ขอเอกสาร ประกันสังคม ย้อน หลัง ที่ไหน

การขอคัดแบบแสดงรายการ

Show
              กรณียื่นแบบผ่านอินเทอร์เน็ต

              สามารถขอคัดแบบแสดงรายการภาษีที่ยื่นผ่านอินเทอร์เน็ตทุกประเภทภาษีอากรได้ที่ สำนักบริหารการเสียภาษีทางอิเล็กทรอนิกส์ ชั้น 27 อาคารกรมสรรพากร เลขที่ 90 ซอยพหลโยธิน 7 ถนนพหลโยธิน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 เท่านั้น

     เอกสารประกอบการขอคัดแบบแสดงรายการ มีดังนี้

                  1. คำร้องขอคัดแบบแสดงรายการภาษี สามารถ Download ได้จากเว็บไซต์ http://www.rd.go.th/ == > บริการยื่นแบบผ่านอินเทอร์เน็ต == > แนะนำบริการ== >แบบฟอร์มต่างๆ

                 2. หลักฐานการแสดงตน 

                     กรณีเป็นบุคคลธรรมดา ให้แนบสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของหรือสำเนาหนังสือเดินทาง (กรณีบุคคลต่างด้าว) ที่ได้ลงลายมือชื่อรับรอง 

                     กรณีเป็นนิติบุคคล ให้แนบสำเนาหนังสือรับรองของนายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ออกให้ไม่เกิน 6 เดือน และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนหรือใบสำคัญคนต่างด้าวของผู้มีอำนาจผูกพันนิติบุคคลนั้นโดยผู้มีอำนาจดังกล่าวได้ลงลายมือชื่อรับรองแล้ว 

                3. กรณีมอบอำนาจให้ผู้อื่นกระทำการแทน ให้จัดทำหนังสือมอบอำนาจเพื่อขอคัดแบบแสดงรายการภาษี (ปิดอากรแสตมป์ 10 บาท) พร้อมแนบสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มอบอำนาจและ

ผู้รับมอบอำนาจที่ได้ลงลายมือชื่อรับรองแล้ว

                กรณียื่นแบบผ่านสำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา

 สามารถขอคัดแบบแสดงรายการภาษีที่ยื่นผ่านสำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาได้ที่

              1. สำนักงานสรรพากรพื้นที่ที่ผู้เสียภาษีมีภูมิลำเนาตั้งอยู่ หรือ

              2. ศูนย์เอกสารกลาง ชั้น 20 อาคารกรมสรรพากร เลขที่ 90 ซอยพหลโยธิน 7 ถนนพหลโยธิน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 หรือ

             3. ศูนย์เอกสารและหลักฐาน(ตลิ่งชัน) เลขที่ 33/12 หมู่ 14 ถนนบรมราชชนนี แขวงฉิมพลี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170

เอกสารประกอบการขอคัดแบบแสดงรายการ มีดังนี้

             1.  แบบการขอใช้บริการข้อมูลข่าวสารของราชการกรมสรรพากร สามารถ Download ได้จากเว็บไซต์ http://www.rd.go.th/ == > Download = > แบบแสดงรายการภาษี คำร้อง/คำขอต่างๆ == > อื่นๆ (ลำดับที่ 1)

             2.  หลักฐานการแสดงตน 

     กรณีเป็นบุคคลธรรมดา ให้แนบสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของหรือสำเนาหนังสือเดินทาง (กรณีบุคคลต่างด้าว) ที่ได้ลงลายมือชื่อรับรอง 

                  กรณีเป็นนิติบุคคล ให้แนบสำเนาหนังสือรับรองของนายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ออกให้ไม่เกิน 6 เดือน และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนหรือใบสำคัญคนต่างด้าวของผู้มีอำนาจผูกพันนิติบุคคลนั้นโดยผู้มีอำนาจดังกล่าวได้ลงลายมือชื่อรับรองแล้ว

              3.  กรณีมอบอำนาจให้ผู้อื่นกระทำการแทน ให้จัดทำหนังสือมอบอำนาจเพื่อขอคัดแบบแสดงรายการภาษี (ปิดอากรแสตมป์ 10 บาท) พร้อมแนบสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจที่ได้ลงลายมือชื่อรับรองแล้ว

หมายเหตุ กรณีต้องการใบแนบแบบแสดงรายการให้ระบุในคำร้องขอคัดแบบแสดงรายการภาษีด้วย

RD Call  Center  1161

บริการอย่างเป็นมิตร เพื่อนคู่คิดทางภาษี

ขอเอกสาร ประกันสังคม ย้อน หลัง ที่ไหน

อ่านสั้นๆ

  • ประโยชน์ที่เจ้าของธุรกิจจะได้รับจากประกันสังคม หนึ่งในนั้นคือการสร้างความเชื่อมั่นให้กับธุรกิจ เมื่อพนักงานกำลังตัดสินใจเลือกเข้าทำงาน
  • หากธุรกิจเรามีพนักงานตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ต้องขึ้นทะเบียน 2 ชุดคือ 1. ขึ้นทะเบียนนายจ้าง ซึ่งปัจจุบัน ได้รับการขึ้นทะเบียนโดยอัตโนมัติพร้อมการจดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคลต่อกรมธุรกิจการค้า 2. ขึ้นทะเบียนลูกจ้างสำหรับจ่ายกองทุนประกันสังคมในครั้งแรก 
  • เมื่อมีพนักงานใหม่เข้าทำงานในบริษัท ต้องขึ้นทะเบียนประกันสังคมภายใน 30 วัน
  • ในแต่ละเดือนต้องนำส่งเงินประกันสังคมที่หักจากเงินเดือนพนักงาน พร้อมทั้งจ่ายสมทบเพิ่มให้กับพนักงาน และยื่นต่อสำนักงานประกันสังคมภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป

  • ให้เราอ่านให้ฟัง
  • ประกันสังคม ทำไมเจ้าของธุรกิจต้องทำให้พนักงาน
  • เจ้าของธุรกิจ ต้องทำอย่างไรเมื่อเริ่มมีพนักงานคนแรก
    • 3 ขั้นตอนจัดทำไฟล์ “ข้อมูลเงินสมทบ” ผ่านโปรแกรมจัดการเงินเดือน FlowPayroll
  • ขั้นตอนการยื่นข้อมูลเงินสมทบประกันสังคมออนไลน์ 10 นาทีเสร็จ! 
    • ขั้นตอนยื่นข้อมูลเงินสมทบ
    • ขั้นตอนยื่นเอกสารพนักงานเข้าใหม่
  • เจ้าของธุรกิจต้องจ่ายค่าประกันสังคมเท่าไหร่/เมื่อไหร่
    • วิธีการคำนวณเงินสมทบกองทุนประกันสังคม

ให้เราอ่านให้ฟัง

ขอเอกสาร ประกันสังคม ย้อน หลัง ที่ไหน

ประกันสังคม ทำไมเจ้าของธุรกิจต้องทำให้พนักงาน

สิทธิประกันสังคมเป็นสิทธิประโยชน์ร่วมกันระหว่างเจ้าของธุรกิจและพนักงาน โดยเงินที่เจ้าของธุรกิจจ่ายสมทบให้กับพนักงานในแต่ละเดือนถือเป็นหนึ่งในสวัสดิการที่พนักงานจะได้รับเพื่อเป็นการสร้างหลักประกันในการใช้ชีวิตตลอดช่วงทำงาน จนไปถึงเกษียณอายุ 

ซึ่งประโยชน์ที่พนักงานได้รับมีถึง 8 เรื่องด้วยกัน คือ

  1. ค่าหมอ ค่ายา ค่าทำฟัน ยามเจ็บป่วย หรือเกิดอุบัติเหตุ
  2. ค่าเงินชดเชย กรณีทุพพลภาพ
  3. ค่าคลอดบุตร
  4. ค่านมลูก (เงินสงเคราะห์บุตร)
  5. ค่าใช้จ่ายยามตกงาน
  6. ค่าจัดงานกรณีเสียชีวิต
  7. ค่าใช้จ่ายยามเกษียณ

และยังส่งผลดีต่อเจ้าของธุรกิจและภาพลักษณ์ของธุรกิจด้วยคือ 

  1. สร้างภาพลักษณ์ที่ดีในด้านความรับผิดชอบต่อชีวิตพนักงานของธุรกิจ ซึ่งพนักงานมองว่าเป็นหลักประกันชีวิตขั้นพื้นฐานที่ควรได้รับ
  2. เพิ่มความเชื่อมั่นให้กับธุรกิจ สำหรับการตัดสินใจเลือกเข้าทำงานของพนักงาน
  3. รักษาพนักงานให้อยู่ทำงานด้วยกันต่อไปในระยะยาว เพราะมั่นใจได้ว่าธุรกิจตั้งใจจะดูแลคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น

นั่นก็หมายความว่า เมื่อพนักงานของธุรกิจมีความสุข และมีความมั่นคง ก็ทำให้ธุรกิจดำเนินอย่างมั่นคง ส่งผลต่อลูกค้า และคู่ค้าในเชิงบวกด้วยเช่นกัน

หากยังคิดภาพไม่ออก ลองนึกภาพว่า เรากำลังสร้างครอบครัวที่แข็งแรงและมีความสุข เราก็จะหาสิ่งที่ดีที่สุดให้กับครอบครัว

องค์กรในรูปแบบบริษัทก็เช่นกัน หากอยากสร้างองค์กรให้แข็งแรง การมีสวัสดิการที่ดีย่อมช่วยสร้างความมั่นคงให้กับพนักงาน และเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้พนักงานตัดสินใจมาทำงานร่วมกับบริษัทเรา

และหากให้พูดตามหลักของกฎหมาย เมื่อกิจการเริ่มมีการจ้างพนักงานตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป นายจ้างจะต้องเป็นผู้จัดทำประกันสังคมให้กับพนักงานทุกคน เพื่อให้ได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานที่ช่วยเป็นหลักประกันในการดำเนินชีวิต

ขอเอกสาร ประกันสังคม ย้อน หลัง ที่ไหน

เจ้าของธุรกิจ ต้องทำอย่างไรเมื่อเริ่มมีพนักงานคนแรก

1. ขั้นตอนแรก เจ้าของธุรกิจต้องขึ้นทะเบียนนายจ้างภายใน 30 วัน นับจากวันที่เริ่มรับพนักงาน

อัพเดต! จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า

เมื่อเจ้าของธุรกิจจดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคลต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า (Department of Business Development) แล้ว จะได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นนายจ้างต่อสำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงานโดยอัตโนมัติ (ซึ่งจะช่วยลดขั้นการเตรียมเอกสารเพื่อความสะดวกมากขึ้น) เริ่มใช้จริงวันที่ 16 ต.ค. 2019 เป็นต้นไป 

2. เจ้าของธุรกิจสามารถใช้เลขนิติบุคคล 13 หลัก ดำเนินการขึ้นทะเบียนลูกจ้าง/ผู้ประกันตน เมื่อมีการจ้างลูกจ้างภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันเริ่มจ้างงาน ได้ที่สำนักงานประกันสังคมต่อไป

เอกสารที่ต้องใช้ หนังสือนำส่งแบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน (สปส.1-02) พร้อมใบแนบแบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน (สปส.1-03) ของพนักงาน พร้อมแนบสำเนาบัตรประชาชน

3. ยื่นข้อมูลเงินสมทบ (ตารางสรุปเงินพนักงานประจำเดือน โดยใส่ข้อมูลเลขบัตรประจำตัวประชาชน, คำนำหน้า, ชื่อ-นามสกุล, ตำแหน่ง, เงินเดือน และเงินสมทบ)

3 ขั้นตอนจัดทำไฟล์ “ข้อมูลเงินสมทบ” ผ่านโปรแกรมจัดการเงินเดือน FlowPayroll

FlowPayroll  ช่วยนายจ้างจัดทำไฟล์ข้อมูลอัตราเงินเดือนตามรายชื่อพนักงานได้อย่างรวดเร็ว โดยให้โปรแกรมคำนวณเงินยื่นส่งประกันสังคมได้อัตโนมัติ (หากเป็นกรณีรูปแบบบริษัท เราสามารถนำรายชื่อกรรมการบริษัทออก เนื่องจากกรรมการถือว่าเป็นนายจ้างตามเงื่อนไขของประกันสังคม)

ขอเอกสาร ประกันสังคม ย้อน หลัง ที่ไหน

  1. เข้าใช้งาน FlowPayroll และเลือกเมนู รายการเงินเดือน/ค่าจ้าง 
  2. คลิกปุ่มจุดสามจุด ด้านหลังรายการเงินเดือน
  3. เลือกเมนู “ดาวน์โหลดไฟล์ยื่นประกันสังคม”

ซึ่งคุณสามารถทดลองใช้งาน FlowPayroll ได้ฟรี 30 วัน ได้ที่เว็บไซต์ FlowAccount แล้วคลิกปุ่มสมัครใช้งานฟรีได้เลย

ขอเอกสาร ประกันสังคม ย้อน หลัง ที่ไหน


ขั้นตอนการยื่นข้อมูลเงินสมทบประกันสังคมออนไลน์ 10 นาทีเสร็จ! 

ในเดือนถัดๆ ไป เจ้าของธุรกิจก็สามารถเข้าใช้งานผ่านเว็บไซต์ของประกันสังคมในหัวข้อ “บริการอิเล็กทรอนิกส์”  ลดเวลาการเดินทางไปที่สำนักงานประกันสังคมพื้นที่ และจัดเตรียมเอกสารหลายขั้นตอน เพื่อยื่นข้อมูล ดังนี้

1. ข้อมูลเงินสมทบ

2. แจ้งพนักงานเข้าใหม่ (ส.ป.ส. 1-03)

3. แจ้งพนักงานลาออก (ส.ป.ส. 6-09)

ขั้นตอนยื่นข้อมูลเงินสมทบ


  1. เข้าสู่ระบบและเลือกเมนู “ส่งข้อมูลเงินสมทบ”
  2. เลือก วิธียื่นข้อมูลการส่งเงินสมทบ
  3. เลือกสถานประกอบการ
  4. เลือกวิธีการนำส่ง กรอกเดือน, ปี, อัตราเงินสมทบ
  5. เลือกอัพโหลดไฟล์ “ข้อมูลเงินสมทบ”
  6. สรุปข้อมูลเงินสมทบ
  7. ส่งข้อมูลเงินสมทบสำเร็จ
  8. จากนั้นประกันสังคมจะส่งข้อมูลยืนยันตามแบบรายการแสดงการส่งเงินสมทบ (สปส.1-10 ส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2) ผ่านทางอีเมลเพื่อดำเนินการชำระเงินต่อไป

ขั้นตอนยื่นเอกสารพนักงานเข้าใหม่


  1. เข้าสู่ระบบและเลือกเมนู “ทะเบียนผู้ประกันตน”
  2. คลิกเลือกข้อ 1 กรณีที่พนักงานเข้าใหม่ไม่เคยขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนกับทางประกันสังคม คลิกเลือกข้อ 2 กรณีที่ พนักงานเคยขึ้นทะเบียนแล้ว และเลือกสถานพยาบาลเดิม
  3. เพิ่มข้อมูลพนักงานใหม่ทั้งหมด กรณีพนักงานใหม่ไม่เคยขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน
    ใส่เลขที่บัตรประชาชน กรณีพนักงานใหม่เลือกสถานพยาบาลเดิม
  4. ตรวจสอบข้อมูล
  5. ยืนยันบันทึกข้อมูล

เจ้าของธุรกิจต้องจ่ายค่าประกันสังคมเท่าไหร่/เมื่อไหร่

เจ้าของธุรกิจจะต้องจ่ายสมทบประกันสังคมในส่วนที่หักจากพนักงาน และส่วนที่สมทบให้กับพนักงาน ตามแบบ สปส.1-10 (ส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2) จะต้องส่งในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป หลังจากที่ยื่นเอกสารเพื่อนำส่งประกันสังคมในครั้งแรก


วิธีการคำนวณเงินสมทบกองทุนประกันสังคม

ฐานของเงินค่าจ้างพนักงานขั้นต่ำตั้งแต่ 1,650 บาท แต่ไม่เกิน 15,000 บาท

พนักงานจะถูกหักจากเงินเดือน 5% + เจ้าของธุรกิจจ่ายสมทบ 5% + รัฐบาลร่วมจ่ายสมทบ 2.75%

(แต่ในบางเดือนทางประกันสังคมจะมีการออกมาตรการลดค่าครองชีพให้กับนายจ้าง เพื่อช่วยให้นายจ้างจ่ายเงินสมทบประกันสังคมน้อยลง เช่น ช่วงเดือน พ.ค. – ก.ค. 2565 ปรับลดเหลือ 1% เป็นต้น)

ดังนั้นเจ้าของธุรกิจจึงออกเงินสมทบประกันสังคมให้ 1 เท่าของเงินที่พนักงานถูกหักออกจากเงินเดือนในแต่ละเดือนตามมาตรา 33 (แต่ในกรณีที่ต้องนำส่งด้วยตัวเองในสถานะฟรีแลนซ์ก็จะยื่นนำส่งในมาตรา 39 โดยมีเงื่อนไขว่า เคยยื่นมาตรา 33 มาแล้วไม่ต่ำกว่า 12 เดือน และว่างงานมาไม่เกิน 6 เดือน)

ยกตัวอย่างวิธีคำนวณ

ให้เงินเดือนพนักงาน 18,000 บาท (คำนวณจากฐานเงินเดือนสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท) ดังนั้นเงินประกันสังคมที่จะต้องยื่นคือ 5% เท่ากับ 15,000 x 5% = 750 บาท และทางนายจ้างจ่ายสมทบเพิ่มอีกหนึ่งเท่า รวมเป็น 750+750 = 1,500 บาท 

ซึ่งคุณสามารถทดลองใช้งาน FlowPayroll ช่วยคำนวณเงินยื่นส่งประกันสังคมได้อัตโนมัติ ได้ฟรี 30 วัน

ขอเอกสาร ประกันสังคม ย้อน หลัง ที่ไหน

ข้อมูลจาก

sso,

mol,

labour

ขอเอกสาร ประกันสังคม ย้อน หลัง ที่ไหน

คนขี้สงสัย ชอบค้นหาคำตอบ ด้วยการสืบค้นจากแหล่งที่มาต่างๆ และโจทย์ต่อจากนี้คือ ทำบัญชีให้เป็นเรื่องเข้าใจง่ายได้อย่างไร

ลองใช้งานFlowAccount ฟรี 30 วันได้ง่ายๆ วันนี้

ลองใช้งานฟรีได้ง่ายๆ วันนี้

สมัครเลย

เอกสารนำส่งประกันสังคม ขอได้ที่ไหน

ขอรับโปรแกรมหรือ Format ข้อมูลเงินสมทบได้ที่สำนักงานประกันสังคมทุกแห่ง หรือ Download ได้ที่ เว็บไซต์สำนักงานประกันสังคม กรณีสถานประกอบการมีสาขาและประสงค์ยื่นรวมให้จัดทำแบบ สปส. 1-10/1 ซึ่งเป็นใบสรุปรายกรแสดงการส่งเงินสมทบของแต่ละสาขาที่ยื่นพร้อมแบบ สปส. 1-10 ส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2 ของแต่ละสาขา

ประกันสังคม ต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง

เอกสารที่ต้องใช้ หนังสือนำส่งแบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน (สปส.1-02) พร้อมใบแนบแบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน (สปส.1-03) ของพนักงาน พร้อมแนบสำเนาบัตรประชาชน 3. ยื่นข้อมูลเงินสมทบ (ตารางสรุปเงินพนักงานประจำเดือน โดยใส่ข้อมูลเลขบัตรประจำตัวประชาชน, คำนำหน้า, ชื่อ-นามสกุล, ตำแหน่ง, เงินเดือน และเงินสมทบ)

จ่ายเงินประกันสังคมย้อนหลังได้ไหม

รัฐสนับสนุนในระยะแรกทั้งนี้ จนกว่าสำนักงานประกันสังคมจะประกาศเป็นอย่างอื่น ทั้งนี้ ในการจ่ายเงินสมทบของผู้ประกันตนมาตรา 40 จ่ายเป็นรายเดือน ๆ ละ 1 ครั้ง และจ่ายเงินสมทบล่วงหน้าได้ครั้งละไม่เกิน 12 เดือน แต่ไม่สามารถจ่ายเงินสมทบย้อนหลังได้

จ่ายเงินประกันสังคมย้อนหลังได้ที่ไหน

สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน โทร.1506 (บริการตลอด 24 ชั่วโมง) หรือ www.sso.go.th.