วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด


การเคลื่อนที่แบบวงกลม

วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด

รูป 4.10 การเคลื่อนที่แบบวงกลมหรือส่วนของวงกลม
             การเคลื่อนที่แบบวงกลมเป็นการเคลื่อนที่อีกแบบหนึ่งที่น่าสนใจ เพราะการเคลื่อนที่หลายอย่างรอบตัวเรา มีส่วนที่จะเป็นการเคลื่อนที่เป็นวงกลม ตัวอย่างเช่น การเคลื่อนที่ดังรูป 4.10 รถยนต์หรือรถจักรยานยนต์กำลังเลี้ยวโค้ง รถไฟตีลังกา หรือดาวเทียมโคจรรอบโลก นับเป็นการเคลื่อนที่แบบวงกลมหรือส่วนของวงกลม รถยนต์ รถจักรยานยนต์ และ ดาวเทียม เคลื่อนที่ในแนววงกลมหรือส่วนของวงกลม ได้อย่างไร หรือทำไมการเคลื่อนที่เป็นแบบนั้นๆ ได้ จะศึกษาต่อไป เพื่อความเข้าใจการเคลื่อนที่เป็นวงกลม เราควรเริ่มศึกษาจากการเคลื่อนที่เป็นวงกลมที่มีอัตราเร็วคงตัวก่อน นั่นคือการเคลื่อนที่ที่มีขนาดของความเร็วเท่าเดิม สม่ำเสมอแต่มีทิศเปลี่ยนไปทีละน้อย
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด

รูป 4.11 การแกว่งวัตถุให้เคลื่อนที่เป็นวงกลมในระนาบระดับ
            เราอาจหาประสบการณ์จากการแกว่งวัตถุที่ปลายเชือกให้เป็นวงกลมในระนาบระดับดังรูป 4.11 ในการแกว่งที่รัศมีค่าหนึ่ง เราจะรู้สึกว่า มือจะต้องใช้แรงดึงมากขึ้นเมื่อแกว่งให้เร็วขึ้น (เวลาครบรอบสั้นลง) แสดงว่าการทำให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมจะต้องใช้แรงดึง การแสดงว่า การเคลื่อนที่เป็นวงกลมหรือการเคลื่อนที่เป็นแนวโค้งของวัตถุต้องใช้แรงก็คือ การใช้อุปกรณ์สาธิตที่ดีดลูกกลมโลหะให้เคลื่อนที่ไปตามรางโค้งวงกลม ดังรูป 4.12 จะสังเกตได้ว่าเมื่อสุดรางโค้ง ลูกโลหะจะวิ่งตรงต่อไป แสดงว่าวัตถุวิ่งโค้งได้เนื่องจากมีรางบังคับ และจะต้องมีแรงจากรางกระทำอยู่ตลอดเวลา แรงดังกล่าวเป็นแรงกระทำจากขอบรางซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากลูกกลมโลหะเคลื่อนที่สัมผัสกับราง ณ ตำแหน่งต่างๆ ในทิศตั้งฉากกับราง จึงมีทิศเข้าหาศูนย์กลางของการเคลื่อนที่ดังรูป 4.13
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด

รูป 4.12 ลูกกลมโลหะเคลื่อนที่ไปตามรางโลหะที่เป็นส่วนโค้งวงกลม
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด

รูป 4.13 แรงกระทำกับลูกกลมโลหะขณะเคลื่อนที่ไปตารางโค้ง
           การเคลื่อนที่แบบวงกลมมีความเร่งสู่ศูนย์กลาง เราอาจพิสูจน์ได้ว่าวัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมมีความเร่ง จากความหมายของความเร่ง คือ อัตราการเปลี่ยนความเร็ว การเคลื่อนที่เป็นวงกลมที่มีขนาดของความเร็วคงตัว แต่มีการเปลี่ยนทิศของความเร็วตลอดเวลา ซึ่งจะถือว่ามีการเปลี่ยนความเร็ว และมีความเร่งดังต่อไปนี้ พิจารณาการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนววงกลมรัศมี r ด้วยขนาดความเร็วคงตัว v จากตำแหน่ง A ไปยังตำแหน่ง B โดยผ่านตำแหน่ง C ที่อยู่บนแกน y ดังรูป 4.14 ถ้าให้ A และ B อยู่ห่างจากแกน y เท่ากัน และที่ตำแหน่ง A กับ B วัตถุมีความเร็ว
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด
และ
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด
ตามลำดับ
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด

รูป 4.14 การเปลี่ยนแปลงความเร็วของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ในแบบวงกลม
เมื่อพิจารณาแต่ขนาดของ
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด
A และ
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด
และจะได้ว่า
ความเร็วองค์ประกอบของ
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด
ในแนวแกน
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด

ความเร็วองค์ประกอบของ
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด
ในแนวแกน
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด

ความเร็วองค์ประกอบของ
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด
ในแนวแกน
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด

ความเร็วองค์ประกอบของ
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด
ในแนวแกน
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด

เมื่อ
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด
  thetaเป็นมุมระหว่างเส้นรัศมีมีที่ตำแหน่ง A กับ C หรือมุมระหว่างเส้นรัศมีที่ตำแหน่ง B กับ C พิจารณาช่วงเวลาที่วัตถุใช้ในการเคลื่อนที่จาก A ไป B ด้วยอัตราความเร็วคงตัว v จะได้
จากรูปเราสามารถหา ความยาวของส่วนโค้ง
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด

สำหรับการเคลื่อนที่ของวัตถุบนส่วนโค้ง AB ความเร็วในแกน X ที่ A และที่ B จะมีค่าเท่ากันคือ
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด
ดังนั้นความเร่งในแนวแกน X จึงเท่ากับศูนย์ และ
เราสามารถหาความเร่งเฉลี่ยตามแนวแกน y คือ ay ได้จาก
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด

แทนค่า
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด

             
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด

เครื่องหมาย - แสดงว่า ความเร่ง ay มีทิศทางไป - y คือตำแหน่ง C เข้าหาจุด ศูนย์กลาง O เมื่อให้มุม
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด
มีค่าน้อยจนเกือบเป็นศูนย์ เพื่อให้ A และ B เข้าใกล้ตำแหน่ง C ซึ่งอยู่ตรงส่วนบนสุดของวงกลม ดังนั้นความเร่ง ay ก็จะเป็นความเร่งขณะหนึ่งคือความเร่งที่ตำแหน่ง C มีทิศเข้าหาจุดศูนย์กลาง O ของวงกลม การหาขนาดของความเร่งขณะหนึ่งจะพิจารณาว่า sin
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด
=
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด
มีค่าน้อยเข้าใกล้ศูนย์ และจะได้
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด
ซึ่งมีทิศเข้าสู่จุดศูนย์กลางของวงกลม
ในทำนองเดียวกัน ถ้าย้ายตำแหน่ง C มาอยู่บนแนวแกน X แทน โดยให้ A และ B อยู่ห่างจาก C เท่ากันเช่นเดิม ก็จะได้ว่าความเร่งขณะหนึ่งที่ตำแหน่ง C จะมีทิศในแนวแกน X และเข้าหาจุดศูนย์กลางเช่นเดิม และไม่ว่าจะย้าย C ไปอยู่ที่ตำแหน่งใดบนเส้นรอบวงกลม ก็จะได้ว่าความเร่งขณะหนึ่งที่ตำแหน่ง C มีทิศเข้าหาจุดศูนย์กลางเสมอ ดังนั้นถ้าให้ ac เป็นความเร่งขณะหนึ่งที่มีทิศเข้าสู่ศูนย์กลางวงกลม
จะได้ 
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด

         เมื่อวัตถุมีความเร่งทิศเข้าสู่ศูนย์กลาง ดังนั้นวัตถุเคลื่อนที่ในแนววงกลมด้วยอัตราเร็วคงตัว ต้องมีแรงสู่ศูนย์กลางกระทำต่อวัตถุตามกฎของนิวตัน แรงสู่ศูนย์กลาง Fc จะเป็น
       
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด

เราสามารถทำการทดลองเพื่อสำรวจว่า การเคลื่อนที่แบบวงกลมมีแรงสู่ศูนย์กลางหรือไม่ หรือเพื่อพิสูจน์ว่าแรงสู่ศูนย์กลางเป็นไปตามสมการ (4.5) หรือไม่ ดังรายละเอียดท้ายบท
การเคลื่อนที่บนโค้ง ในกรณีของรถยนต์ที่กำลังเลี้ยวโค้ง         แรงเสียดทานที่พื้นถนนกระทำกับด้านข้างของยางรถจะเป็นแรงสู่ศูนย์กลางที่ทำให้รถยนต์เลี้ยวโค้งได้ และเนื่องจากแรงเสียดทานมีค่าจำกัดขึ้นกับสภาพถนนและยางรถ ดังนั้นแรงสู่ศูนย์กลางที่เป็นไปได้จึงมีค่าจำกัดด้วย ถ้าถนนมีรัศมีความโค้งขนาดหนึ่ง อัตราเร็วที่รถวิ่งขณะเลี้ยวโค้งจะต้องไม่มากเกินกว่าที่ถนนจะสามารถให้แรงเสียดทานทิศสู่ศูนย์กลางที่เป็นไปตามสมการ (4.4) ได้ หากอัตราเร็วเกินรถจะไถลออกนอกโค้ง ดังที่เกิดขึ้นเป็นอุบัติเหตุที่เป็นข่าวบ่อยครั้ง โดยเฉพาะเมื่อฝนตก ถนนลื่นแรงเสียดทานที่เป็นไปได้จะลดลง

ตัวอย่าง 4.3 รถยนต์มวล 1,000 กิโลกรัม แล่นด้วยความเร็ว 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมงเลี้ยวโค้งบนถนน ที่มีผิวอยู่ในแนวระดับและมีทางโค้ง 2 โค้ง ซึ่งมีรัศมีความโค้ง 100 เมตร และ 500 เมตร ตามลำดับ
            1. แรงสู่ศูนย์กลางที่กระทำต่อรถยนต์ในแต่ละกรณีมีค่าเท่าใด
           2. ถ้าแรงเสียดทานที่พื้นถนนกระทำกับยางรถในทิศเข้าสู่ศูนย์กลางมีค่าสูงสุดเท่ากับ 1,000 นิวตัน จะมีผลอย่างไรต่อการเลี้ยวโค้งของรถยนต์ทั้งสองกรณี
วิธีทำ
1. กรณีที่ถนนระดับมีรัศมีความโค้ง 100 เมตร

วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด

คำตอบ แรงสู่ศูนย์กลางกระทำต่อรถยนต์ขณะเลี้ยวโค้งบนถนนระดับรัศมีความโค้ง 100 เมตร เท่ากับ 2,778 นิวตัน
กรณีที่ถนนระดับมีรัศมีความโค้ง 500 เมตร
วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด

คำตอบ แรงสู่ศูนย์กลางกระทำต่อรถยนต์ขณะเลี้ยวโค้งบนถนนระดับรัศมีความโค้ง 500 เมตร เท่ากับ 555.6 นิวตัน

วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็น วงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง จะมีค่า มาก เมื่อ ใด

            http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1127

การเคลื่อนที่แบบวงกลมมีแรงใดเกิดขึ้นบ้าง

การเคลื่อนที่แบบวงกลม เกิดขึ้นเมื่อวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วในทิศทางหนึ่งๆ แต่ขณะเดียวกันก็มีแรงดึงวัตถุ โดยทิศทางของแรงที่ดึงนั้นตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุตลอดเวลา จะทำให้เส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุเปลี่ยนเป็นวงกลม โดยเราจะเรียกแรงที่คอยดึงอยู่นั้นว่า "แรงสู่ศูนย์กลาง (Fc)"

เมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลม แสดงว่า ต้องมีแรงใดเกิดขึ้น เพราะเหตุใด

การเคลื่อนที่แบบวงกลมหรือส่วนของวงกลมในแนวระดับ วัตถุที่เคลื่อนที่เป็นวงกลม จะมีแรงกระทำต่อวัตถุซึ่งมีทิศทางเข้าหาจุดศูนย์กลางของการเคลื่อนที่นั้นเสมอ โดยขนาดของแรงจะขึ้นอยู่กับอัตราเร็วของวัตถุ แรงนี้เรียกว่า แรงสู่ศูนย์กลาง

ขณะวัตถุมีการเคลื่อนที่แบบวงกลมสม่ำเสมอปริมาณที่มีทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลางคือปริมาณในข้อใด

a. แนวคำ ตอบ ขณะวัตถุมีการเคลื่อนที่แบบวงกลมสม่ำ เสมอ ปริมาณที่มีทิศทางเข้าสู่ ศูนย์กลางของวงกลม คือ แรงที่กระทำ ต่อวัตถุ

การเคลื่อนที่แบบวงกลมแรงสู่ศูนย์กลางและทิศทางการเคลื่อนที่สัมพันธ์กันอย่างไร

การเคลื่อนที่แนววงกลม เป็นการเคลื่อนที่ที่มีการเปลี่ยนทิศทางตลอดเวลา ขณะวัตถุเคลื่อนที่ในแนววงกลม ต้องมีแรงลัพธ์กระทำต่อวัตถุ ในทิศพุ่งเข้าหาจุดศูนย์กลางตลอดเวลา ซึ่งเรียกแรงลัพธ์นี้ว่า แรงสู่ศูนย์กลาง โดยแรงสู่ศูนย์กลางมีทิศตั้งฉากกับความเร็วของวัตถุตลอดเวลา

การเคลื่อนที่แบบวงกลมมีแรงใดเกิดขึ้นบ้าง ขณะวัตถุมีการเคลื่อนที่แบบวงกลมสม่ำเสมอปริมาณที่มีทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลางคือปริมาณในข้อใด การเคลื่อนที่แบบวงกลมแรงสู่ศูนย์กลางและทิศทางการเคลื่อนที่สัมพันธ์กันอย่างไร วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมในระนาบระดับด้วยอัตราเร็วคงที่ ข้อใดถูกต้อง สมการในการหาค่าแรงสู่ศูนย์กลาง เป็นไปตามข้อใด การเคลื่อนที่แบบวงกลม แรงสู่ศูนย์กลางของรถยนต์ที่กำลังเลี้ยวโค้งบนถนนราบ ได้มาจากแรงใด วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่เป็นวงกลมด้วยอัตราเร็วสม่ำเสมอ มีความเร่งหรือไม่ การเคลื่อนที่แบบ วงกลม สม่ำเสมอ จํานวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ใน 1 หน่วยเวลา