สรีดภงส์ มีความสําคัญอย่างไรในสมัยสุโขทัย

สรีดภงส์ มีความสําคัญอย่างไรในสมัยสุโขทัย

สรีดภงส์ มีความสําคัญอย่างไรในสมัยสุโขทัย
สำหรับผู้สูงอายุ

ทำนบพระร่วง

ระบบชลประทานแห่งแรกของสยาม

สรีดภงส์ มีความสําคัญอย่างไรในสมัยสุโขทัย

ทำนบพระร่วง : เขื่อนโบราณสมัยสุโขทัย

     เมืองสุโขทัยโบราณนั้นมีภูมิประเทศเอียงลาดเพราะพื้นที่อยู่ติดภูเขา จนไม่สามารถเก็บน้ำได้ตามธรรมชาติ จำเป็นต้องมีการพัฒนาแหล่งเก็บน้ำไว้ใช้ในฤดูแล้ง พระร่วงเจ้ากษัตริย์สุโขทัยสมัยนั้นจึงได้สร้างทำนบส่งไปตามลำรางส่งน้ำที่ขุดพบเป็นท่อสังคโลก ซึ่งเรียกว่า “ท่อปู่พญาร่วง” ส่งน้ำเข้าไปในตัวเมือง เพื่อเก็บขังในสระน้ำใหญ่เล็กหลายสระ และมีสระขนาดใหญ่ในกำแพงเมืองหรือที่เรียกว่า “ตระพัง” เช่น ตระพังทอง ตระพังเงิน ตระพังสอ ตระพังตระกวน นอกจากนี้ยังมีการขุดบ่อน้ำกรุอิฐไว้เป็นจำนวนมาก ทำให้พื้นที่ในเมืองสุโขทัยไม่ขาดแคลนน้ำ ดังจะเห็นได้จากจารึกว่า “เมืองสุโขทัยนี้จึ่งชม สร้างป่าหมากป่าพลูทั่วเมืองนี้ทุกแห่ง ป่าพร้าวก็หลายในเมืองนี้ ป่าลางก็หลายในเมืองนี้ หมากม่วงก็หลายในเมืองนี้ หมากขามก็หลายในเมืองนี้ ใครสร้างได้ไว้แก่มัน กลางเมืองสุโขทัยนี้ มีน้ำตะพังโพยสี ใสกินดี … ดั่งกินน้ำโขงเมื่อแล้ง”

สรีดภงส์ มีความสําคัญอย่างไรในสมัยสุโขทัย

     สำหรับชื่อ “เขื่อนสรีดภงส์” ได้มาจากข้อความในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ที่เขียนไว้ว่า “เบื้องหัวนอนเมืองสุโขไทนี้ มีกุฏิ พิหาร ปู่ครูอยู่ มีสรีดภงส์ มีป่าพร้าว ป่าลาง มีป่าม่วง ป่าขาม มีน้ำโคก มีพระขพุง ผีเทพดาในเขาอันนั้น เป็นใหญ่กว่าทุกผีในเมืองนี้” สรีดภงส์ ในคงหมายสมัยโบราณจึงหมายถึงทำนบชลประทานในสมัยพระร่วงเจ้า จึงนับเป็นเขื่อนกั้นน้ำเป็นระบบชลประทานที่ทันสมัยมากเมื่อ ๗๐๐ กว่าปีที่ผ่านมาแล้ว

สรีดภงส์ มีความสําคัญอย่างไรในสมัยสุโขทัย

     เขื่อนสรีดภงส์หรือทำนบพระร่วง ถือว่าเป็นเขื่อนแห่งแรกของประเทศไทย สร้างเพื่อการชลประทาน มาตั้งแต่สมัยสุโขทัย เป็นลักษณะทำนบคันดิน หรือเรียกว่าเป็นเขื่อนดินก็ได้ สำหรับกั้นน้ำอยู่ระหว่างซอกเขาคือ เขาพระบาทใหญ่ และเขากิ่วอ้ายมา ที่สร้างขึ้นเพื่อกักน้ำ และชักน้ำไปตามคลองส่งน้ำมาเข้ากำแพงเมืองและพระราชวังในสมัยโบราณ บริเวณด้านหน้าปูด้วยหินโดยตลอด มีฝายน้ำล้นและท่อระบายน้ำอยู่ทางทิศใต้ทำนบ สันทำนบมีความกว้าง ๔ เมตร   มีความยาว ๔๗๘ เมตร สูง ๑๐.๕๐ เมตร ระดับน้ำลึกเต็มที่ ๘ เมตร สามารถเก็บน้ำไว้ ๔๐๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร และด้วยกรมชลประทานเข้ามาปรับปรุงตามแนวเขื่อนโบราณ ในปัจจุบันมีน้ำขังตลอดปี ยามน้ำในตระพังต่าง ๆ ภายในเขตกำแพงเมืองลดน้อยลง ก็สามารถปล่อยน้ำจากทำนบนี้เข้าสู่ตระพังในกำแพงเมืองให้มีน้ำบริบูรณ์ตลอดปี

ขอขอบคุณเนื้อเรื่องและภาพถ่ายจาก

     องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) สำนักงานพื้นที่พิเศษอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย - ศรีสัชนาลัย - กำแพงเพชร (อพท.๔)

มิวเซียมในจังหวัดสุโขทัย

สรีดภงส์ มีความสําคัญอย่างไรในสมัยสุโขทัย

18 พฤศจิกายน 2562

16,493

569

สรีดภงส์ มีความสําคัญอย่างไรในสมัยสุโขทัย

28 มิถุนายน 2562

7,620

482

สรีดภงส์ มีความสําคัญอย่างไรในสมัยสุโขทัย

01 มีนาคม 2563

11,243

594

สรีดภงส์ มีความสําคัญอย่างไรในสมัยสุโขทัย

02 กรกฎาคม 2562

14,488

515

สรีดภงส์ มีความสําคัญอย่างไรในสมัยสุโขทัย

25 พฤศจิกายน 2564

9,969

563

สรีดภงส์ มีความสําคัญอย่างไรในสมัยสุโขทัย

สรีดภงส์ มีความสําคัญอย่างไรในสมัยสุโขทัย

28 มิถุนายน 2562

4,203

505

สรีดภงส์ มีความสําคัญอย่างไรในสมัยสุโขทัย

28 มิถุนายน 2562

5,871

271

สรีดภงส์ มีความสําคัญอย่างไรในสมัยสุโขทัย

28 มิถุนายน 2562

4,092

245

          ��մ��� ���� �ӹ������ǧ �繷ӹ��Թ��������ҧ�ҡ��������ҡѺ�Ҿ�кҷ�˭� �ѹ��ɰҹ��� ����¾�͢ع������˧����Ҫ ��ͷ��ӹ�������纡ѡ��Өҡ⫡��ҧ� �������dz�Ҷ֧ 17 ⫡ �������ҧ�к�¹������ҵ�����ͧ ����纡ѡ�����������˭������������੾����й�ӵ���Ѵ��ҧ� ���� ��оѧ �� ��оѧ�Թ ��оѧ�ͧ ��оѧ�� �繵�

สรีดภงส์ มีความสําคัญอย่างไรในสมัยสุโขทัย
เขื่อนสรีดภงค์ หรือทำนบพระร่วง ถือว่าเป็นเขื่อนแห่งแรกของประเทศไทย สร้างเพื่อการชลประทาน มาตั้งแต่สมัยสุโขทัย เป็นลักษณะทำนบคันดิน หรือเรียกว่าเป็นเขื่อนดินก็ได้ สำหรับกั้นน้ำอยู่ระหว่างซอกเขาคือ เขาพระบาทใหญ่ และเขากิ่วอ้ายมา ที่สร้างขึ้นเพื่อกักน้ำ และชักน้ำไปตามคลองส่งน้ำมาเข้ากำแพงเมืองเข้าสระตระพังเงิน ตระพังทอง เพื่อนำไปใช้ในเมือง และพระราชวังในสมัยโบราณ

สรีดภงส์ มีความสําคัญอย่างไรในสมัยสุโขทัย
ปัจจุบันกรมชลประทานร่วมกับกรม ศิลปากรได้ปรับปรุงบูรณะ และซ่อมแซมขึ้นใหม่ ให้มีความสูงและแข็งแรงกว่าเดิมสำหรับใช้กักเก็บน้ำ มีความสูงประมาณ 10 เมตร สามารถกักเก็บน้ำได้ถึง 400,000 ลูกบาศก์เมตร
ความชาญฉลาดของคนสุโขทัยในอดีต จึงรู้จักสร้างคันดินกั้นน้ำขนาดใหญ่ในระหว่างตีนเขากิ่วอ้ายมาถึงตีนเขาพระบาทใหญ่ อันเป็นที่รวมของน้ำจากโซกต่างๆ ตามบริเวณเขาถึง 17 โซก เป็นคันดินสำหรับผันแปรทิศทางของน้ำ ภูเขาทั้งสองลูกนี้ (เขาพระบาทใหญ่และเขากิ่วอ้ายมา) อยู่ในทิวเขาหลวงด้านหลังตัวเมืองเก่าสุโขทัย ลึกเข้าไปในทิวเขานี้เป็นซอกเขาอันเป็นต้นกำเนิดของทางน้ำเรียกว่า "โซกพระร่วงลองขรรค์"
สำหรับชื่อเขื่อนสรีดภงค์ นั้นมีที่มาจาก ข้อความในศิลาจารึกหลักที่ 1 ที่เขียนไว้ว่า "เบื้องหัวนอนเมืองสุโขไทนี้ มีกุฏิ พิหาร ปู่ครูอยู่ มีสรีดภงส มีป่าพร้าวป่าลาง มีป่าม่วง ป่าขาม มีน้ำโคก มีพระขพุง ผีเทพดาในเขาอันนั้น เป็นใหญ่กว่าทุกผีในเมืองนี้" จะเห็นว่ามีคำกล่าวถึง สรีดภงส ซึ่งคงหมายถึงทำนบชลประทานแห่งนี้นั้นเอง

สรีดภงส์ มีความสําคัญอย่างไรในสมัยสุโขทัย
ที่ตั้ง เขื่อนสรีดภงส์ หรือทำนบพระร่วง ตั้งอยู่นอกกำแพงเมืองเก่าสุโขทัย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้  ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย

http://sadoodtasukhothai.com/content/เขื่อนสรีดภงค์-หรือ-ทำนบพระร่วง-เขื่อนโบราณสมัยสุโขทัย

สรีดภงส์คืออะไร มีความสำคัญอย่างไรในสมัยสุโขทัย *

สรีดภงส์หรือทำนบพระร่วง เขื่อนดินขนาดใหญ่ของเมืองสุโขทัย ถือเป็นหัวใจของความอุดมสมบูรณ์ภายในเมืองสุโขทัย โดยเขื่อนดินแห่งนี้ตั้งอยู่นอกกำแพงเมืองสุโขทัยทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ ห่างไปประมาณ ๒.๓ กิโลเมตร บริเวณส่วนหนึ่งของแนวเทือกเขาประทักษ์อันเป็นแหล่งที่อุดมด้วยพืชพรรณไม้ต่าง ๆ รวมทั้งพืชสมุนไพร และเป็นพื้นที่เปรียบ ...

สรีดภงส์ จัดเป็นภูมิปัญญาในสมัยใด

สรีดภงส หรือ ทำนบพระร่วง เป็นทำนบดินกั้นระหว่างเขากิ่วอ้ายมากับเขาพระบาทใหญ่ สันนิษฐานว่า ในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช คือที่ทำนบที่ใช้เก็บกักน้ำจากโซกต่างๆ ตามบริเวณเขาถึง 17 โซก โดยมีลำรางระบายน้ำส่งเข้าตัวเมือง และเก็บกักน้ำไว้ในสระใหญ่และสระเล็กโดยเฉพาะสระน้ำตามวัดต่างๆ หรือ ตระพัง เช่น ตระพังเงิน ตระพังทอง ตระพังสอ ...

ทำนบพระร่วง” มีความสำคัญในเรื่องใด

เขื่อนสรีดภงค์ หรือ ทำนบพระร่วง ตั้งอยู่บริเวณเมืองเก่า เป็นคันดินกั้นระหว่างเขาพระบาทใหญ่และเขากิ่วอ้ายมา สร้างขึ้นเพื่อกักน้ำและชักน้ำไปตามคลองสู่กำแพงเมืองไหลเข้าสระตระพังเงิน ตระพังทอง เพื่อนำไปใช้ในเมืองและพระราชวังในสมัยสุโขทัย ปัจจุบันกรมชลประทานได้บูรณะและซ่อมแซมขึ้นใหม่ สำหรับแหล่งต้นน้ำในอดีตเรียกว่า โซก ( ...

ตระพังมีประโยชน์อย่างไรต่อคนในสมัยสุโขทัย

บริเวณศาสนสถานต่างๆ ภายในเมืองสุโขทัย มักมีพื้นที่ กักเก็บน ้าผิวดินไว้ใช้ในโอกาสต่างๆ จึงปรากฏวัดที่มีตระพัง หลายแห่ง Page 24 การขุดสระหรือตระพังในบริเวณต่างๆ เป็นหนึ่งในการบริหาร จัดการน ้าที่ท าให้ตัวเมืองสุโขทัยมีน ้าใช้ในการอุปโภคบริโภค และหล่อเลี้ยงเมืองตลอดทั้งปี