ประกันสุขภาพลูกน้อย 2565 ที่ไหนดี pantip

อาชีพที่มีความเสี่ยงสูง อย่างเช่น วิศวกร ช่างไฟฟ้า สถาปนิก คนงานก่อสร้าง หรือคนที่ต้องใช้อุปกรณ์-เครื่องมือในการทำงาน มักจะเป็นผู้ที่มีความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุมากกว่าคนอื่น เพราะฉะนั้นประกันภัยอุบัติเหตุมีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะจะช่วยดูแล และคอยช่วยเหลือยามเกิดอุบัติเหตุ เพราะสามารถยื่นบัตร PA Card และรักษาในโรงพยาบาลเครือข่ายได้ทันที โดยไม่ต้องสำรองจ่าย

แต่เดี๋ยวก่อน…ใครว่าพนักงานออฟฟิศ หรืออายุน้อยๆ อย่างนักเรียน นักศึกษาไม่มีความเสี่ยงอุบัติเหตุ อยากให้ลองนึกดูสิว่า แค่เราลื่นตกจากบันได อย่างน้อยอาจจะแค่เจ็บขา แต่ถ้าหนักถึงขั้นขาหัก กว่าจะรักษาให้หายขาดก็มีค่าใช้จ่ายสูง ประกันอุบัติเหตุก็จะช่วยแบ่งเบาตรงนี้ได้

ข้อมูลจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) สำหรับการรับประกันภัยในส่วนของประกันภัยอุบัติเหตุจะแบ่งเป็น 4 ชั้น ไล่ลำดับจากความเสี่ยงต่ำ ไปจนถึงความเสี่ยงสูง ได้แก่

อาชีพชั้น 1 ส่วนใหญ่ทำงานประจำในสำนักงาน
อาชีพชั้น 2 ปฏิบัติงานที่ใช้วิชาชีพที่ต้องทำงานกลางแจ้งตลอดเวลา
อาชีพชั้น 3 ปฏิบัติงานด้านช่าง กระบวนการผลิต ที่มีการใช้เครื่องจักรกลหนัก ผู้ใช้แรงงาน การเดินทาง หรือทำงานนอกสำนักงานเป็นประจำ
อาชีพชั้น 4 อาชีพพิเศษที่มีความเสี่ยงสูงมากกว่าชั้นอื่น ๆ เป็นพิเศษ เช่น นักแสดงผาดโผน

วันที่เริ่มคุ้มครอง

เหตุผลที่วันเริ่มต้นคุ้มครอง เป็น 1 ในสิ่งที่ผู้ซื้อประกันภัยต้องคำนึงถึงนั้น ก็เพราะว่าทุกอย่างที่อยู่บริเวณรอบตัวเราไม่ว่าจะวัน หรือเวลาใดก็ตาม ก็สามารถทำให้เราประสบอุบัติเหตุได้ โดยเฉพาะบุคคลที่ประกอบอาชีพ หรือต้องเจอเหตุการณ์ที่มีความเสี่ยงทุกวัน เพราะฉะนั้นการซื้อประกันอุบัติเหตุที่คุ้มครองเราได้ทันทีหลังจากการซื้อสำเร็จ ก็จะส่งผลดีต่อตัวเรามากกว่านั่นเอง

ราคาเบี้ยประกันภัย

เบี้ยประกันอุบัติเหตุนั้นมีให้เลือกตั้งแต่หลักร้อยปลายๆ ไปจนถึงหลักพันปลายๆ ซึ่งเมื่อจ่ายค่าเบี้ยประกันภัยแล้ว ก็จะได้รับคุ้มครองตลอด 1 ปี เพราะฉะนั้นการคำนวณค่าใช้จ่ายในการจ่ายเบี้ยประกันของแต่ละคนอาจจะไม่เหมือนกัน สำหรับมนุษย์เงินเดือนที่มีเงินเข้าตรงเวลาทุกเดือน อาจจะคำนวณโดยการเก็บออมในแต่ละเดือน หรือเลือกจ่ายทีเดียว แต่สำหรับในบางอาชีพที่มีเงินหมุนเข้า-ออกทุกวันอย่างพ่อค้า/แม่ค้า อาจจะใช้จ่ายทีเดียวเพื่อบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายรายเดือนแทน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความพร้อมของแต่ละคน แต่ให้แอกซ่าแนะนำ ผู้เอาประกันควรจะเลือกซื้อประกันภัยอุบัติเหตุที่ได้รับความคุ้มครองสูงสุด ถึงเบี้ยอาจจะราคาสูงกว่า แต่เชื่อมั่นได้เลยว่า ตัวเราเองก็จะได้รับความคุ้มครองที่สูงสุดเช่นกัน

ทุนประกันภัย

ลองประเมินความเสี่ยงของตัวเอง เช่น การเดินทาง การทำงาน หรือการประกอบอาชีพของตนเองว่า มีความเสี่ยงอยู่ในระดับไหน และเลือกทุนประกันที่เหมาะกับตัวเอง เช่น นาย A เป็นช่างเทคนิค ประเมินจากอาชีพของตนเองแล้วพบว่ามีความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุค่อนข้างสูง เพราะฉะนั้นควรเลือกที่จะประกันภัยอุบัติเหตุที่ครอบคลุม และคุ้มครองสูงสุด ทั้งในแง่ค่ารักษาพยาบาล และผลประโยชน์การเสียชีวิต

โรงพยาบาลเครือข่าย

เป็นอีกหัวข้อหนึ่งที่ควรศึกษาก่อนทำประกันอุบัติเหตุ คือ การตรวจเช็คว่ามีรายชื่อโรงพยาบาลที่เข้าร่วมในเครือข่ายประกันภัยอุบัติเหตุของบริษัทประกันภัยที่เราจะซื้อหรือไม่ ให้ลองนึกภาพว่า ถ้าวันหนึ่งเราเกิดอุบัติเหตุขึ้มมา สิ่งที่สำคัญที่สุด คือ การที่ผู้บาดเจ็บสามารถเดินทางไปยังโรงพยาบาลใกล้เคียง และพบแพทย์ได้อย่างทันที และยังสบายใจได้เพราะไม่ต้องสำรองเงินจ่ายไปก่อน สำหรับใครที่สนใจทำประกันอุบัติเหตุกับ AXA สามารถเช็ครายชื่อโรงพยาบาลในเครือข่ายได้ที่นี่ คลิก

การดูแล และการบริการหลังการซื้อประกัน

นอกจากแผนประกันภัย เบี้ยประกัน และโรงพยาบาล สิ่งที่ขาดไม่ได้ในการตัดสินใจทำประกันกับบริษัทใด บริษัทหนึ่ง ก็คือ การบริการหลังการขายที่พร้อมดูแลลูกค้าอย่างจริงใจ การให้ข้อมูล หรือตอบคำถามต่างๆ ที่เรายังสงสัยได้ รวมไปถึงข้อมูลเชิงลึก เช่น เอกสารที่ในการเรียกร้องสินไหมในกรณีต่าง ๆ รวมไปถึงช่องทางติดต่อที่สะดวกที่สุด โดยลูกค้า AXA สามารถดูข้อมูลต่างๆ เพิ่มเติมได้ที่ https://www.axa.co.th/th/personal-accident-protection-claim

ผลประโยชน์ กรุงไทย สุขภาพสุขใจ กรุงไทย สุขภาพสุขใจ พลัส แผน 1 แผน 2 แผน 1 แผน 2 จำนวนเงินผลประโยชน์สูงสุดต่อรอบปีกรมธรรม์ประกันภัย 100,000 200,000 300,000 300,000 จำนวนเงินผลประโยชน์สูงสุดต่อการพักรักษาเป็นผู้ป่วยในครั้งใดครั้งหนึ่ง ย 25,000 50,000 75,000 75,000 1. ผลประโยชน์กรณีเข้าพักรักษาเป็นผู้ป่วยใน หมวดที่ 1 ค่าห้องและค่าอาหาร รวมถึงค่าบริการในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล (ผู้ป่วยใน) ต่อการพักรักษาเป็นผู้ป่วยในครั้งใดครั้งหนึ่ง 5,000
ต่อวัน 5,000
ต่อวัน 5,000
ต่อวัน 5,000
ต่อวัน ในกรณีที่ผู้เอาประกันภัยได้รับการรักษาในห้องผู้ป่วยวิกฤติ (Intensive Care Inpatient Room) จะจ่ายค่าห้อง และค่าอาหาร ค่าบริการในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล (ผู้ป่วยใน) ให้เป็นจำนวน 2 เท่า ของผลประโยชน์สำหรับค่าห้อง และค่าอาหาร ค่าบริการในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล (ผู้ป่วยใน) สูงสุดไม่เกิน 365 วัน 10,000
ต่อวัน 10,000
ต่วัน 10,000
ต่อวัน 10,000
ต่อวัน หมวดที่ 2 ค่าบริการทางการแพทย์เพื่อการตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา ค่าบริการโลหิตและส่วนประกอบของโลหิต ค่าบริการทางการพยาบาล ค่ายา ค่าสารอาหารทางหลอดเลือด และค่าเวชภัณฑ์ ต่อการพักรักษาเป็นผู้ป่วยในครั้งใดครั้งหนึ่ง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง หมวดย่อยที่ 2.1 ค่าบริการทางการแพทย์เพื่อการตรวจวินิจฉัย หมวดย่อยที่ 2.2 ค่าบริการทางการแพทย์เพื่อการบำบัดรักษา ค่าบริการโลหิตและส่วนประกอบของโลหิต และค่าบริการทางการพยาบาล หมวดย่อยที่ 2.3 ค่ายา ค่าสารอาหารทางหลอดเลือด และค่าเวชภัณฑ์ หมวดย่อยที่ 2.4 ค่ายา และค่าเวชภัณฑ์สิ้นเปลือง (เวชภัณฑ์ 1) สำหรับกลับบ้าน หมวดที่ 3 ค่าผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม (แพทย์) ตรวจรักษา ต่อการพักรักษาเป็นผู้ป่วยในครั้งใดครั้งหนึ่ง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง หมวดที่ 4 ค่ารักษาพยาบาลโดยการผ่าตัด (ศัลยกรรม) และหัตถการต่อการพักรักษาเป็นผู้ป่วยในครั้งใดครั้งหนึ่ง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง หมวดย่อยที่ 4.1 ค่าห้องผ่าตัด และค่าห้องทำหัตถการ หมวดย่อยที่ 4.2 ค่ายา ค่าสารอาหารทางหลอดเลือด ค่าเวชภัณฑ์ และค่าอุปกรณ์การผ่าตัดและหัตถการ หมวดย่อยที่ 4.3 ค่าผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ทำศัลยกรรมและหัตถการ สำหรับแพทย์ทำศัลยกรรมและหัตถการ (รวมแพทย์ผู้ช่วยผ่าตัด) (Doctor Fee) หมวดย่อยที่ 4.4 ค่าผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม วิสัญญีแพทย์ (Doctor Fee) หมวดย่อยที่ 4.5 ค่ารักษาพยาบาลโดยการผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ หมวดที่ 5 การผ่าตัดใหญ่ที่ไม่ต้องเข้าพักรักษาเป็นผู้ป่วยใน (Day Surgery) จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง 2. ผลประโยชน์กรณีไม่ต้องเข้าพักรักษาเป็นผู้ป่วยใน หมวดที่ 6 ค่าบริการทางการแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยที่เกี่ยวข้องโดยตรงก่อนและหลังการเข้าพักรักษาตัวเป็นผู้ป่วยใน หรือ ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอกที่ต่อเนื่องที่ เกี่ยวข้องโดยตรงหลังการเข้าพักรักษาตัวเป็นผู้ป่วยในต่อการพักรักษาเป็นผู้ป่วยในครั้งใดครั้งหนึ่ง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง หมวดย่อยที่ 6.1 ค่าบริการทางการแพทย์เพื่อการตรวจวินิจฉัยที่เกี่ยวข้องโดยตรงและเกิดขึ้นภายใน 30 วันก่อนและหลังการเข้าพักรักษาเป็นผู้ป่วยใน หมวดย่อยที่ 6.2 ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอกหลังการเข้าพักรักษาตัวเป็นผู้ป่วยในต่อครั้ง สำหรับการรักษาพยาบาลต่อเนื่อง ภายใน 30 วัน หลังจากออกจากการเข้าพัก รักษาเป็นผู้ป่วยในครั้งนั้น (ไม่รวมค่าบริการทางการแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย) หมวดที่ 7 ค่ารักษาพยาบาลการบาดเจ็บ กรณีผู้ป่วยนอก ภายใน 24 ชั่วโมง ของการเกิดอุบัติเหตุแต่ละครั้ง (รวมการรักษาพยาบาลต่อเนื่องภายใน 15 วัน) 5,000 5,000 5,000 5,000 หมวดที่ 8 ค่าเวชศาสตร์ฟื้นฟู ที่เกิดขึ้นภายใน 30 วัน หลังการเข้าพักรักษาเป็นผู้ป่วยในแต่ละครั้ง ต่อการพักรักษาเป็นผู้ป่วยในครั้งใดครั้งหนึ่ง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง หมวดที่ 9 ค่าบริการทางการแพทย์เพื่อการบำบัดรักษาโรคไตวายเรื้อรัง โดยการล้างไตผ่านทางเส้นเลือด ต่อรอบปีกรมธรรม์ประกันภัย จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง หมวดที่ 10 ค่าบริการทางการแพทย์เพื่อการบำบัดรักษาโรคมะเร็ง โดยรังสีรักษา รังสีร่วมรักษา เวชศาสตร์นิวเคลียร์รักษา ต่อรอบปีกรมธรรม์ประกันภัย จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง หมวดที่ 11 ค่าบริการทางการแพทย์เพื่อการบำบัดรักษาโรคมะเร็ง โดยเคมีบำบัด ต่อรอบปีกรมธรรม์ประกันภัย จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง หมวดที่ 12 ค่าบริการรถพยาบาลฉุกเฉิน จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง หมวดที่ 13 ค่ารักษาพยาบาลโดยการผ่าตัดเล็ก จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง จ่ายตามจริง การมีส่วนร่วมจ่าย ความรับผิดส่วนแรก (Deductible) ไม่มี ค่าใช้จ่ายร่วม (Copayment) ไม่มี ข้อตกลงคุ้มครองการรักษาพยาบาลกรณีผู้ป่วยนอก 1. การรักษาพยาบาลกรณีผู้ป่วยนอก ไม่คุ้มครอง ไม่คุ้มครอง 1,000 2,000 2. ค่ายาและค่าเวชภัณฑ์สิ้นเปลือง (เวชภัณฑ์ 1) สำหรับกลับบ้าน ไม่คุ้มครอง ไม่คุ้มครอง 1,000 2,000 หมวดความคุ้มครองการประกันภัยอุบัติเหตุส่วนบุคคล
ข้อตกลงคุ้มครองการเสียชีวิต การสูญเสียอวัยวะ สายตา การรับฟังเสียง การพูดออกเสียง หรือทุพพลภาพถาวรจากอุบัติเหตุ (อ.บ.2) การเสียชีวิต การสูญเสียอวัยวะ สายตา การรับฟังเสียง การพูดออกเสียง หรือทุพพลภาพถาวรจากอุบัติเหตุ (อ.บ.2)
- ขยายความคุ้มครองถึงการขับขี่ หรือโดยสารรถจักรยานยนต์
- จำกัดความรับผิดการถูกฆาตกรรมหรือถูกทำร้ายร่างกาย 50,000 50,000 50,000 50,000