หลักธรรมใดที่ช่วยให้การงานสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

“อิทธิบาท 4”  อันประกอบด้วยแนวปฏิบัติ 4 ข้อ คือ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา เป็นแนวทางสำหรับการใช้ชีวิตให้ประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะในการทำงาน หากสามารถเชื่อมโยงกระบวนการทั้ง 4 ข้อได้ ผลสำเร็จก็อยู่ไม่ไกลเกินเอื้อม

หลักธรรมใดที่ช่วยให้การงานสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

1.ฉันทะ | การมีใจรัก ศรัทธาและเชื่อมั่นต่อสิ่งที่ทำ

หลายคนคงเคยได้ยินประโยคที่ว่า  Where there is the will, there is the way.  ที่ใดมีความปรารถนาอันแรงกล้า ที่นั่นย่อมมีหนทางเสมอ

การสร้างฉันทะ เราต้องเลือกที่จะศรัทธาบางอย่าง ที่สำคัญคือต้องหมั่นตรวจสอบศรัทธานั้น ว่าดีต่อตัวเองและต่อผู้อื่นหรือไม่  หากดีทั้งสองอย่างจึงมุ่งมั่นทำด้วยความตั้งใจ การทำงานด้วยความเชื่อมั่นศรัทธาที่ดี ย่อมเกิดผลสำเร็จที่ดีทั้งต่อตนเอง และสังคม

หลักธรรมใดที่ช่วยให้การงานสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

2.วิริยะ | ความเพียร ความมุ่งมั่นทุ่มเท 

หมายถึงความเพียรพยายามอย่างสูง ที่จะทำตามฉันทะหรือศรัทธาของตัวเอง หากเราไม่มีความเพียร อาจอนุมานได้ว่าเรามีฉันทะหลอกๆ หรือศรัทธาหลอกๆ ทั้งโกหกตัวเองและหลอกผู้อื่น

วิริยะนี้มาคู่กับความอดทนอดกลั้น เป็นความรู้สึกไม่ย่อท้อต่อปัญหาและมีความหวังที่จะเอาชนะอุปสรรคทั้งปวง โดยมีศรัทธาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ นำใจ และเตือนใจ ความวิริยะอุสาหะ จึงเป็นวิถีทางของบุคคลที่กล้าท้าทายต่ออุปสรรคทั้งปวง เพื่อเป้าหมายคือ ความสำเร็จนั่นเอง

หลักธรรมใดที่ช่วยให้การงานสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

3.จิตตะ | ใจที่จดจ่อและรับผิดชอบ

เมื่อมีใจที่จดจ่อแล้วก็จะเกิดความรอบคอบตาม คำนี้สำคัญมากในปัจจุบัน เพราะสังคมซับซ้อน มีสิ่งใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย ทำให้บางคนไม่รู้จะทำอะไรก่อน ไม่สามารถมีจิตจดจ่ออยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้นาน ผลคือ ทำอะไรก็ไม่ดีสักอย่าง ทำผิดๆ ถูกๆ อยู่อย่างนั้น

อีกสิ่งหนึ่งที่สำคัญคือ ความรับผิดชอบ เมื่อกระทำการสิ่งใดด้วยจิตจดจ่อแล้ว ต้องรับผิดชอบในสิ่งที่ทำด้วย จึงเรียกว่าเป็นผลสำเร็จดีงามตามแบบอย่างของคุณธรรม ตามหลักศาสนาและจริยธรรมของสังคม

หลักธรรมใดที่ช่วยให้การงานสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

4.วิมังสา | การทบทวนในสิ่งที่ได้คิดได้ทำมา

สิ่งที่ทำอันเกิดจากการมีใจรัก (ฉันทะ) แล้วทำด้วยความมุ่งมั่น (วิริยะ) อย่างใจจดใจจ่อและรับผิดชอบ (จิตตะ) โดยใช้วิจารณญาณอย่างรอบรู้และรอบคอบ จะต้องมีกระบวนการสุดท้ายคือ การทบทวนตัวเอง และองค์กร ว่าสิ่งที่ได้คิดได้ทำเกิดผลดีผลเสียอย่างไร ทั้งที่เป็นเรื่องส่วนตัวของเราเองและเป็นเรื่องที่ร่วมคิดร่วมทำกับคนอื่น เพื่อปรับปรุงปรับแก้ไขให้ดียิ่งขึ้น

การสรุปบทเรียนนั้น คนส่วนใหญ่ยังเข้าใจว่า สรุปเมื่องานเดินทางมาได้ครึ่งทางหรือสิ้นสุดการทำงาน หรือการทำแผนงานรายไตรมาส คือทุก 3 เดือน แต่จริงๆ แล้วการสรุปบทเรียนควรจะทำให้อย่างสม่ำเสมอ อาจเป็นการพูดคุยกันหลังเสร็จสิ้นการทำกิจกรรมทุกครั้ง หรือหลังเลิกงานแต่ละวัน หรือใช้วิธีการแบบไม่เป็นทางการ เพื่อสรุปบทเรียนของแต่ละคนให้ได้มากที่สุด

ดังนั้น “อิทธิบาท 4” จึงมีความหมายกับคนรุ่นใหม่ที่ต้องการจะเดินทางไปในสู่ความสำเร็จในชีวิตและการงาน โดยเฉพาะในโลกปัจจุบันเป็นโลกที่ฉาบฉวยและวุ่นวาย ทำให้เราต้องฝึกฝนตนเอง เพื่อจะเข้าใจและเข้าถึงหลักธรรมที่ก่อกำเนิดการพัฒนาตนเองอย่างแท้จริง เพื่อพัฒนาองค์กรตลอดจนประเทศชาติให้เจิญก้าวหน้า

วิธีง่าย ๆ ค่ะ แค่จัดการกับเรื่องเครียดหรือปัญหาในการทำงานเหล่านั้น ด้วยการนำหลักธรรมที่เราได้เรียน ได้รู้ตั้งแต่ตอนเรียนมาปรับใช้ แล้วจะเอาหลักธรรมมาปรับใช้ในการทำงานอย่างไรมาดูกันค่ะ

          หลักธรรมที่สามารถนำมาปรับใช้ในเรื่องของการทำงานอย่างไรให้ประสบความสำเร็จได้ ก็คือ หลักธรรมในอิทธิบาท 4 ค่ะ

1. ฉันทะ

          เป็นความพอใจในงานที่ทำ หรือรักงานที่ทำ ให้คุณลองสำรวจตัวเองว่า งานที่กำลังทำอยู่นั้นเป็นงานที่คุณรัก ที่คุณชอบ และพอใจที่จะทำหรือไม่ คุณสนุกกับการแก้ปัญหาต่าง ๆ ในงานที่คุณทำอยู่หรือเปล่า หรือคุณอึดอัด เครียดกับงาน คิดแก้ปัญหาในงานของคุณไม่ได้ ถ้าเป็นอย่างหลัง งานที่คุณทำในตอนนี้อาจจะไม่ตรงกับความรู้ความสามารถของคุณหรือความถนัดของคุณก็ได้นะคะ ฉะนั้น คุณควรหาทางปรับเปลี่ยนงานให้ตรงกับความสามารถหรือความถนัดของคุณ แต่ถ้าคุณอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่สามารถเปลี่ยนงานได้ การปรับตัวให้เข้ากับงานนั้นโดยการพยายามทำความเข้าใจกับงาน หาความรู้เกี่ยวกับงานที่คุณต้องทำนี้เพิ่มเติม น่าจะเป็นวิธีที่เป็นไปได้ ที่จะทำให้คุณชอบงาน และพอใจที่จะทำงานนั้น ๆ มากขึ้นค่ะ

2. วิริยะ

          เป็นความขยันหมั่นเพียร หรือความเพียรพยายามในการทำงาน ตัวคุณทำงานอย่างเต็มที่แล้วหรือยัง คุณพยายามแก้ไขปัญหาในการทำงานแค่ไหน ถ้าคุณยังรู้สึกว่าตัวเองยังไม่เต็มที่กับการทำงานเท่าที่ควร หรือประสิทธิภาพในการทำงานของตัวเองยังไม่เหมาะกับงานที่คุณต้องรับผิดชอบ ฉะนั้น คุณควรพยายามเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของตัวเอง ด้วยการแสวงหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน และเพิ่มพูนทักษะในการทำงานของคุณอยู่เสมอค่ะ

3. จิตตะ

หลักธรรมใดที่ช่วยให้การงานสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
          เป็นความเอาใจใส่ในงาน คุณเป็นหนึ่งที่ทำงานที่ได้รับมอบหมายได้ไม่ดีเท่าที่ควรหรือเปล่า งานของคุณยังมีข้อบกพร่อง หรือข้อผิดพลาดอยู่เรื่อย ๆ หรือไม่ ถ้าใช่ คุณควรนำหลักธรรมข้อนี้มาปรับใช้ค่ะ คุณควรจะเป็นคนทำงานที่เอาใจใส่ในงาน มีความรอบครอบ และมีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย

4. วิมังสา

          เป็นการใช้ปัญญาตรวจสอบงานด้วยเหตุและผล นั่นก็คือเมื่อต้องเจอกับปัญหาในที่ทำงาน หรือในการทำงาน คนทำงานบางคนอาจจะเผลอใช้อารมณ์ในที่ทำงาน ซึ่งนั่นไม่ใช่วิธีที่ถูก แต่หลักธรรมข้อนี้จะสามารถนำมาปรับใช้ได้ คุณต้องใช้เหตุและผลในการวิเคราะห์และแก้ปัญหา  คุณก็จะเจอวิธีแก้ปัญหาในการทำงานได้ในที่สุด

          บางคนอาจจะคิดว่าหลักธรรมเข้าใจยาก จะเอามาปรับใช้กับชีวิตประจำวัน หรือปรับใช้ในการทำงานอย่างไร บทความนี้เป็นคำตอบค่ะ คนทำงานทุกคนสามารถนำเอาหลักธรรมอิทธิบาท 4 นี้มาใช้ในการทำงาน เพื่อให้การทำงานของคุณประสบความสำเร็จได้ค่ะ

New jobs every day means new opportunities. Don't miss out. Create a Job Alert

เรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

ศิลปะในการแก้ปัญหาของคนทำงาน

ทำงานภายใต้ความกดดันอย่างไรให้มีความสุข

ทำงานประสบความสำเร็จ  ทำงานอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ  ทำงานให้ประสบความสำเร็จ  ประสบความสำเร็จในการทำงาน

บทความยอดนิยม

Writing Research Papers – The Basics

Research papers are written to prove a student’s academic...

Three Distinct Types of Essays to Choose From When Writing Your Essay

An essay is usually, in essence, a composed piece...

หลักธรรมใดที่ช่วยให้การงานสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

ทำไมงานใหม่ถึงเป็นอีกหนึ่งทางออกของเงินเฟ้อที่ดีที่สุด?

ถ้าใครได้มีโอกาสอ่านหรือฟังข่าวเศรษฐกิจหรือได้ฟังผ่าน ๆ จากการพูดคุยในวงสนทนากับเพื่อนหรือสไลด์ข่าวผ่าน ๆ ในโซเชียลมีเดี...

คุณธรรมข้อใดที่จะช่วยทำให้งานสำเร็จลุล่วง

สัจจะ คือ ความจริง ซื่อตรง ซื่อสัตย์ จริงใจ พูดจริง ทำจริง ทมะ คือ การฝึกฝน การข่มใจ ฝึกนิสัย ปรับตัว รู้จักควบคุมจิตใจ ฝึกหัดดัดนิสัย แก้ไขข้อบกพร่อง ปรับปรุงตนให้เจริญก้าวหน้าด้วยสติปัญญา ขันติ คือ ความอดทน ตั้งหน้าทำหน้าที่การงานด้วยความขยัน หมั่นเพียร เข้มแข็ง ทนทาน ไม่หวั่นไหว มั่นในจุดหมาย ไม่ท้อถอย

หลักธรรมใดที่ฝึกฝนให้บุคคลได้รับความสำเร็จในการเรียน

หลักอิทธิบาท 4 เป็นหลักธรรมหรือวิธีการที่คนจะพึงใช้เพื่อสร้างความสำเร็จในชีวิตใช้ เป็นแนวทางในการเรียน และการทำงานให้ประสบความสำเร็จ มีแนวปฏิบัติ 4 ข้อ คือ ฉันทะ (ความต้องการที่จะทำ ใฝ่ใจรักจะทำสิ่งนั้นอยู่เสมอ และปรารถนาจะทำให้ได้ผลดียิ่งๆ ขึ้นไป) วิริยะ (ความเพียร ขยันหมั่นประกอบสิ่งนั้นด้วยความพยายาม เข้มแข็ง อดทน ...

ข้อใดเป็นหลักธรรมที่ควรบรรลุ

3. นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) นิโรธ หมายถึงธรรมที่ว่าด้วยการดับทุกข์ หมายถึง การดับหรือการละ ตัณหา เมื่อความทุกข์เกิดจากสาเหตุ ถ้าเราดับสาเหตุเสีย ความทุกข์นั้นย่อมดับไป ด้วย สภาพที่ความทุกข์หมดสิ้นไปหรือปราศจากทุกข์เป็นเป้าหมายของการปฏิบัติ ธรรมของชาวพุทธ นิโรธจึงเป็นธรรมที่ควรบรรลุ ที่เราจะได้ศึกษา คือ หลักธรรม สุข 2.

คุณธรรมหรือหลักธรรมใดบ้างที่สอดคล้องกับการปฏิบัติตนเพื่อการอยู่ร่วมกันของสมาชิกในครอบครัวอย่างมีความสุข

สังคหวัตถุ 4 หมายถึง เครื่องมือ หรือหลักธรรม 4 ประการ ที่ช่วยประสานคนหมู่มากให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข เป็นเครื่องช่วยขจัดความขัดแย้งที่เกิดขึ้นทำให้คนอยู่ร่วมกันด้วยความรัก สามารถนำไปใช้ได้ตั้งแต่ระดับครอบรัวจนถึงระดับสังคม เป็นธรรมที่ก่อให้เกิดความผาสุกในบ้านเมือง และประเทศชาตินั่นเอง