Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

ประเภทของเบรกเกอร์อากาศ (ACB):

  1. Plain Break sort Air breaker หรือ Cross-Blast ACB
  2. Magnetic Blowout sort เบรกเกอร์อากาศ
  3. เบรกเกอร์รางลม
  4. เบรกเกอร์แอร์บลาสต์

Plain Break sort เบรกเกอร์อากาศ (ACB)

เบรกเกอร์ติดตั้งช่องปิดหน้าสัมผัส ห้องนี้คิดว่าเป็น "รางโค้ง" ส่วนโค้งถูกสร้างขึ้นเพื่อขับเคลื่อนภายใน รางโค้งจะต้องช่วยในการระบายความร้อน รางโค้งเกิดจากผลิตภัณฑ์บางชนิดที่ทนไฟ ผนังด้านในของรางโค้งถูกสร้างขึ้นในลักษณะที่แท้จริงดังกล่าว ซึ่งไม่ได้บังคับให้ส่วนโค้งเข้าใกล้กันเท่านั้น แต่สามารถขับไปยังช่องแคบที่ฉายบนผนังรางโค้งได้

รางโค้งถูกแบ่งออกเป็นช่องเล็กๆ ที่หลากหลาย โดยการแยกเหยื่อออกเป็นไบเมทัลลิก แผ่นแยก bimetallic เป็นตัวแยกส่วนโค้งและทุกช่องเล็ก ๆ จะกลายเป็นรางโค้งขนาดเล็ก อาร์คเริ่มต้นจะแบ่งออกเป็นส่วนโค้งต่างๆ ซึ่งอาจทำให้เกิดแรงดันอาร์คทั้งหมดเหนือแรงดันของระบบ สิ่งเหล่านี้มักจะเป็นทางเลือกที่ดีกว่าในการใช้งานไฟฟ้าแรงต่ำ

Magnetic Blowout sort เบรกเกอร์อากาศ

เซอร์กิตเบรกเกอร์เซอร์กิตเบรกเกอร์แบบแม่เหล็กช่วยจัดการแม่เหล็กทันทีที่อาร์คทำให้เกิดการดับของอาร์คภายในผลิตภัณฑ์ การสูญพันธุ์ของส่วนโค้งถูกควบคุมโดยการสร้างการใช้การค้าที่เป็นแม่เหล็กโดยสิ่งนี้ในคอยล์ระเบิดที่เชื่อมต่อด้วยมอเตอร์ที่ไม่คู่ขนานด้วยวงจรที่ถูกขัดจังหวะ ขดลวดเหล่านี้ถูกตั้งข้อสังเกตว่า "ระเบิดขดลวด" ฟลักซ์ไม่ได้รับตำแหน่งและดับส่วนโค้งที่สร้างขึ้นภายในเบรกเกอร์ แต่มันเคลื่อนส่วนโค้งเข้าไปในรางที่ใดก็ตามที่ส่วนโค้งถูกยืดออก ถูกทำลายและทำให้เย็นลง เซอร์กิตเบรกเกอร์เหล่านี้ใช้ปริมาณสูงสุด 11kV

เบรกเกอร์รางลม

เบรกเกอร์ประเภทนี้อาจใช้สำหรับแรงดันระบบ 245 กิโลโวลต์ 420 กิโลโวลต์และอีกมาก

วงจรลมที่ระเบิดได้แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มเพิ่มเติม:

  1. เบรกเกอร์ระเบิดตามแนวแกน
  2. ระเบิดตามแนวแกนด้วยการสัมผัสเลอะเทอะที่กำลังดำเนินอยู่

แอร์บลาสต์เซอร์กิตเบรกเกอร์

ผู้ติดต่อที่กำลังโอนผู้ติดต่อ มีปากหัวฉีดอยู่ในการสัมผัสคงที่ในสภาวะปกติที่ปิดอยู่ เมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้น แรงดันสูงจะเข้าสู่ห้องเพาะเลี้ยง อากาศแรงดันสูงจะต้องเคลื่อนผ่านแรงดันปากหัวฉีดเพียงพอที่จะคงไว้

คำจำกัดความ

circuit breaker หมายถึง อุปกรณ์ที่ทำงาน เปิดและปิดวงจรไฟฟ้า แบบไม่อัตโนมัติ แต่สามารถเปิดวงจรได้อัตโนมัติ ถ้ามีกระแสไหลผ่าน เกินกว่าค่าที่กำหนด โดยไม่มีความเสียหายเกิดขึ้น

Circuit Breaker แรงดันต่ำ

หมายถึง breaker ที่ใช้กับแรงดันน้อยกว่า 1000 volt แบ่งออกได้หลายชนิด ได้แก่

Mold case circuit breaker

หมายถึง breaker ที่ถูกห่อหุ้มมิดชิดโดย mold 2 ส่วน มักทำด้วย phenolic ซึ่งเป็นฉนวนไฟฟ้าสามารถทนแรงดันใช้งานได้ breaker แบบนี้ มีหน้าที่หลัก 2 ประการคือทำหน้าที่เป็นสวิทซ์เปิด-ปิดด้วยมือ และเปิดวงจรโดยอัตโนมัติ เมื่อมีกระแสไหลเกิน หรือเกิดลัดวงจร โดย breaker จะอยู่ในภาวะ trip ซึ่งอยู่กึ่งกลางระหว่างตำแหน่ง ON และ OFF เราสามารถ reset ใหม่ได้โดย กดคันโยกให้อยู่ ในตำแหน่ง OFF เสียก่อน แล้วค่อยโยกไปตำแหน่ง ON การทำงานแบบนี้เรียกว่า quick make , quick break ลักษณะของ breaker แบบนี้ที่พบเห็นโดยทั่วไปคือ

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก
Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก
Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

molded case circuit breaker ที่พบบ่อยในท้องตลาดมี 2 ประเภทคือ Thermal magnetic CB. และ Solid state trip CB.

Thermal magnetic molded case circuit breaker

breaker แบบนี้มีส่วนประกอบสำคัญ 2 ส่วนคือ

molded case circuit breaker ที่พบบ่อยในท้องตลาดมี 2 ประเภทคือ Thermal magnetic CB. และ Solid state trip CB.

Thermal magnetic molded case circuit breaker

breaker แบบนี้มีส่วนประกอบสำคัญ 2 ส่วนคือ

  • Thermal unit ใช้สำหรับปลดวงจรเมื่อมีกระแสไหลเกินอันเนื่องมาจากการใช้โหลดมากเกินไป ลักษณะการทำงานดูได้จากรูป

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

เมื่อมีกระแสเกินไหลผ่านโลหะ bimetal (เป็นโลหะ 2 ชนิด ที่มีสัมประสิทธิ์ ทางความร้อน ไม่เท่ากัน) จะทำให้ bimetal โก่งตัว ไปปลดอุปกรณ์ทางกล และทำให้ CB. ตัดวงจร เรียกว่าเกิดการ trip การปลดวงจรแบบนี้ ต้องอาศัย เวลาพอสมควร ขึ้นอยู่กับ กระแสขณะนั้น และความร้อน ที่เกิดขึ้นจนทำให้ bimetal โก่งตัว

  • Magnetic unit ใช้สำหรับปลดวงจรเมื่อเกิดกระแสลัดวงจรหรือมีกระแสค่าสูงๆ ประมาณ 8-10 เท่าขึ้นไป ไหลผ่าน กระแสจำนวนมากจะทำให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มสูง ดึงให้อุปกรณ์การปลดวงจรทำงานได้ การตัดวงจรแบบนี้เร็วกว่าแบบแรกมาก โอกาสที่ breaker จะชำรุดจากการตัดวงจรจึงมีน้อยกว่า

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

  • Solid state trip or Electronic trip molded case circuit breakerเป็น breaker ชนิดหนึ่งที่มีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทำหน้าที่วิเคราะห์กระแสเพื่อสั่งปลดวงจร

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

จาก diagram จะเห็นว่ามี CT อยู่ภายในตัว breaker ทำหน้าที่ แปลงกระแส ให้ต่ำลง ตามอัตราส่วนของ CT และมี microprocessor คอยวิเคราะห์กระแส หากมีค่าเกินกว่าที่กำหนด จะสั่งให้ tripping coil ซึ่งหมายถึง soliniod coil ดึงอุปกรณ์ทางกลให้ CB. ปลดวงจร

ที่ด้านหน้าของ breaker ชนิดนี้จะมีปุ่มปรับค่ากระแสปลดวงจร , เวลาปลดวงจร และอื่นๆ นอกจากนี้ยังสามารถติดตั้ง อุปกรณ์เสริมที่เรียกว่า amp meter & fault indicator ซึ่งสามารถแสดงสาเหตุการ fault ของวงจรและค่ากระแสได้ ทำให้ทราบสาเหตุของการปลดวงจรได้

โครงสร้างและส่วนประกอบของเบรคเกอร์

  • name plate ปรากฏที่ด้านหน้าหรือด้านข้างของเบรคเกอร์ โดยมักกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับเบรคเกอร์นั้นๆ เช่น จำนวนขั้ว, แรงดัน, กระแส ในส่วนของกระแสจะระบุ 3 จำนวน ประกอบด้วย ampere trip , ampere frame และ interrupting capacity
  • arcing chamber บางครั้งเรียกว่า arc chute มีลักษณะเป็นแผ่นโลหะวางซ้อนกันเป็นชั้นๆ อยู่เหนือหน้าสัมผัส (contact) ของเบรคเกอร์ ทำหน้าที่ช่วยดับอาร์ก
  • หน้าสัมผัส (contact) นิยมทำด้วยทองแดงเคลือบผิวหน้าด้วยเงินเพื่อให้ทนต่อเปลวอาร์กได้ดี ประกอบด้วย fixed contact และ movable contact
  • กลไกตัดวงจร สำหรับเบรคเกอร์ขนาดเล็กทั่วไป แบ่งเป็นอาศัยความร้อนและอาศัยอำนาจแม่เหล็ก แบบอาศัยความร้อน ใช้หลักการโก่งตัวของโลหะ bimetal เพื่อปลดกลไก ส่วนแบบอาศัยอำนาจแม่เหล็ก ใช้แรงดึงดูดของแม่เหล็กไฟฟ้าของขดลวด ที่กระทำต่อแผ่นโลหะ เพื่อปลดกลไก

การวิเคราะห์กระแสของ Electronic trip CB. มี 2 วิธีคือ

  • Peak sensing เป็นการบันทึกค่ากระแสสูงสุด ( Ipk) ที่ไหลผ่านเบรคเกอร์แล้วนำมาคำนวณหากระแส RMS แต่วิธีนี้จะวัดได้ถูกต้อง เมื่อสัญญาณคลื่นกระแสเป็น sinusoidal เท่านั้น
  • True RMS sensing วิธีนี้ใช้การ sampling สัญญาณของกระแสที่ไหลผ่านเบรคเกอร์เป็นช่วงๆ เพื่อหาค่า RMS ในแต่ละช่วงแล้วนำมาหาค่าเฉลี่ย เป็นกระแส RMS ดังรูป ซึ่งสามารถนำไปใช้กับรูปคลื่นกระแสที่ไม่เป็น sinusoidal เช่นอุปกรณ์ที่ให้กำเนิด harmonic จำพวกเครื่องเชื่อมไฟฟ้า , มอเตอร์ , converter เป็นต้น

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

   ตัวอย่างเปรียบเทียบการทำงานของเบรคเกอร์ที่วิเคราะห์กระแสแบบ True RMS sensing กับ Peak sensing

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

ถ้ารูปคลื่นมีลักษณะดังรูป และหากใช้ CB. ชนิด Peak sensing   จะอ่านค่าได้มากกว่า ความเป็นจริง ทำให้ CB. ตัดวงจรเร็วเกินไป

ถ้ารูปคลื่นมีลักษณะดังรูป และหากใช้ CB. ชนิด Peak sensing    จะมองเห็นกระแสต่ำกว่า ความเป็นจริง ทำให้เบรคเกอร์ตัดวงจรช้า หรือไม่ตัดวงจร

 !!!-------------------------------------------!!!

Air circuit breaker

เป็นเบรคเกอร์ที่ใช้กับแรงดัน <1000 volt มีขนาดใหญ่ใช้เป็น main CB. โดยทั่วไปมีพิกัดกระแสตั้งแต่ 225-6300 A. และมี interrupting capacity สูงตั้งแต่ 35-150 KA. โครงสร้างทั่วไปทำด้วยเหล็กมีช่องดับอาร์ก (Arcing chamber) ที่ใหญ่โตแข็งแรงเพื่อให้สามารถรับกระแสลัดวงจรจำนวนมากได้ Air CB. ที่มีขายในท้องตลาด  มักใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ตรวจจับ และวิเคราะห์กระแสเพื่อสั่งปลดวงจร 

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

สำหรับ LV Air CB. ยี่ห้อ MERLIN GERIN ได้แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ให้เหมาะสมกับงานแต่ละประเภทคือ

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก
N1          : standard
Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก
H1 , H2 : high performance
Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก
 L1           : current limiting

แต่ละประเภทจะมีค่า breaking capacity ที่แตกต่างกันเช่น

Breaking Capacity ( KA rms , Ics = Icu, 220/415 V according to IEC 947-2 )

current rating (A)

800-1600

2000/2500

3200

4000

5000

6300

Type

N1

40

55

-

-

-

-

H1

65

75

75

75

100

100

H2

100

100

100

100

125

125

L1

130

130

-

-

-

-

Degree of pollution (IEC947-2)

IV

IV

IV

IV

IV

IV

Air CB. มี 2 ชนิดคือ Fixed type และ Draw out type

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก
 Air CB. แบบ Drawout type

ป็นเบรคเกอร์ชนิดชักออก ซึ่งติดตั้งบนฐานรางเลื่อน สามารถถอดเปลี่ยน/ซ่อม ได้สะดวกรวดเร็ว เบรคเกอร์อีกชนิดหนึ่ง คือ direct current breaker มีใช้กับชนิด draw out เท่านั้น เพื่อขยายความสามารถการทนกระแสของเบรคเกอร์ มีลักษณะดังรูป

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก
Draw out type

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก
Direct current CB

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก
 Air CB. แบบ Fixed type

เป็นเบรคเกอร์ชนิดยึดติดกับที่ ซึ่งที่จริงแล้วก็คือส่วนที่เคลื่อนที่ ของเบรคเกอร์แบบ drawout โดยเพิ่มปีกโลหะ (fixing bracket) ประกบด้านข้างทั้ง 2 ด้าน มีลักษณะดังรูป

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก
ส่วนประกอบของ Air CB

ส่วนประกอบที่สำคัญของ Air CB. ได้แก่

  •   Arc chute cover เป็นฝาครอบ arc chute
  •   Auxiliary terminal shield
  •   Auxiliaries connection block
  •   Fixed integral enclosure
  •   Safety shutters ม่านกั้น contact ซึ่งเป็นส่วนที่ติดอยู่กับฐานของเบรคเกอร์ (fixed portion) แบบ draw out จะปิดอัตโนมัติ เมื่อ contact ถูกแยกออกจากกัน
  •   Arc chute เป็นช่องดับอาร์ก ติดตั้งไว้บริเวณหน้าสัมผัสของเบรคเกอร์
  •   Remote control voltage release ทำหน้าที่ควบคุมการปลด-สับ เบรคเกอร์ โดยจะสั่งปลดหน้าสัมผัส ถ้าแรงดันที่ release ได้รับจากแหล่งจ่ายมีค่าต่ำกว่า rated voltage ระหว่าง 35% - 70% ถ้า voltage release ไม่ได้รับแรงดันที่ถูกต้อง จะไม่สามารถสั่งสับเบรคเกอร์ได้ จนกว่าแรงดันที่ได้รับจะมีค่าตั้งแต่ 85% ของ rated voltage ขึ้นไป  และเพื่อป้องกันเบรคเกอร์ trip จากภาวะ transients ที่อาจทำให้แรงดันตกชั่วขณะ ก็จะมีการติดตั้ง time delay ไว้ภายใน (built-in time delay)
  •   Motor for electrical charging of stored energy mechanism ติดตั้งเพิ่มเพื่อให้สามารถ charge สปริงแบบ manual ได้ด้วย ในชุดนี้ประกอบด้วย
    • gear motor
    • closing release
    • shunt release หรือ undervoltage release
    • "springs charged" limit switch changeover contact
  • Control unit ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของเบรคเกอร์ รวมทั้งสามารถปรับตั้งค่าต่างๆ ได้เช่น
    • short time protection
    • long time protection
    • earth fault protection เป็นต้น นอกจากนี้ยังใช้แสดงผลปริมาณทางไฟฟ้าเช่น กระแส, แรงดัน, เพาเวอร์แฟคเตอร์, กำลังไฟฟ้า หรือวัดกระแส fault ได้ด้วย
  • Front cover เป็นฝาครอบด้านหน้าของ Air circuit breaker

ภาพแสดงส่วนประกอบของ Air CB. (click to enlarge)

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

Draw out Air CB.

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

Control unit

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

Safety shutters

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

Auxiliaries connection block

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

Voltage release

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

Voltage release accessible from the front

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

Fixed integral enclosure

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

Motor for electrical charging of stored energy mechanism

 !!!-------------------------------------------!!!

Miniature circuit breaker

เป็นเบรคเกอร์ขนาดเล็ก ใช้ติดตั้งเป็นอุปกรณ์ป้องกันร่วมกับ แผงจ่ายไฟฟ้าย่อย (Load center) หรือ แผงจ่ายไฟฟ้าประจำห้องพักอาศัย (consumer unit) เบรคเกอร์ชนิดนี้ไม่สามารถปรับตั้ง ค่ากระแสตัดวงจรได้ มีทั้งแบบ 1 pole , 2 pole และ 3 pole อาศัยกลไกการปลดวงจรทั้งแบบ thermal และ magnetic มีรูปร่างทั่วไปดังรูป

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก
Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก
Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

พิกัดแรงดันของเบรคเกอร์ชนิดนี้จะอยู่ที่ 240/415 Vac. มี Ampere trip สูงสุด 100 A. และมี interrupting capacity ตั้งแต่ 5 KA. ขึ้นไป และเนื่องจากเป็นเบรคเกอร์ขนาดเล็กจึงมักใช้ป้องกันวงจรย่อยเช่น วงจรแสงสว่าง วงจรเต้ารับ หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็กทั่วไป นอกจากนี้ยังมีรุ่นที่สามารถป้องกันไฟฟ้าดูดได้ด้วย เรียกว่า Earth leakage circuit breaker (ELCB)

Earth leakage circuit breaker (ELCB)

เป็น miniature CB. ชนิดหนึ่งซึ่งมีอุปกรณ์เสริม สำหรับตรวจจับกระแสว่า รั่วออกจากวงจรเกินกว่าค่าที่กำหนดหรือไม่ ถ้าเกินค่าที่ตั้งไว้ ก็จะสั่งปลดวงจร โดยกระแสรั่วไหลจะกำหนดตายตัว ไม่สามารถปรับตั้งได้เช่น 10 mA. , 15 mA. , 30 mA. เป็นต้น ตัวอย่างของ ELCB คือ

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

วงจรการทำงานของ ELCB แสดงดังรูป

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

พิกัดกระแสและผลกระทบ มีหลายกรณีประกอบด้วย

ผลกระทบจากความถี่

พิจารณาได้เป็น 2 กรณีคือ

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก
 กรณี Thermal Unit

ความถี่ไม่เกิน 50/60 Hz. ไม่จำเป็นต้องพิจารณา เนื่องจากมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงค่ากระแสน้อยมาก
ความถี่เกินกว่า 50/60 Hz. จำเป็นต้องคิด โดยเฉพาะการใช้งานที่ความถี่สูงๆ หลายร้อย Hz. ซึ่งความถี่สูง จะมีผลให้ความสามารถ ในการนำกระแสลดลง

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก
 กรณีของ Magnetic Unit

เมื่อความถี่สูงเกินกว่า 50/60 Hz. กระแสที่ทำให้ magnetic unit ทำงานจะมีค่าสูงกว่าปกติ

ทั้งสองกรณี สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จาก คู่มือหรือ catalog ของบริษัทนั้นๆ

ผลกระทบจากอุณหภูมิ

พิจารณาได้เป็น 2 กรณีคือ

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก
 กรณี Thermal-Magnetic Trip Molded case circuit breaker

  • อุณหภูมิระหว่าง -10 - 24 องศาเซลเซียส เบรคเกอร์จะรับกระแสได้มากกว่าค่าที่ระบุบน name plate ทำให้การ trip ผิดพลาด นั่นคือเมื่อมีโหลดเกินพิกัด เบรคเกอร์จะไม่ปลดวงจร การนำเบรคเกอร์ไปใช้งานในที่ ที่มีอุณหภูมิต่ำต้องพิจารณาให้รอบคอบ

  • อุณหภูมิระหว่าง 25 - 40 องศาเซลเซียส กระแสพิกัดจะเป็นไปตามค่าที่ระบุบน name plate ของเบรคเกอร์

  • อุณหภูมิระหว่าง 41 - 60 องศาเซลเซียส เบรคเกอร์ที่ทำงานอยู่ในช่วงอุณหภูมิดังกล่าวจะทำให้กระแสพิกัดลดลงจากค่าที่ระบุ บน name plate ซึ่งทำให้เบรคเกอร์ปลดวงจรก่อนกำหนด

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก
 กรณีของ Magnetic Trip Molded case circuit breaker

โดยทั่วไปแล้วบรคเกอร์แบบนี้สามารถทำงานได้ระหว่าง -10 - 60 องศาเซลเซียส ถ้าอุณหภูมิต่างไปจากนี้ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ก็อาจเสียหาย และทำให้เบรคเกอร์ตัดวงจรผิดพลาดได้

ทั้งสองกรณีสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากคู่มือหรือ catalog ของบริษัทนั้นๆ

ผลกระทบจากความสูงของพื้นที่

เมื่อนำเอาเบรคเกอร์แบบ Thermal-Magnetic Trip MCCB. ไปใช้ในพื้นที่ ที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลมากๆ จะต้องทำการปรับตั้งค่า กระแสและแรงดันพิกัดใหม่ เนื่องจากพื้นที่ที่มีความสูงมากๆ ทำให้การระบายความร้อนยากขึ้น เพราะเบรคเกอร์แบบนี้ อาศัยอากาศเป็นตัวกลางช่วยดับอาร์ก เมื่อค่าไดอิเล็กตริกของอากาศลดลงตามความสูงที่เพิ่มขึ้น จึงทำให้กระแสและแรงดันพิกัดลดต่ำลงซึ่งสามารถดูได้จากตาราง

Altitude Multiplier

Altitude

current

voltage

0 - 6600 ft. 1 1
6600 - 8500 ft .99 .95
8500 - 13000 ft .96 .80
13000 - 30000+ ft. .75 .40

ค่าเหล่านี้อาจแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับข้อมูลของแต่ละบริษัท

ผลกระทบจากการใช้กับไฟฟ้ากระแสตรง

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก
 กรณี Thermal Unit
     ไม่มีผลกระทบแต่อย่างใด

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก
  กรณีของ Magnetic Unit
     จะมีผลกระทบเนื่องจาก characteristic curve ของส่วน magnetic ใช้ค่า RMS ของไฟฟ้ากระแสสลับ การนำมาใช้กับไฟฟ้ากระแสตรง ต้องใช้ตัวคูณเพื่อแก้ค่าให้ถูกต้อง โดยปกติแล้วจะมีค่าสูงขึ้น

 !!!-------------------------------------------!!!

พิกัดกระแสของ circuit breaker ที่ควรรู้จักมี 3 ตัวคือ

  • Ampere Trip (AT) เป็นพิกัดกระแส handle rating ซึ่งบอกให้รู้ว่าสามารถทนกระแสใช้งานในภาวะปกติได้สูงสุดเท่าใด มักแสดงค่าไว้ที่ name plate หรือด้ามโยกของเบรคเกอร์ ซึ่งมาตรฐานของ NEC 1990 paragraph240-6 กำหนดดังนี้ 15 , 60 , 70 , 80 , 90 , 100 , 110 , 125 , 150 , 175 , 200 , 225 , 250 , 300 , 350 , 400 , 450 , 600 , 700 , 800 , 1000 , 1200 , 1600 , 2000 , 2500 , 3000 , 4000 , 5000 , 6000 A.

    ในกรณีที่ขนาดอุปกรณ์ของผู้ผลิตบางรายไม่มีค่าตรงกับค่าที่กำหนด ก็สามารถเลือกใช้ค่าที่สูงขึ้นไปแทนได้ สิ่งควรรู้เพิ่มเติมก็คือ พิกัดการทนกระแส ของเบรคเกอร์ถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ

    • standard circuit breakerในที่นี้หมายถึงชนิด thermal magnetic ซึ่งถ้านำเอาเบรคเกอร์ชนิดนี้ไปใช้กับโหลดต่อเนื่อง จะปลดวงจรที่ 80 % ของพิกัดกระแสเบรคเกอร์
    • 100% rated circuit breaker แบบนี้ถ้านำไปใช้กับโหลดต่อเนื่อง จะตัดวงจรที่พิกัดกระแสของเบรคเกอร์ แต่จะมีเฉพาะสินค้าของอเมริกาเท่านั้น
  • Ampere Frame (AF) พิกัดกระแสโครง ซึ่งหมายถึงพิกัดการทนกระแสสูงสุดของเบรคเกอร์ในรุ่นนั้นๆ Ampere Frame มีประโยชน์คือ สามารถเปลี่ยนพิกัด Ampere Trip ได้โดยที่ขนาด (มิติ) ของเบรคเกอร์ยังคงเท่าเดิม ค่า AF ตามมาตรฐาน NEMA มีดังนี้ 50 , 100 , 225 , 250 , 400 , 600 , 800 , 1000 , 1200 , 1600 , 2000 , 2500 , 4000 , 5000 AF
  • Interrupting Capacity (IC) เป็นพิกัดการทนกระแสลัดวงจรสูงสุดโดยปลอดภัยของเบรคเกอร์นั้นๆ โดยปกติกำหนดค่าการทนกระแสเป็น KA. ค่า IC จะบอกให้รู้ว่าเบรคเกอร์ที่ใช้นั้นมีความปลอดภัยมากน้อยเพียงใด การเลือกค่ากระแส IC จะต้องรู้ค่ากระแสลัดวงจร ณ. จุดนั้นๆ เสียก่อน ตามมาตรฐาน IEC947-2 แล้วสามารถแบ่งเป็น 4 ประเภทคือ
    • Icu
    • Icm
    • Icw
    • Ics

Accessories

คืออุปกรณ์เสริมที่ใช้ติดตั้งร่วมกับเบรคเกอร์ เพื่อให้มีขีดความสามารถ ในการทำงานเพิ่มขึ้น ที่นิยมใช้ทั่วไปประกอบด้วย    1. Shunt Trip ใช้ติดตั้งร่วมกับเบรคเกอร์เพื่อควบคุมการปลดเบรคเกอร์จากระยะไกล เป็นการควบคุมแบบ remote โดยไม่ต้องเดินมาปลดวงจรที่ตัวเบรคเกอร์ ซึ่งจะทำงานเมื่อ coil shunt trip ได้รับแรงดันกระตุ้นจากระบบอื่น

Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

    2. Undervoltage Release (Undervoltage Trip) ใช้ติดตั้งร่วมกับเบรคเกอร์เพื่อตรวจจับแรงดัน ที่จ่ายเข้ามายังเบรคเกอร์ ถ้าต่ำกว่าที่กำหนดก็จะสั่งปลดเบรคเกอร์ทันที ส่วนใหญ่จะใช้ร่วมกับ under/over voltage relay ( อาจใช้ร่วมกับ phase protector relay ก็ได้ )
Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

    3. Auxiliary Contact ใช้เพื่อแสดงสถานะของเบรคเกอร์ขณะนั้นว่า ON หรือ OFF / TRIP
Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก
Air circuit breaker ใช้ตัวกลางชนิดใดในการดับอาร์ก

    4. Alarm Switch เป็นอุปกรณ์หน้าสัมผัสช่วย ซึ่งจะเปลี่ยนสถานะเมื่อเบรคเกอร์ปลดวงจร (Trip)
    5. Ground Fault Shunt Trip เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สั่งปลดวงจรเมื่อมีกระแสรั่วไหลออกจากระบบ เกินค่าที่ตั้งไว้
    6. Handle Padlock ใช้ล็อคเบรคเกอร์ให้อยู่ในตำแหน่ง ON หรือ OFF
    7. Cylinder Lock เป็นกุญแจสำหรับล็อคเบรคเกอร์ไว้ในตำแหน่ง OFF เท่านั้น เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ไม่มีกุญแจมา ON เบรคเกอร์

Air Circuit Breaker ใช้ตัวกลางใดในการดับอาร์ก

ACB (Air Circuit Breaker) หรือแอร์เซอร์กิตเบรกเกอร์ เป็นเบรกเกอร์ขนาดใหญ่ที่สุดในกลุ่มเซอร์กิตเบรกเกอร์แรงดันไฟฟ้าต่ำ (Low Voltage Circuit Breakers) สามารถดับอาร์คไฟฟ้าในอากาศจึงเรียกว่า Air Circuit Breaker ใช้สำหรับป้องกัน สายประธาน (Main Feeder) และสายป้อน (Feeder) ของระบบไฟฟ้า นิยมใช้งานเป็นเมนเบรกเกอร์สำหรับงานระบบ ...

วิธีการดับอารค์คมีกี่แบบอะไรบ้าง

ประเภทของกำรตัดวงจรไฟฟ้ำประเภทนี้จะใช้ส ำหรับระบบแรงดันไฟฟ้ำ 245-420 kV กำร ดับอำร์คได้ถูกแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ - เซอร์กิตเบรกเกอร์แบบป้องกันกำรอำร์ค - เซอร์กิตเบรกเกอร์แบบป้องกันกำรระเบิด เซอร์กิตเบรกเกอร์แบบป้องกันการระเบิด

Air Circuit Breaker ใช้ในระดับไฟฟ้าใด

Air Circuit Breaker (ACB) หรือแอร์เซอร์กิตเบรกเกอร์ เป็นเบรกเกอร์ขนาดใหญ่ มีความแข็งแรง ทนทานต่อกระแสไฟฟ้าลัดวงจรสูง มีพิกัดกระแสไฟฟ้าสูงถึง 6300 A ทำให้ราคาของเบรกเกอร์ ACB มีราคาแพง และนับว่าเป็นเบรกเกอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในเบรกเกอร์แรงดันไฟฟ้าต่ำ (LV) ส่วนมากใช้เป็น Main เบรกเกอร์ในวงจรไฟฟ้า ถูกติดตั้งไว้ในตู้ MDB ...

Air Circuit Breaker คืออะไร

ACB (Air Circuit Breaker) หรือที่เรียกว่าแอร์เซอร์กิต เบรกเกอร์ เป็นเบรกเกอร์ขนาดใหญ่ที่สุดในเบรกเกอร์ชนิด Low Voltage มีความแข็งแรง ทนกระแสไฟได้สูง จึงเหมาะกับการนำไปใช้เป็นเมนเบรกเกอร์สำหรับติดตั้งในตู้ MDB หรือตู้สวิทช์บอร์ด เบรกเกอร์ มีระบบทริปที่มีวัดกระแสและแรงดันไฟฟ้าได้ในตัว ออกแบบมาเพื่อป้องกันวงจรไฟฟ้าจากความ ...