

ผู้รับจดทะเบียนโดเมน

ผู้รับจดทะเบียนโดเมนคือบริษัทที่ขายชื่อโดเมนที่ยังไม่มีใครเป็นเจ้าของซึ่งคุณนำมาจดทะเบียนได้ ให้ทำการค้นหาง่ายๆ ในหน้าเว็บของผู้รับจดทะเบียนโดเมนเพื่อดูว่าชื่อโดเมนที่คุณต้องการยังว่างอยู่หรือไม่และมีราคาเท่าไร

โฮสต์ DNS

โฮสต์ DNS คือบริษัทที่จัดการการกำหนดค่าโดเมน (หรือที่เรียกว่าระเบียนทรัพยากร DNS) ซึ่งจะดูแลให้ชื่อโดเมนนำไปยังเว็บไซต์และอีเมลของคุณ โฮสต์ของโดเมนส่วนใหญ่จะให้บริการจดทะเบียนชื่อโดเมนด้วย

    หลังจากเว็บไซต์ได้รับการเผยแพร่ไประยะหนึ่งแล้ว เราควรปรับปรุงเพื่อให้ผู้ชมรู้สึกว่ามีความเปลี่ยนแปลง มีความสดใหม่ ทันสมัย ไม่ล้าหลัง โดยการที่เรานำข้อมูลสถิติที่รวบรวมไว้มาพิจารณาประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลงทำได้ทั้งในส่วนของเนื้อหาโครงสร้างเว็บไซต์และการออกแบบหน้าตา โดยการนำเทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามาเพิ่ม 

การออกแบบและพัฒนาเว็บเพจ         


             การออกแบบและพัฒนาเว็บเพจนั้นสามารถทำได้หลายรูปแบบ  ข้อมูลที่จะใช้นำเสนอในเอกสารเว็บ ความพึงพอใจของผู้ที่ทำการสร้าง ตลอดจนกลุ่มเป้าหมายหลักที่ต้องการให้เป็นผู้อ่าน
เอกสารเว็บเหล่านั้น และควรออกแบบให้มีลูกเล่นที่หลากหลาย มีสีสันสดใสเป็นที่น่าสนใจ  การออกแบบและพัฒนาเว็บเพจนั้นควรมีการวางแผนก่อนการพัฒนาเสมอ เนื่องจากระบบคอมพิวเตอร์
ที่ใช้งานอยู่บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้นเป็นระบบที่หลากหลาย


               ขั้นตอนการพัฒนาเว็บเพจ


 ลำดับขั้นตอนสำหรับการพัฒนาเว็บเพจ สามารถจำแนกเป็นลำดับขั้นตอนได้ดังนี้


1. การวางแผนพัฒนาเว็บเพจ


2. กำหนดโฟรเดอร์ที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเว็บเพจ


3. จัดหาภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาและจัดเก็บไว้ในโฟร์เดอร์ที่กำหนดไว้


4. สร้างเอกสารเว็บโดยกำหนดชื่อของแฟ้มข้อมูลเอกสารเว็บให้เป็นไปตามข้อกำหนดและ


จัดเก็บเอกสารไว้ในโฟลเดอร์ที่ได้กำหนดไว้


5. ตรวจสอบผลเอกสารเว็บผ่านทางโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์


6. ข้อมูลขึ้นไปเก็บไว้บนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย Server และทำการตรวจสอบผลการ


เรียกดูเอกสารเว็บที่อยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์    

ขั้นตอนการออกแบบเว็บเพจ

การสร้างเว็บเพจ จำเป็นต้องผ่านกระบวนการออกแบบให้ดีก่อน นอกจากความสวยงามแล้วสิ่งที่ต้องคำนึงถึงคือ


1. มีสารบัญแสดงรายละเอียดของเว็บเพจนั้น


2. เชื่อมโยงข้อมูลไปยังเป้าหมายได้ตรงกับความต้องการ


3. เนื้อหากระชับ สั้น ทันสมัย


4. สามารถตอบโต้กับผู้ใช้ได้ทันท่วงที


5. มีรูปภาพประกอบการนำเสนอที่ดี ไม่ควรมีรูปภาพมากเกินไป


6. เข้าสู่กลุ่มเป้าหมายได้อย่างถูกต้อง


7. ใช้งานง่าย


8. เป็นมาตรฐานเดียวกัน 


             การวางแผนพัฒนาเว็บเพจ


              การวางแผนพัฒนาเว็บเพจนั้นถือว่าเป็นขั้นตอนสำคัญตอนหนึ่ง เนื่องจากเอกสารเว็บที่สร้างขึ้นนั้นจะมีจำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และมีจุดเชื่อมโยง Link  เป็นจำนวนมาก หาก ไม่มี
การวางแผนไว้ก่อนจะทำให้การปรับปรุงและพัฒนาในภายหลังเกิดปัญหาขึ้นได้ง่าย ตัวอย่างงเช่นแฟ้มข้อมูลมีจำนวนมากทำให้ไม่สามารถจดจำชื่อของแฟ้มข้อมูลที่เคยสร้างไว้แล้วได้ ซึ่งจะส่งผล
ให้การทำการเชื่อมโยงเอกสารเกิดปัญหาขึ้น เพื่อป้องกันปัญหาดังกล่าวนี้ควรมีการวางแผนและออกแบบเอกสารเว็บบนกระดาษ และทำการกำหนดชื่อแฟ้มข้อมูล ของแต่ละเอกสารเว็บให้ เรียบร้อย
 จะทำให้ผู้ที่ทำการสร้างเว็บเพจสามารถมองเห็นภาพ การไหลของข้อมูล Data Flow ภายในเว็บเพจได้ชัดเจน และสามารถทำการพิจารณา ต่อได้วว่าเอกสารเว็บแต่ละแฟ้มข้อมูลนั้นมี
ความสัมพันธ์กับเอกสารอื่น และสัมพัมพันธ์กับแฟ้มข้อมูลเอกสารเว็บ

     ลักษณะโครงสร้างของเว็บเพจ


1.  แบบลำดับชั้น เป็นการจัดแสดงหน้างเอกสารเว็บในลักษณะเรียงลำดับกันเป็นกิ่งก้าน

     เหมือนกับต้นไม้

2.  แบบเชิงเส้น เป็นการจัดแสดงหน้าเอกสารเว็บ โดยเรียงต่อเนื่องกันในทางเดียวกัน


3.  แบบผสม เป็นการจัดเรียงหน้าของเอกสารเว็บโดยการผสมผสานระหว่างแบบลำดับชั้น


      และแบบเชิงเส้นทั้งนี้ขึ้นอยู่กันผู้ที่ออกแบบเว็บเพจ

การวางแผนสร้างเว็บเพจ


1. ควรมีรายการสารบัญแสดงรายละเอียดของเว็บเพจนั้น


           การเข้ามาในเว็บเพจนั้นเปรียบเสมือนการอ่านหนังสือ วารสารหรือตำราเล่มหนึ่ง การที่ผู้ใช้จะเข้าไปค้นหาข้อมูลได้ ผู้สร้างควรแสดงรายการทั้งหมดที่เว็บเพจนั้นมีอยู่ให้ผู้ใช้ทราบ โดย
อาจจะทำอยู่ในรูปแบบของสารบัญ หรือการเชื่อมโยง การสร้างสารบัญนี้จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นหาข้อมูลภายในเว็บเพจได้อย่างรวดเร็ว


2. เชื่อมโยงข้อมูลไปยังเป้าหมายได้ตรงกับความต้องการมากที่สุด


           การสร้างจุดเชื่อมโยง นั้นสามารถจัดทำในรูปของตัวอักษรหรือรูปภาพก็ได้ แต่ควรที่จะแสดงจุดเชื่อมโยงให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจได้ง่าย และที่นิยมสร้างกันนั้น โดยส่วนใหญ่เมื่อมีเนื้อหา
ตอนใดเอ่ยถึงส่วนที่เป็นรายละเอียดเกี่ยวเนื่องกันก็จะสร้างเป็นจุดเชื่อมโยงทันที นอกจากนี้ ในแต่ละเว็บเพจ ที่สร้างขึ้นมาควรมีจุดเชื่อมโยงกลับมายังหน้าแรกของเว็บไซต์ที่กำลังใช้งานอยู่ด้วย
ทั้งนี้เผื่อว่าผู้ใช้เกิดหลงทางและไม่ทราบว่าจะทำอย่างไรต่อไปดี จะได้มีหนทางกลับมาสู่จุดเริ่มต้นใหม่


3. เนื้อหากระชับ สั้นและทันสมัย


           เนื้อหาที่นำเสนอกับผู้ใช้ควรเป็นเรื่องที่กำลังมีความสำคัญ อยู่ในความสนใจของผู้คนหรือเป็นเรื่องที่ต้องการให้ผู้ใช้ทราบ และควรปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ


4. สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ได้อย่างทันท่วงที


                ควรกำหนดจุดที่ผู้ใช้สามารถแสดงความคิดเห็น หรือให้คำแนะนำกับผู้สร้างได้ เช่น ใส่อีเมล ของผู้ทำ ลงในเว็บเพจ โดยตำแหน่งที่เขียนควรเป็นที่ส่วนบนสุดหรือส่วนล่างสุดของเว็บ
เพจนั้นๆ ไม่ควรเขียนแทรกไว้ที่ตำแหน่งใดๆ ของจอภาพ เพราะผู้ใช้อาจจะหาไม่พบก็ได้

5. การใส่ภาพประกอบ


            ควรใช้รูปภาพที่สามารถสื่อความหมายกับผู้ใช้ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ การใช้รูปภาพเพื่อเป็นพื้นหลัง ไม่ควรเน้นสีสันที่ฉูดฉาดมากนัก เพราะอาจจะไปลดความเด่นชัดของเนื้อหา ควร
ใช้ภาพที่มีสีอ่อนๆ ไม่สว่างจนเกินไป ตัวอักษรที่นำมาแสดงบนจอภาพก็เช่นเดียวกัน ควรเลือกขนาดที่อ่านง่าย ไม่มีสีสันและลวดลายมากเกินความจำเป็น และที่สำคัญไม่ควรมีขนาดใหญ่หรือมี
จำนวนมากเกินไป เพราะอาจจะทำให้เนื้อหาสาระของเว็บเพจนั้นถูกลดความสำคัญลง


6. เข้าสู่กลุ่มเป้าหมายได้อย่างถูกต้อง


               การสร้างเว็บเพจนั้นสิ่งหนึ่งที่ต้องคำนึงถึงมากที่สุดก็คือกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการให้เข้ามาชมและใช้บริการของเว็บเพจที่สร้างขึ้น การกำหนดกลุ่มเป้าหมายอย่างชัดเจนย่อมทำให้ผู้สร้าง
สามารถกำหนดเนื้อหา และเรื่องราวเพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ได้มากกว่า


 7. ใช้งานง่าย


              สิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งของการสร้างเว็บเพจคือ จะต้องใช้งานง่าย เนื่องจากอะไรก็ตามถ้ามีความง่ายในการใช้งานแล้ว โอกาสที่จะประสบความสำเร็จย่อมสูงขึ้นตามลำดับ และการสร้าง
เว็บเพจ ให้ง่ายต่อการใช้งานนั้น ขึ้นอยู่กับเทคนิคและประสบการณ์ของผู้สร้างแต่ละคน


8. เป็นมาตรฐานเดียวกัน


       เว็บเพจที่ถูกสร้างขึ้นมานั้น อาจจะมีจำนวนข้อมูลมากมายหลายหน้า การทำให้ผู้ใช้งานไม่เกิดความสับสนกับข้อมูลนั้น จำเป็นต้องกำหนดข้อมูลให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยอาจแบ่งเนื้อหา
ออกเป็นส่วนๆ ไป หรือจัดเป็นกลุ่ม เป็นหมวดหมู่ เพื่อความเป็นระเบียบน่าใช้งาน


ที่มา
http://anntaro.blogspot.com/2008/10/blog-post_9468.html
http://www.oknation.net/blog/print.php?id=187783
http://www.pm.ac.th/vrj/web/disign.htm

ขั้นตอนแรกของการพัฒนาเว็บเพจคืออะไร

1. การวางแผนพัฒนาเว็บเพจ 2. กำหนดโฟรเดอร์ที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเว็บเพจ 3. จัดหาภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาและจัดเก็บไว้ในโฟร์เดอร์ที่กำหนดไว้ 4. สร้างเอกสารเว็บโดยกำหนดชื่อของแฟ้มข้อมูลเอกสารเว็บให้เป็นไปตามข้อกำหนดและ

หน้าแรกของเว็บไซต์ (web site) เรียกว่าอะไร

โฮมเพจ (home page) หมายถึงเว็บเพจหน้าแรกที่ปรากฏ เมื่อเข้าสู่เว็บไซต์หนึ่ง

ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ข้อใดคือลําดับสุดท้าย

ลงทะเบียนขอพื้นที่เว็บไซต์ เป็นขั้นตอนสุดท้ายในการพัฒนาเว็บไซต์ทั้งหมด ขั้นตอนต่อไปคือ การนำเว็บไซต์นั้นไปเผยแพร่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือขอพื้นที่เว็บไซต์กับผู้ให้บริการเว็บโอสติ้ง ซึ่งมีทั้งฟรีและเสียค่าใช้จ่าย

กระบวนการพัฒนาเว็บเพจมีกี่ขั้นตอน

การพัฒนาเว็บไซต์ที่มีประสิทธิภาพนั้น จะต้องมีกระบวนการในการพัฒนาเว็บไซต์อย่าง ชัดเจน โดยกระบวนการพัฒนาเว็บไซต์ประกอบด้วย 6 กระบวนการ คือ 1) การก าหนด วัตถุประสงค์และวางแผน 2) การก าหนดเนื้อหาและจัดโครงสร้างเว็บไซต์ 3) การออกแบบเว็บไซต์ 4) การพัฒนาเว็บไซต์ 5) การเผยแพร่และส่งเสริมเว็บไซต์ และ 6) การดูแลและบ ารุงรักษา ...