การบรรเลงเพลงช้า – สองไม้ – เร็ว – ลา เป็นลักษณะของเพลงประเภทใด

�ŧ��

        �ŧ�� ���¶֧ �ŧ����觢�鹵����ѡ�ͧ������� ������㹡�âѺ��ͧ��к���ŧẺ����੾��
���ᵡ��ҧ�ҡ�ŧ�ͧ�ҵ����� �ŧ��������ѡ���ջ���¤���� ����ըѧ��Ф�͹��ҧ���� ��ǹ�˭��յ鹡��Դ�Ҩҡ�ŧ��鹺�ҹ �����ŧ����Ѻ��Сͺ����������ͤ���ʹءʹҹ�����ԧ ����� ����͵�ͧ��è������ŧ����Ѻ��ͧ�Ѻ����� ��л�Сͺ����ʴ��Ф� ����繵�ͧ��д�ɰ�ӹͧ����ըѧ��Ъ�ҡ������ ����ջ���¤��ǡ������ ����������������ͧ�������  �֧��Դ�觷ӹͧ������ǹ��鹨ҡ�ͧ����繷�դٳ ���¡�ŧ��ѵ�ҹ����� �ŧ�ͧ��� ���е�ͧ�觢��¨ҡ�ŧ����ա���˹�� ������¡�ŧ��ѵ����������� �ŧ�������
�ŧ���������ظ�� ���ŧ�ͧ�����Ъ��������ͺ������ ���е�ͧ����ͧ����Ѻ�Ѻ����� ��л�Сͺ����ʴ��Ф� ����繷������ѹ�ҡ����¹��
        �����ѵ���Թ��������·���������ѡ�ҡѹ�ҡ  �������ѡ�Ҩе�ͧ�觡�͹�繡�͹ʴ ���»���ҳ㹻Ѩ�غѹ ��Ҩ���ͧ���ҧ�ŧ�ͧ�������͹�Ѻ�����ͧ��Сͺ����ʴ��Ф� �з�������������ҤԴ��͹����ŧ �Ҩ�����ѹ�����Ҩ����������ҷ���� �֧�Դ�觷ӹͧ�ŧ��ͧ ���¨ҡ�ӹͧ�ŧ�ͧ��鹢����ա��ҵ�� ����Ѻ��㹡����ͧ�ѡ�� ���¡�ŧ��ѵ�ҹ����� �ŧ������  �ѧ��� �ŧ��ѵ�������鹨��դ�������� � ��Ңͧ�ŧ�ͧ��� ����ŧ�ͧ��鹨��դ�������� � ��Ңͧ�ŧ�������  ��ú���ŧ�����͡����ŧ�ŧ�ѵ��˹���ѵ�����§���ҧ���ǡ��� ����͡�ʷ��������� ��Һ���ŧ�Դ��͡ѹ��� � �ѵ�� ���¡��� �ŧ��

�������ͧ�ŧ��  �Ҩ���͡���繾ǡ� ���

�. �ŧ����Ѻ����ŧ�������ǹ� ����ա�âѺ��ͧ  ���ŧ��������ŧ������Ըյ�ҧ� �ŧ����ç ����ŧ˹�Ҿҷ�� �����ŧ����Ѻ���Сͺ�������ҡ������ʴ��������ҧ� �ͧ�����
�. �ŧ����Ѻ�Ѻ��ͧ  ��� �ŧ�����ͧ�����Ѻ���¡�ú���ŧ ���¡��� ��ͧ�觴���� �� �ŧ��Сͺ��âѺ����(��ͧ������) �ŧ�����ͧ�����Ϳѧ����з���� ��ǹ�ҡ�����ŧ������ŧ�Ѻ
�. �ŧ��Сͺ�����  ��� �ŧ��ͧ�������ͧ ����������ӵ��������������ͧ ��ǹ�ҡ�����ŧ�ͧ��� �����������СѺ������������������� �͡�ҡ��� ���ѧ���ŧ˹�Ҿҷ���Сͺ����ʴ��������ҡ�âͧ����ʴ��ա����

        �ŧ�·����Ѻ��ͧ��к���ŧ㹻Ѩ�غѹ��� �շ���ŧ���������ҳ �ŧ���Ѵ�ŧ�ҡ�ͧ��� ����ŧ����觢������ �¡�繻�������ҧ� ����ѡɳ�����Ը��������»����� ����

�ŧ�������

�ŧ�ͧ���

�ŧ������

�ŧ��

�ŧ�Ѻ

�ŧ���

�ŧ�˭�

�ŧ�Ф�

�ŧ�����

�ŧ����

�ŧ��

�ŧ����ͧ

�ŧ�ҧ����ͧ

�ŧ�١���

�ŧ������С���͡����

�ŧ����ç

�ŧ˹�Ҿҷ��

ดนตรีแนวเพลงไทย

11111วิวัฒนาการทางดนตรีไทยและเพลงไทยมีพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง  เริ่มจากการประดิษฐ์เครื่องดนตรีไทย  การประสมวงดนตรีไทยและการขับร้องเพลงไทย  ซึ่งแสดงถึงศิลปะทางดนตรีที่เป็นเอกลักษณ์ของไทยที่เรียกว่า  ดนตรีไทยและเพลงไทย

11111การบรรเลงของวงดนตรีไทยนั้นจะมีทั้งการใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการขับร้อง  ซึ่งมักจะใช้เครื่องดนตรีประกอบจังหวะประเภทตี  เช่น  ฉิ่ง  ฉาบ  กลอง  กรับ  โหม่ง  ใช้ในการกำกับจังหวะกับทำนองเพลง  และการใช้เครื่องดนตรีไทยบรรเลงอย่างเดียวโดยไม่มีการขับร้องที่เรียกว่า  เพลงบรรเลง ซึ่งปรากฏอยู่ในวงดนตรีไทยประเภทต่าง ๆ

การบรรเลงดนตรีไทย  มีรูปแบบการบรรเลงดังนี้

  1. การบรรเลงดนตรีไทยในลักษณะเพลงบรรเลง  คือ  บรรเลงดนตรีไทยอย่างเดียว โดยไม่มีการขับร้อง  โดยอาจบรรเลงเดี่ยวด้วยเครื่องดนตรีชิ้นเดียว  เช่น  การบรรเลงระนาดเดี่ยว  และการบรรเลงหมู่ด้วยเครื่องดนตรีหลายชิ้นในแบบวงดนตรีไทยประเภทต่าง ๆ เช่น  วงปี่พาทย์  วงมโหรี  วงเครื่องสาย  เป็นต้น
  2. การบรรเลงดนตรีไทยประกอบการขับร้อง จะใช้เครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตีประกอบจังหวะ  ได้แก่  กลอง  ฉิ่ง  ฉาบ  กรับและโหม่ง  เพื่อใช้ในการตีกำกับจังหวะให้สอดคล้องและกลมกลืนกันไปกับทำนองเพลงไทยนั้น ๆ เช่น  เพลงลาวดวงเดือน เพลงเขมรไทรโยก  เพลงราตรีประดับดาว  เป็นต้น

ลักษณะของเพลงไทย

เพลงไทย  เป็นบทเพลงที่ประพันธ์ขึ้นเป็นภาษาไทย  ลีลาการขับร้องและการบรรเลงแบบไทย ๆ เพลงไทยแบ่งออกเป็น  2  ประเภท คือ

  1. เพลงบรรเลง  คือ เพลงที่ใช้ดนตรีบรรเลงล้วน ๆ จะเป็นวงดนตรีชนิดใดก็ตาม เพลงประเภทนี้ ได้แก่ เพลงโหมโรง เพลงหน้าพาทย์ เพลงเรื่อง เพลงหางเครื่อง (ท้ายเครื่อง) เพลงลูกบท และเพลงภาษา  เพลงบรรเลงประกอบด้วยเพลงชนิดต่าง ๆ ดังนี้
    • เพลงโหมโรง หมายถึงเพลงที่ใช้เบิกโรง เพื่อเป็นการประกาศให้ผู้คนทราบว่าที่นี่มีงานอะไร และเพื่ออัญเชิญเหล่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายทั้งปวงให้มาชุมนุมในงานเพื่อความเป็นสิริมงคลในงานนั้นอีกด้วย  เพลงโหมโรงแบ่งได้ดังนี้
  1. โหมโรงพิธี
  2. โหมโรงโขนและละคร
    2.1     โหมโรงละคร
    2.2     โหมโรงโขน
  1. โหมโรงเสภา
  2. โหมโรงมโหรี
  3. โหมโรงหนังใหญ่
  • เพลงหน้าพาทย์ คือเพลงที่ใช้บรรเลงประกอบอากัปกิริยาของตัวโขน ละคร หรือใช้สำหรับอัญเชิญพระเป็นเจ้า ฤษี เทวดา และครูบาอาจารย์ทั้งหลายให้มาร่วมในพิธีไหว้ครู และพิธีที่เป็นมงคลต่างๆ อากัปกิริยาของตัวโขนละครต่างๆ นั้น เป็นกิริยาที่มองเห็นได้ เพราะกำลังเกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบัน เช่น กิริยาเดิน วิ่ง นั่ง นอน กิน เศร้าโศก ร้องไห้ ฯลฯ เป็นต้น ส่วนอากัปกิริยาของพระเป็นเจ้า ฤษี และเทพพรหมต่างๆ ที่อัญเชิญมาร่วมในพิธีไหว้ครู และพิธีมงคลต่างๆ นั้นถือว่าเป็นกิริยาสมมุติ เพราะมองไม่เห็น เช่น สมมุติว่าเวลานี้ได้เสด็จแล้ว ก็บรรเลงเพลงหน้าพาทย์รับเสด็จ  อนึ่ง เพลงหน้าพาทย์นั้นถือเป็นเพลงชั้นสูง และมีความศักดิ์สิทธิ์ จึงมักจะบรรเลงตามขนบดั้งเดิม ไม่นิยมดัดแปลงหรือแต่งเดิมอย่างเพลงที่ใช้บรรเลงทั่วไป นอกจากนี้แล้ว เพลงหน้าพาทย์ยังเป็นเพลงที่ใช้บรรเลงเพียงอย่างเดียว ไม่มีบทร้องหรือเนื้อร้องประกอบ
  • เพลงเรื่อง คือเพลงที่บรรเลงเป็นชุด โดยนำเพลงที่มีลักษณะใกล้เคียงกันหลายๆเพลง มาบรรเลงติดต่อกัน เพลงเรื่องต่างจากเพลงตับตรงที่เพลงเรื่องไม่มีเนื้อร้องเลยโครงสร้างของเพลงเรื่องนั้นมักจะเริ่มบรรเลงด้วยเพลงช้า เพลงเร็ว แล้วก็ออกเพลงลาเป็นอันดับสุดท้าย(เพลงลาจะใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์)เพลงเรื่องส่วนใหญ่ใช้ในงานพิธีต่างๆเช่น เพลงเรื่องนางหงส์ใช้ในงานศพ เพลงเรื่องฉิ่งพระฉันใช้บรรเลงตอนพระฉันภัตตาหาร
  • เพลงหางเครื่อง
  • เพลงภาษา คือเพลงไทยที่ได้รับอิทธิพลจากต่างชาติมีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา โดยชื่อเพลงเหล่านี้มักใช้ชื่อตามภาษาเดิม เช่นเพลงเนรปาตี ปะตง มัดตรำ บ้าระบุ่น จนเข้าสู่สมัยกรุงรัตนโกสินทร์จึงมีการนำเพลงเหล่านี้มาปรับปรุงทำนองและตั้งชื่อเพลงที่ปรับปรุงใหม่ด้วยการนำชื่อชนชาติที่เป็นเจ้าของสำเนียงนั้นมานำหน้า เช่น ลาวเจริญศรี เขมรพระประทุม จีนหลวง เป็นต้น  เมื่อเพลงสำเนียงภาษาต่าง ๆ มีมากขึ้น นักดนตรีไทยจึงนำเพลงออกภาษาเล่านั้นมาบรรเลงติดต่อกันเป็นชุด โดยเริ่มจากเพลงสำเนียงไทยแล้วตามด้วยสำเนียงลาว เขมร มอญ พม่า ไปเรื่อย ๆ จนถึงฝรั่งเป็นชาติสุดท้าย ใช้เวลาราว 1 ชั่วโมง นิยมเล่นในงานศพเพื่อให้มีความสนุกสนานเร้าใจ บางครั้งจะมีจำอวดหรือตลกออกมาแสดงท่าทางตามชนชาติต่าง ๆ ด้วย การเล่นนี้เรียกว่าสิบสองภาษาแต่ไม่จำเป็นต้องออกภาษา 12 สำเนียง จะบรรเลงมากกว่าหรือน้อยกว่าก็ได้ เพราะเลข 12 เป็นจำนวนศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของคนโบราณ เช่นใช้ว่าพระเจ้าแผ่นดินมี 12 ท้องพระคลัง พ่อค้าวานิชจาก 12 ชาติภาษา โดยไม่ได้สื่อถึงการใช้เป็นจำนวนนับ
  1. เพลงขับร้อง คือ เพลงที่มีการขับร้องและมีดนตรีบรรเลงประกอบไปด้วย ในภาษานักดนตรีเรียกเพลงขับร้องว่า “เพลงรับร้อง” เพราะใช้ดนตรีรับการขับร้อง หรือ “การร้องส่ง” ก็เรียกกัน เพราะร้องแล้วส่งให้ดนตรีรับ เพลงประเภทนี้ ได้แก่ เพลงเถา เพลงดับ เพลงเกล็ด และเพลงเบ็ดเตล็ด เพลงขับร้องประกอบด้วยบทเพลงต่าง ๆ ดังนี้
    • เพลงเถา เป็นเพลงไทยประเภทหนึ่ง โดยลักษณะการบรรเลงนั้นจะเริ่มจากอัตราจังหวะสามชั้น สองชั้น จนถึงชั้นเดียวตามลำดับ  เพลงเถากำเนิดในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยมีวิวัฒนาการจากการเล่นเสภาและการเล่นสักวา
    • เพลงตับ ในทางดนตรีไทยหมายถึงเพลงที่นำเพลงหลายๆเพลงมาบรรเลงติดต่อกันเป็นชุด โดยมากเป็นเพลงสองชั้น  เพลงตับมี 2 ชนิดคือ  ตับเรื่องยึดตามเนื้อร้องเป็นสำคัญ คือในเพลงตับนั้นจะต้องมีเนื้อหาเดียวกัน ฟังแล้วรู้เรื่องตลอด เช่น ตับนางลอย ตับกากี ตับจูล่ง ตับวิวาห์พระสมุทร เป็นต้น  ยึดตามทำนองเพลงเป็นสำคัญ คือ ในเพลงชุดนั้นจะมีอัตราจังหวะเดียวกันตลอด สามารถบรรเลงสวมต่อกันอย่างสนิท ส่วนเนื้อเรื่องอาจจะไม่ใช่เรื่องเดียวกันก็ได้ เช่น ตับแขกมอญ ตับลมพัดชายเขาเป็นต้น
    • เพลงเกร็ด คือเพลงเบ็ดเตล็ดหรือเพลงเล็ก ๆ ที่ใช้ขับร้องในเวลาอันสั้น  ส่วนใหญ่จะเป็นเพลงง่าย ๆ เน้นความสนุกสนานเพลิดเพลิน  โดยบรรยายความรู้สึกอารมณ์เกี่ยวกับความรัก  และการชมธรรมชาติ  เช่น  เพลงเขมรไทรโยก  เพลงลางดวงเดือน  ซึ่งเพลงเกร็ดส่วนมากจะมีอัตรา  2  ชั้นและ  3  ชั้น