การศึกษาทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญอย่างไร

บทท่ี ๑ ความสาคัญของหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ วิชาการทุกสาขาย่อมมีวิธีการศึกษาเพื่อให้ได้ความรู้ที่ถูกต้อง และน่าเช่ือถือ วิชาวิทยาศาสตร์มีวิธีการท่ีเรียกว่า วิธีการทาง วิทยาศาสตร์ ส่วนวิชาประวัติศาสตร์มีวิธีการท่ีเรียกว่า วิธีการทาง ประวตั ศิ าสตร์ นกั เรียนเคยเรยี นมาแลว้ วา่ วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์มี ๕ ข้ันตอน และทุกข้ันตอนต่างมีความสาคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะ ในขั้นตอนท่ี ๒ เก่ียวกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ถือว่ามี ความ สาคัญมากเป็นพิเศษ เพราะถ้าใช้หลักฐานที่สาคัญ หรือหลักฐาน ช้นั ต้น หลักฐานที่ผ่านการศึกษาวิเคราะห์มาแล้ว จะทาใหผ้ ลการศกึ ษามี ความ น่าเชื่อถือ เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ก็จะมีความถูกต้อง ซ่ึงใน หนว่ ย การเรยี นรู้ที่ ๑ จะเน้นความสาคญั ของหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ โดยเฉพาะหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรไ์ ทยสมัยอยธุ ยาและสมยั ธนบรุ ี

๑. หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ในขนั้ ตอนของ วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์

หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์มีความสาคัญอย่างมากในการศกึ ษา ค้นคว้า เรียบเรียง ประวัติศาสตร์ เพราะการศึกษาประวัติศาสตร์ต้อง อาศัยหลักฐานต่างๆ โดยเฉพาะผู้ท่ีเก่ียวข้อง เหตุการณ์ทั้งหลายได้ บันทึกไว้ ถ้าไม่มีหลักฐาน การศึกษาประวัติศาสตร์ก็จะไม่ถูกต้องหรือ ถูกต้อ นอ้ ย และอาจเปรยี บไดก้ ับนวนิยาย นอกจากน้ี การรวบรวมหลักฐานเป็นขั้นตอนต้นๆ ของวิธีการ ทางประวัติศาสตร์ และถือเป็น ข้ันตอนที่สาคัญมาก ซึ่งมีผลต่อ ข้ันตอนต่อไปของวิธีการทางประวัติศาสตร์ทั้งหมด ถ้ารวบรวม หลักฐานไม่สมบูรณ์ หลักฐานท่ีไม่สาคัญ หลักฐานที่ไม่เป็นกลาง หรือ หลักฐานปลอม ก็จะทาให้ การวิเคราะห์ การเขียนงานทาง ประวัติศาสตร์ไม่น่าเชื่อถือ หรือเกิดความผิดพลาดได้อย่างไรก็ดี ก่อนที่จะกล่าวถึงหลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างละเอียด นักเรียน ควรทบทวน ขั้นตอนต่างๆ ของวิธีการทางประวัติศาสตร์ เพ่ือจะได้ เขา้ ใจความสาคัญของหลกั ฐานทาง ประวัติศาสตรไ์ ดด้ ียิง่ ข้นึ

วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตรป์ ระกอบดว้ ย ๕ ขน้ั ตอนตามลาดบั ดังน้ี ๑. การกาหนดหวั เร่ืองทีจ่ ะศึกษา เร่ิมจากการเลือกหัวข้อหรือประเด็นทางประวัติศาสตร์ท่ีตนสนใจ อยากรู้ รายละเอียดมากขึน้ หรือมี ความสงสัยในความรู้เดิมทีไ่ ด้รับรู้ได้อ่าน ไดค้ ้นคว้ามา เพราะ มีข้อมูลไม่ชัดเจนหรอื ขดั แย้งกัน ทาใหอ้ ยาก รู้ว่าเรื่องราวทีถ่ กู ตอ้ งหรอื ที่น่าจะเป็นจริงคือ อย่างไร ความสนใจ ความอยากรู้ ความสงสัยด้วยตนเองจะนา ไปสู่การศึกษาค้นคว้าที่ ลึกซ้ึงอย่างต่อเน่ืองด้วยความกระตือรือร้น สนุกสนาน ไม่น่าเบ่ือหน่าย แต่ถ้าเลือก ประเด็นศึกษาโดยตนเองไม่สนใจ หรือเลือกตามคาแนะนาของคนอื่น ผลอาจจะเป็นไป ในทางตรงกนั ขา้ ม การกาหนดหัวเรือ่ งที่จะศกึ ษาควรเริม่ จากเหตุการณ์สาคัญๆ ทางประวตั ศิ าสตร์ท่ี มผี ลต่อการ เปลี่ยนแปลงทางการเมือง สงั คม วฒั นธรรม ภมู ิปัญญา เพราะมหี ลกั ฐานการ ค้นคว้ามาก จะช่วยให้นักเรียน มีความรู้เพื่อเป็นพ้ืนฐานสาหรับการค้นคว้าที่ลึกซ้ึงต่อไป ได้ดี หรืออาจเลือกจากเรื่องที่เป็นปัญหาโต้แย้ง กันในปัจจุบันเพื่ออธิบายว่าส่ิงท่ีถูก สิ่งท่ี ควรจะเปน็ คอื อยา่ งไร

๒. การรวบรวมหลักฐาน ประวัติศาสตร์ศึกษาจากหลักฐานท่ีเป็นลายลักษณ์อักษรเป็น สาคัญ และใช้หลักฐานด้านอื่นประกอบ หลักฐานทางประวัติศาสตร์มี ท้ังหลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานปฐมภูมิ กับหลักฐานชั้นรองหรือ หลักฐาน ทุติยภูมิ ผู้ศึกษาค้นคว้าจะต้องรวบรวมหลักฐานสาคัญๆ ที่ เกี่ยวข้องกับประเด็นที่จะศึกษาให้มาก ซึ่ง เร่ืองนี้จะได้กล่าวใน รายละเอียดตอ่ ไป

๓. การประเมนิ คุณคา่ ของหลักฐาน หลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีนักเรียนรวบรวมมาท้ังหลักฐาน ช้ันต้นและหลักฐานช้ันรอง จะต้องมีการ วิเคราะห์และประเมินคุณค่า และความสาคัญว่าเป็นหลักฐานข้ันต้นที่เป็นของแท้ ไม่ใช่ของปลอม มี ความ เท่ียงตรง ถูกต้อง ไม่ใช่หลักฐานที่เป็นการโฆษณาชวนเชื่อ หรือ เป็นการใส่ร้ายผู้อื่น หรือเป็นการยกยอ ตนเอง รวมท้ังการแก้ตัวที่ ตนเองประสบความล้มเหลว ถ้าเป็นหลักฐานช้ันรอง ก็ต้องพิจารณาว่า ผู้เขียน เป็นใคร มีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการเขียนเรื่องนี้เพียงใด มี ความเที่ยงตรงหรือไม่ ตลอดจนมีการศึกษา ค้นคว้าและใช้หลักฐาน ตา่ งๆ สมบูรณ์เพียงใด การวิเคราะห์และประเมินคุณคา่ ของหลักฐานถอื ว่ามีความสาคญั มาก เพราะถ้าเกดิ ความผิดพลาด บกพรอ่ งในการใช้หลกั ฐาน กจ็ ะทาให้ ขั้นตอนตอ่ ไปลดความถูกตอ้ ง ลดความนา่ เช่อื ถือลงเชน่ กนั

๔. การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และการจัดหมวดหมู่ข้อมลู ข้อมูล คือ เรื่องราวข้อเท็จจริงต่างๆ ท่ีอยู่ในหลักฐาน หลักฐาน ท้ังหลายที่นักเรียนรวบรวมมาจะมีท้ัง ข้อมูลที่ตรงกับความต้องการ หรอื ตรงกบั ประเด็น หัวเรือ่ งทจ่ี ะศกึ ษา และมขี อ้ มลู ท่ีไม่ตรงกบั ประเดน็ ที่ ต้องการศึกษา ดังน้ัน จึงต้องมีการวิเคราะห์ คือ แยกแยะประเด็น ตา่ งๆ การสงั เคราะห์ คอื รวมประเด็น แลว้ นาข้อมูลที่ผ่านการวเิ คราะห์ สังเคราะห์ มาจัดเปน็ หมวดหมใู่ ห้ตรงกับหวั เร่ือง ซ่งึ ต้องอ่าน เลือกสรร ด้วยความละเอียด รอบคอบ บันทึกให้ถูกต้อง เพ่ือการอ้างอิงต่อไป ขณะเดียวกันก็จัดความสัมพันธ์ของ ข้อมูลด้วย เช่น สาเหตุ ท้ังสาเหตุ ดั้งเดิม สาเหตุปัจจุบัน เหตุการณ์ ว่าดาเนินไปอย่างไร มีความ เปล่ียนแปลง ท่ีสาคัญในเหตุการณ์น้ันอย่างไร ผลของเหตุการณ์ ว่า ก่อให้เกิดความเปล่ียนแปลงอย่างไร ข้อมูลทั้งหลาย จะต้องจัดให้เป็น ระบบ เป็นหมวดหมู่ และเห็นความสัมพันธ์ของข้อมูล อีกท้ังจะต้องให้ ความสาคัญกับเวลา ว่าเวลาใดเกิดก่อน เกดิ หลัง

๕. การเรยี บเรยี งหรือการ นาเสนอ เป็นข้ันตอนสุดท้ายของวิธีการทางประวัติศาสตร์และเป็น ขั้นตอนที่สาคัญท่ีสุด ผู้ศึกษาค้นคว้าจะต้อง นาข้อมูลท้ังหลายมาเรียบ เรียงหรือนาเสนอแก่บุคคลทั่วไป ซ่ึงจะต้องเรียบเรียงให้ชัดเจนตรงกับ ประเด็นท่ี ต้องการศึกษา มีการวิเคราะห์ โต้แย้ง นาเสนอความรู้ใหม่ จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ค้นคว้ามาผ่าน ข้ันตอนต่างๆ ต้ังแต่ ขั้นตอนที่ ๒-๔ โดยใชภ้ าษาทชี่ ดั เจน เขา้ ใจง่าย มีการอ้างองิ หลักฐานใน เชิงอรรถ และบรรณานุกรม ซ่ึงจะต้องเขียนให้ถูกต้องตามระเบียบ วิธีการอ้างอิง ขั้นตอนนี้จะต้องมีการฝึกฝนเป็นประจา เมื่อเขียนเสร็จแล้วต้อง มาอ่านทบทวนว่าตนเองเข้าใจหรือไม่ หรือให้คนอ่ืนช่วยอ่าน นา ข้อเสนอแนะมาปรับปรุงแกไ้ ขงานที่เขียนดว้ ยจิตใจท่ีเปิดกว้าง จะทาให้ นักเรียน เปน็ นกั เขยี นที่ดี

๒ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์

ในการเขียนงานทางประวัติศาสตร์ หลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสาคัญใน ข้ันตอนท่ีเรา ทาการศึกษาค้นคว้า ถ้าใช้หลักฐานที่ไม่ดี ไม่ น่าเชื่อถือ ผลงานท่ีเรียบเรียงก็จะไม่เป็นท่ียอมรับการอธิบายใน เรื่องน้ีจะขอยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยอยุธยา และสมัยธนบุรีเป็นสาคัญ เพ่ือให้สอดคล้องกับเร่ืองที่นักเรียนจะ ศกึ ษาตอ่ ไป

๒.๑ หลกั ฐานท่เี ป็นลายลกั ษณอ์ ักษร

ในส่วนท่ีเป็นหลักฐานของไทย มพี ระ ราชพงศาวดารฉบับต่างๆ เช่น (๑) พระราช พงศาวดารกรงุ เก่าฉบบั หลวงประเสรฐิ อักษรนติ ิ (๒) พระราชพงศาวดารฉบับบริตชิ มวิ เซยี ม (๓) พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหัตถเลขา การต้ังช่ือพระราชพงศาวดารดังกล่าวมีอยู่หลาย พระราช พงศาวดารฉบบั หลวงประเสรฐิ ฯ เรียบเรยี งขึน้ ลักษณะ เชน่ ตง้ั ตามช่ือ ผู้พบ (คือ ตวั อย่าง ( 11 เมอ่ื พ.ศ. ๒๒๒๓ ถือวา่ เปน็ พระราชพงศาวดาร กรุงศรอี ยธุ ยาตง้ั ตามสถานที่เกบ็ (คือ ตัวอย่าง (๒)] หรือตงั้ ฉบับเกา่ แก่ และมีความถูกต้องมากที่สุดตามผู้ตรวจแก้ (คือ ตัวอย่าง (๓) ซ่ึงพระ บาท สมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัวทรงมลี ายพระหตั ถ์ตรวจแก]้

ตวั อย่างหลักฐานสาคัญดังกล่าวข้างต้น พระราชพงศาวดารกรุง เก่าฉบับหลวงประเสริฐ เป็น ที่ยอมรับกันว่ามีความถูกต้องท้ังศักราช และเหตุการณ์ที่กล่าวถึงเพราะเขียนข้ึนจากหลักฐานท่ีเป็นจดหมาย เหตุโหร จดหมายเหตุจากหอหนังสือหรือหอสมุด หลวง และจากพระ ราชพงศาวดาร รวมใหอ้ ยใู่ นท่เี ดียวกัน เม่อื พ.ศ. ๒๒๒๓ ในสมัยสมเด็จ พระนารายณ์มหาราชอย่างไรก็ดี ข้อความในพระราชพงศาวดาร กรุง เก่าฉบับหลวงประเสริฐฯ เขียนไว้อย่างสั้นๆ จึงทา ให้เข้าใจเหตุการณ์ ยาก เช่น “ถึงเดือน ๑๑ เสด็จไป เชียงไกร เชียงกราน” ทาให้ สนั นษิ ฐานว่าในเดอื น ๑๑ ของ พ.ศ. ๒๐๙๑ สมเด็จพระไชยราชาธริ าช เสด็จไป เชียงไกร เซียงกรานทาไม สมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานุ ภาพทรงสันนิษฐานว่าเสด็จไปตีเชียงไกร พระราชพงศาวดารฉบับพระ ราชหัตถเลขา เล่ม ๑ เป็น หลักฐานที่แสดงเร่ืองราวทางประวตั ิศาสตร์ อยุธยาที่สาคัญเชียงกรานกลับคืนจากพม่า และสงครามนี้เป็น จดุ เริ่มต้นของสงครามระหวา่ งไทยกบั พมา่

สาหรับพระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหัตถเลขามีความสาคัญ คอื มกี ารตรวจสอบและ ข้าระในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ซึ่งพระองค์ทรงตรวจสอบและทรงแก้ไข ด้วย จึงเรียกว่า ฉบบั พระราชหตั ถเลขา ตอ่ มาสมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพทรง พระนิพนธ์ คาอธิบายเรื่องราวต่างๆ โดยมีการตรวจสอบกับหลักฐาน ต่างๆ ท้ังของไทยและของต่างประเทศ ที่เก่ียวกับไทย จึงทาให้เข้าใจ เรอ่ื งราวเหตุการณ์ไดง้ ่าย ชดั เจน และถูกต้องมากขึน้ ในส่วนหลักฐานสาคัญในการศึกษาประวตั ิศาสตร์สมัยธนบรุ ี คือ พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เพิ่ม) ซึ่งให้ความรู้ เก่ียวกับสมัยธนบุรีต้ังแต่ก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งท่ี ๒ จนส้ินสุด สมัยธนบุรี พระราชพงศาวดารฉบับนี้แต่งขึ้นก่อนฉบับพระ ราชหัตถเลขาและได้มีการ ชาระหรือตรวจแก้ในเวลาต่อมา จึงถือเป็น หลักฐานสาคญั ทใี่ ห้ขอ้ มลู เกยี่ วกับสมยั ธนบุรไี ด้เป็นอยา่ งดี

นอกจากหลักฐานของไทย ยังมีหลักฐานของต่างชาติท่ีกล่าวถึง ประวัติศาสตร์อยุธยาด้วย ทาให้ไดข้ ้อมูลที่หลากหลายขึ้น ท่ีสาคัญเช่น จดหมายเหตุลาลูแบร์ เขียนโดยทูตฝรั่งเศสทเี่ ข้ามา กรุงศรีอยุธยาสมัย สมเด็จพระนารายณม์ หาราช สาเภากษัตริย์สุลัยมาน เขียนโดยทูตของ เปอรเ์ ซีย ทเ่ี ข้ามากรุงศรีอยธุ ยา สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช หมิงสือ (จดหมายเหตุ ราชวงศ์หมิง) ชิงสือคู่ (จดหมายเหตุราชวงศ์ชิง) ของจีน ซ่ึงมี รายละเอยี ดเกี่ยวกบั การติดต่อกบั กรุงศรีอยธุ ยา โดยเฉพาะการทตู และ การค้าขาย นอกจากนี้ หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรเกี่ยวกับสมัยอยุธยา ยังมใี นลักษณะอน่ื อกี เชน่ รายงานการค้าของบรษิ ัทตา่ งชาติทีเ่ ขา้ มาต้งั ห้างค้าขายท่ีกรุงศรีอยุธยา รายงานของ มิชชันนารีท่ีเข้ามาเผยแผ่ คริสต์ศาสนาเล่าเรื่องของไทยท้ังประวัติศาสตร์ การปกครอง การ ดาเนินชวี ิตของคนไทย เหตุการณส์ าคัญทเี่ กิดขน้ึ ในเมืองไทย เปน็ ตน้

๒.๒ หลกั ฐานท่ไี มเ่ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร

หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรมีหลายประเภท เช่น พระราชวังเก่าท่ี พระนครศรีอยุธยา ท่ีลพบุรี วัดที่พระนครศรีอยุธยาและที่อ่ืนซึ่งสร้างในสมัย อยุธยา ศิลปวัตถุสมัยอยุธยา หมู่บ้านชาวต่างชาติท่ีเข้ามาค้าขายหรือเผยแผ่ คริสต์ศาสนา ภาพเขียนเก่ียวกับชีวิตผู้คน หลักฐานเหล่าน้ีสามารถใช้ ประกอบกับหลักฐานท่ีเป็นลาย ลักษณ์อักษรในการศึกษาค้นคว้า ซึ่งจะ ทาให้ประวัติศาสตร์สมัยอยุธยามีความชัดเจน ยง่ิ ข้นึ เจดีย์วัดใหญ่ชัยมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จัดเป็นหลักฐานท่ี ไม่เป็นลาย ลกั ษณ์อักษรท่ีสามารถนามาใช้ประกอบกบั หลักฐานท่ีเป็น สายลักษณ์อักษรในการศึกษา เรื่องราวสมัยอยธุ ยาใหม้ คี วามกระจ่าง ชัดเจนยงิ่ ข้ึน หลักฐานทางประวัติศาสตร์ท้ังท่ีเป็นลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์ อักษร อาจแบ่ง ได้ในอีกแบบหนึ่ง คือ นอกแบบหน่ึง คือ หลักฐานช้ันต้นหรือหลักฐาน ปฐมภูมิ กับหลักฐานช้ันรองหรือหลักฐาน ทุติยภูมิ หลักฐานท้ัง ๒ ประเภทน้ีมีคุณค่า แตกต่างกัน หลักฐานชั้นต้นเขียนข้ึนโดยผู้รู้เห็นหรือ เก่ียวข้องกับเหตุการณ์นั้น ส่วน หลักฐานชั้นรองเขียนข้ึนโดยนักประวัติศาสตร์ที่ใช้หลักฐานช้ันต้น มีการเรียบเรียงให้ เขา้ ใจประวตั ิศาสตรไ์ ดง้ ่ายขนึ้ กวา่ การใชห้ ลักฐานช้ันต้น

๓. การประเมินคณุ คา่ ของหลักฐาน หลักฐานทางประวัติศาสตร์ดังกล่าวข้างต้น ไม่ว่า จะเป็นหลักฐานประเภทใด ก่อนที่จะศึกษา ค้นคว้า จะต้องมกี ารประเมนิ คุณคา่ เสยี กอ่ น

๓.๑ วธิ กี ารประเมนิ ความนา่ เชือ่ ถอื ของหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ไทย ในลกั ษณะต่าง ๆ การประเมนิ ความนา่ เช่อื ถอื ของ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ไทย มขี อ้ ควรพจิ ารณาใน ลักษณะ ตา่ งๆ ดงั นี้

๑) เป็นของแท้หรือของทาเลียนแบบ ซึ่งดูได้ จากวัสดุท่ีใช้เขียน รูปแบบตัวเขียน สานวนภาษา อักขรวิธี เช่น สมัยอยุธยา หลักฐานต่างๆ จะเขียนลง บนสมุดข่อยหรือสมุดไทยเป็น ส่วนใหญ่ จะไม่นิยม สลักเป็นศิลาจารึก หรอื เขียนบนกระดาษฝร่ัง เป็นตน้

๒) การศึกษาภมู หิ ลงั ของผู้ทา หรอื ผู้ท่เี ก่ยี วขอ้ ง มีประเด็นท่ีต้องพิจารณาหลายประการ เช่น เป็นพวก เดียวกัน เป็นศัตรูกันกับบุคคลในเหตุการณ์ เป็นอาลักษณ์ซ่ึงมี หน้าที่ในการจดบันทึก หรือเป็นบุคคลท่ัวไปเป็นผู้มีความรู้ใน เร่ืองท่ีบันทึกหรือไม่ เป็นผู้อยู่ในเหตุการณ์หรือใกล้ชิดกับ เหตุการณ์เพียงใดเป็นคนไทยหรือชาวต่างชาติ มีทัศนคติทาง การเมืองอย่างไรแลวางตัวเป็นกลางทางวิชาการเพียงใด เช่น บันทึกของชาวต่างชาติเกย่ี วกบั ไทยสมัยอยุธยามักจะถือว่าชาติ ของตนเจรญิ กวา่ ชาตอิ น่ื ๆ เปน็ ต้น

๓) วัตถุประสงค์ของการจัดทา มีข้อพิจารณา คือ เพราะเหตุใดจึงไดเห็นท่ี เรื่องน้ันๆ เป็นหลักฐานทางราชการ ซึ่งผู้เก่ียวข้องท่ีบันทึกไว้ เช่น ออกพระวิสุทนศูนถวหรือ โกษา ปานบันทึกการเดินทางไปเจริญพระราชไมตรีกับฝร่ังเศสสมัย พระเจ้าหลุยส์ท่ี ๒๔ เพราะสมเด็จ พระนารายณม์ หาราชโปรด แต่งตั้งให้เป็นราชทูต โกษาปานจึงจดบันทึกการไปปฏิบัติ ห น้ า ท่ี บั น ทึ ก ข อ ง โ ก ษ า ป า น ถื อ ว่ า มี คุ ณ ค่ า สู ง ท า ง ประวตั ิศาสตร์ เป็นต้น ๔) ชว่ งระยะเวลาท่ีจัดทาหลักฐาน มีข้อท่คี วรพจิ ารณา คือ หลักฐานน้ันๆ จด บันทึกในทันทีแบบจดหมายเหตุรายวัน หรือบันทึกรายวัน หรือเวลาผ่านไปนานแล้วจึงจดบันทึก การ จดบันทึกรายวันย่อมจาได้ดีกว่าการจดบันทึกเม่ือเวลาผ่านไป นานแลว้ ซง่ึ อาจมีการหลงลมื ได้

๕) รูปลักษณ์ของหลักฐาน มีข้อพิจารณา คือ หากเป็น รายงานทางราชการ มักจะ กล่าวอย่างกระชับ เขียนตาม ระเบียบ หรือถ้าเป็นบันทึกส่วนตัวจะเขียนตามที่รู้สึก เขียน เป็นนิราศ มักจะพรรณนาความประทับใจสิ่งท่ีได้พบเห็น หรือ คิดถึงบุคคลทเ่ี ขียนถงึ ทงั้ หมดท่ีกล่าวมาจะช่วยให้ประเมินคุณค่าของหลักฐาน ว่ามีคุณค่ามากน้อยเพียงใด และเปรียบเทียบหลักฐานต่างๆ ว่าหลักฐานใดมีคุณค่ามากกว่ากัน หลักฐานใดมีความ นา่ เชอ่ื ถอื มากกวา่

๓.๒ การแยกแยะหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ ๓.๒ การแยกแยะหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีเป็นลายลักษณ์อักษรจะมีการเขียน เรอ่ื งราวทางประวตั ศิ าสตร์ เร่ืองราวท่จี ดบันทกึ ไว้ เรียกว่า ขอ้ มูล เมอ่ื จะใชข้ ้อมูลควรต้องดาเนนิ การ ดงั น้ี

๑) การแยกแยะความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงกับความคิดเห็น ข้อมูลหรือ เร่ืองราวทางประวัติศาสตร์น้ันจะมีท้ังข้อเท็จจริงกับความคิดเห็น ของผู้เขียน ผู้บันทึก หรือผู้แต่ง ข้อเท็จจริง เป็นข้อมูลจากหลักฐานต่างๆ ซึ่ง อาจตรงกันบ้าง ไม่ตรงกันหรือขัดแย้งกันบ้าง แต่ ความคิดเห็น เป็นส่วนท่ี ผู้เขียน ผู้บันทึก หรือผู้แต่ง ผู้ใช้หลักฐาน คิดว่าข้อมูลท่ีถูกต้องน่าจะเป็น อย่างไร เช่น สมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพทรงให้ความเห็นเกี่ยวกับ การสร้างกรุงศรีอยุธยา ว่า จดหมายเหตุโหรระบุว่าพระเจ้าอู่ทองสร้าง ๒ ครั้ง ครั้งแรกปีขาล จุลศักราช ๗๑๒ (พ.ศ. ๑๘๙๓) อีกคร้ังหน่ึงปีกุน จุล ศักราช ๗๒๑ (พ.ศ. ๑๙๐๒) ในเร่ืองน้ีทรงอธิบายว่า ทรงเข้าใจว่า “โหรวาง ศักราชปีกุนน้ันผิด” ข้อความ ทรงเข้าใจ เป็น ความคิดเห็น แต่ความคิดเห็น น้ีได้จากการตรวจสอบ หลักฐานอื่น คือ พงศาวดารและจดหมายเหตุโหร ประกอบกนั ดังน้ัน เมื่อนักเรียนอ่านหนังสือใดๆ ก็ตาม ไม่ใช่เฉพาะหนังสือ ประวัติศาสตร์ จะต้อง รู้จักแยกแยะข้อเท็จจริงกับความคิดเห็น เพ่ือจะได้ นาไปศึกษาค้นคว้าต่อไปให้ได้ความจริงหรือใกล้ ความเป็นจริงที่สดุ

๒) การแยกแยะระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริง ข้อมูลหรือเรื่องราวทาง ประวัตศิ าสตร์ เรียกวา่ ยกวา่ ข้อเทจ็ จริง คาวา่ “ข้อเท็จจริง\" แยกออกเป็น ขอ้ เท็จกับ ข้อจริง เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ จึงประกอบด้วย ข้อเท็จกับข้อจริงหรือความจริง เช่น เรื่องราวการเสียกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. ๒๑ ๒) การเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังที่ ๒ (พ.ศ. ๒๓๑๐) ความจริง คือ ไทยเสียกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. ๒๑๑๒ และ พ.ศ. ๒๓๑๐ ส่วน ขอ้ เท็จจริง คือ ขอ้ มูลท่ีเป็นคาอธิบายที่ปรากรงหลายว่า ทาไมไทยจงึ เสียกรงุ ศรอี ยุธยา เช่น คนไทยเตรียมตัวไม่พร้อม ผู้นาอ่อนแอ - ตกแยกภายใน ทหารมีจานวนน้อย มี อาวธล้าสมัยและมีจานวนไม่พอเพียง ข้าศึกมีผู้นาที่เข้มแข็งและมีความสามารถสูง มี ทหารจานวนมากกว่าและมีอาวุธดีกว่า คาอธิบายดังกล่าวอาจ ถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง ซ่ึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เป็นความจริงหรือไม่เป็นความจริง ดังนั้นจึงเรียก คาอธิบาย หรอื เหตุผลวา่ ขอ้ เท็จจริง ดังน้ัน ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ นักเรียนจึงต้องค้นคว้าข้อมูล จาก หลักฐานหลายแหลง่ หรอื อ่านหนงั สอื หลายเล่ม เพือ่ จะได้สามารถแยกแยะว่าเร่อื ง ใดเป็นความจริง เรอ่ื งใดเป็นข้อเทจ็ จริง เรอ่ื งน้ียงั เป็นประโยชน์ในการรบั รู้ รบั ฟงั ขอ้ มูล หรอื เรือ่ งราวท้งั หลายใน ชีวิตประจาวันวา่ เรือ่ งใดควรเชอ่ื และเรื่องใดไมค่ วรเช่ือ

๓.๓ ตัวอย่างการประเมินความนา่ เชอ่ื ถอื ของ หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ไทย

การศึกษาประวัติศาสตร์ต้องใช้หลักฐานจากหลายทาง หลาย แหล่ง หลายฝ่าย โดยเฉพาะ ฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์น้ันๆ เช่น ในเรื่องการค้าขายของอยุธยากับชาติตะวันตก หลักฐาน ไทยในพระ ราชพงศาวดาร ในกฎหมายตราสามดวง เป็นต้น กล่าวถึงบ้างไหม บันทึกไว้อย่างไร หลักฐานของชาติตะวันตก ซึ่งเข้ามาติดต่อค้าขาย กับไทยหลายชาติกล่าวไว้ว่าอย่างไรบ้าง ท้ัง โปรตุเกส อังกฤษ ฮอลันดา หรือในเร่อื งการตดิ ตอ่ กับจนี หลักฐานมีหรอื ไม่ หลกั ฐานจีน กล่าวไว้ ว่าอย่างไร เม่ือนามาใช้นักเรียนควรคานึงถึงว่าคนต่างชาติมี ความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรม มีทัศนคติในหลายเรื่องแตกต่างกัน กับคนไทย ดังที่กรมศิลปากรเขียนไว้ในคานาหนังสือที่เป็น หลักฐาน ของต่างชาติเกย่ี วกับประวตั ิศาสตร์ไทยวา่

ตัวอยา่ ง “หนังสือน้ี... เขียนขึ้นโดยชาวต่างชาติ ซึ่งมีความแตกต่าง ทางด้านวัฒนธรรม และข้อเขียนใน บางตอนอาจคลาดเคลื่อนไปจาก ข้อเท็จจริง อันอาจเกิดจากทัศนคติส่วนตัว ความไม่เข้าใจหรือความ เข้าใจผิด ของผู้เขียน ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณตลอดจนสอบทาน กบั เอกสารอนื่ ๆ ดว้ ย จงึ จะเกดิ ประโยชน์สงู สดุ ...” อย่างไรก็ดี มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของไทยหลายเรื่องท่ี ไม่มีข้อมลู เพียงพอ จึงมี ความจาเป็นต้องใช้หลกั ฐานของชาวตา่ งชาติ แต่ก็ไม่ควรเช่ือถือในทันทีหรือเช่ือว่าเป็นเร่ืองจริง ขอให้ถือว่าเป็น ขอ้ เทจ็ จรงิ และต้องตรวจสอบกับหลกั ฐานอนื่ ๆ ในเรอื่ งเดียวกันดว้ ย

ตวั อยา่ ง ช่วงเวลาการครองราชสมบัติ ของกษัตริย์สมัยอยุธยา ซ่ึง เป็นเรื่องท่ีมีความ สาคัญมาก แต่หลักฐานท่ีเกี่ยวข้อง คือ พระ ราช พงศาวดารสมัยอยุธยาหลายเล่มกล่าวถึงไว้ ไม่ตรงกัน หาก จะอาศัยพระราชพงศาวดารฉบับ หลวงประเสริฐฯ ก็ได้ต้ังแต่ เร่ิมแรกจนถึงสมัย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เพราะพระราช พงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐฯ หมดฉบับ คือ จบเพียงแค่น้ี หลังจากน้ี คอื รชั กาลสมเดจ็ พระเอกาทศรถกเ็ ริ่มมีปญั หาแลว้

ช่วงเวลาการครองราชสมบัติของกษัตริย์ หากจะนามาใช้ใน การศึกษาประวัติศาสตร์ จะต้องมีการ มีความสาคัญมาก เพราะมี ความสมั พนั ธ์กับ ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานก่อน เหตุการณ์ และพระราชกรณียกิจ ถ้าช่วงเวลาการครองราชสมบัติไม่ถูกต้อง เหตุการณ์หรือ พระราชกรณียกิจก็อาจกลายเป็นของกษัตริย์พระองค์ อื่นก็ได้ ในการตรวจสอบเรื่องนี้ถ้าหลักฐาน ของไทยขัดแย้งกัน ก็อาจ หาหลักฐานต่างชาติมาช่วยตรวจสอบ ดังตัวอย่าง ช่วงเวลาการครอง ราชสมบัติของพระเจ้าทรงธรรม พระราชพงศาวดารฉบับพระ ราชหัตถเลขาระบุว่า ครองราชสมบัติ ระหว่าง จ.ศ. ๙๖๔ - ๔๘๙ (พ.ศ. ๒๑๔๕ - ๒๑๗๐) เป็นเรื่องที่ควรสงสัย เพราะปีที่ข้ึนครองราช สมบัติ คือ พ.ศ. ๒๑๔๕ ยังอยู่ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช หลักฐานของไทย คือ พระราชพงศาวดาร หลายฉบับก็กล่าวไว้ไม่ ตรงกัน ดังนั้น จึงต้องนาหลักฐานของต่างชาติมาช่วยตรวจสอบ ที่ สาคัญ คือ หลักฐานของพ่อค้าฮอลันดาที่เข้ามาตั้งห้างค้าขายท่ี พระนครศรีอยุธยาจดบันทึกไว้ ทาให้ได้ ข้อสรุปว่าช่วงเวลาการ ครองราชสมบัติของพระเจ้าทรงธรรม คือ ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๑๗๓ รวมเวลา ๑๗ ปี

๔. การตคี วามหลกั ฐาน

หลักฐานทางประวัติศาสตร์แม้จะมีความสาคัญมาก เพียงใดก็ตาม แต่โดยตัวหลักฐานเองอาจ ไม่มคี วามหมายหรือ ความสาคัญถ้าขาดการตีความโดยนักประวัติศาสตร์หรือผู้ใช้ หลักฐานนั้นๆ ดังน้ัน การตีความหลักฐานจึ งถือว่ามี ความสาคัญตอ่ การศึกษาประวตั ศิ าสตร์

๔.๑ ความสาคัญของการตีความทางประวตั ศิ าสตร์ การตคี วามทางประวัตศิ าสตรม์ ีความสาคญั ดงั ต่อไป

๑. เพ่ืออธิบายเร่ืองราวท่ีปรากฏในหลักฐาน เพราะหลักฐานที่ใช้ศึกษาค้นคว้าอาจเขียน โดยกล่าวถึง บคุ คลหรือสถานที่ หรือเหตุการณ์ไว้ส้ัน ๆ ซึ่งบุคคลท่ัวไป อาจไม่เข้าใจหรือเข้าใจผิด จึงจาเป็นต้องมีคาอธิบาย ดัง ตัวอย่าง

ตัวอย่าง “ศุภมัสดุ ๑๐๔๒ ศกวอกนักษัตร (พ.ศ. ๒๒๒๓) วัน ๔ ๑๒ ๕ ฯ คา่ ทรงพระกรุณาตรัสเหนอื เกล้าเหนือกระหม่อมส่ังว่า ให้เอากฎหมาย เหตุของพระโหรเขียนไว้แต่ก่อน และกฎหมายเหตุซึ่งหาได้ต่อหนังสือ และเหตุซึ่งมีในพระราชพงษาวดารน้ัน ให้คัดเข้าด้วยกันเปนแห่งเดียว ใหร้ ะดับศกั ราชกันมาคงุ เท่าบัดน”ี้ ท่ีมา : พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐฯ. กรงุ เทพมหานคร : มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช. ๒๕๔๗ หนา้ ๓ .

จะเห็นว่า ข้อมูลท่ีคัดมาน้ีจาเป็นต้องมีคาอธิบาย เร่ิมแต่ ๑๐๔๒ คือ จุลศักราช เมื่อเทียบ เปน็ พุทธศักราช ให้บวกด้วย ๑๑๘๑ คือ พ.ศ. ๒๒๒๓ วัน ๔ ๑๒ ๕ ค่า อ่านว่า วันพุธ เดือน ๕ ขึ้น ๑๒ ค่า ฯ ตรงกับวันพุธท่ี ๑๐ เมษายน ทรงพระกรุณา หมายถึง สมเด็จพระ นารายณ์มหาราช กฎหมายเหตุ ในปัจจุบันใช้ว่า จดหมายเหตุ คือ การจดบนั ทกึ เร่อื งราวเหตุการณ์ที่เกดิ ข้ึน โดย จดหมายเหตทุ ี่จดไวม้ า จากหลายฝ่าย คอื จดหมายเหตโุ หร จดหมายเหตจุ ากหอหนังสือ และ จาก พระราชพงศาวดาร ใหค้ ัดเอามารวมเปน็ เรื่องราวไว้ด้วยกนั โดย เรียงลาดบั ศักราชก่อนหลังใหถ้ ูกต้อง

๒. เพ่ือตคี วาม วิเคราะห์ความสาคัญของหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ ซึ่งตัวอย่าง ที่ยกมาข้างต้นสามารถ วเิ คราะห์ความสาคัญได้ ดงั นี้

เรอื่ งน่ารู้ จดหมายเหตขุ องบคุ คล จดหมายของบุคคลเป็นจดหมายเหตุประเภทหนึ่งที่พระมหากษัตริย์ เจา้ นาย ขุนนาง ทูต พ่อค้าชาวตา่ งชาติ ทาการบันทกึ เรื่องราวท่พี บเห็นและคิด ว่าสาคัญ บันทึก ความรู้สึกส่วนตัว รวมทั้งนโยบายปกครองบ้านเมืองไว้ เช่น จดหมายเหตุโกษาปาน จดหมายเหตุลาลูแบร์ จุดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ในรัชกาลที่ ๕ จดหมายเหตรุ ายวัน ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ ัว เปน็ ตน้ แมว้ ่าจดหมายเหตจุ ะใหร้ ายละเอยี ด และความถูกตอ้ งในเรื่องเวลา แต่ ก็มีข้อจากัดว่าหลักฐานเหล่านี้ย่อมสอดแทรก ความคิดเห็นของผู้บันทึกลงไป ดว้ ย สาหรบั หลักฐานของชาวตา่ งประเทศ ซ่ึงมี ความเช่อื ความคิด วฒั นธรรม แตกตา่ งจากไทย จงึ ควรตรวจสอบใหล้ ะเอียดถถ่ี ้วน ก่อนนาไปใช้ การที่พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐฯ รวบรวม หลักฐานหลายฉบับ ทั้งจดหมายเหตุโหร หนังสือหอหลวง และพระราช พงศาวดาร แล้วนามาเรียบเรียงตามลาดับ ศักราชที่เกิดขึ้นก่อนหลังในสมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยา จึงทาให้พระราช พงศาวดาร กรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐฯ เป็นที่ยอมรับกันว่ามีความถูกต้องทั้งศักราชและ เหตกุ ารณ์

๓. เพ่ือวิพากษ์หรือวิจารณ์หลักฐานว่ามีความเท่ียงตรง ไม่ลาเอียง เพราะหลักฐานท่ี มีการจดบันทึกกันไว้หลากหลาย โดยเฉพาะผู้ท่ีเสีย ผลประโยชน์ย่อมไม่พอใจ หรือบุคคลต่างชาติ อาจมีมุมมองจากวัฒนธรรมที่ แตกตา่ งกนั เชน่ พงศาวดารกรุงศรีอยธุ ยาฉบบั วนั วลิต พ.ศ. ๒๑๘๒ ไดก้ ล่าวว่า สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (อทู่ อง) เปน็ โอรสของจักรพรรดิจนี แต่ประพฤติตัวไม่ ดี จึงถูกเนรเทศ พร้อมคน ๒๐๐,๐๐๐ คน เดินทางทางทะเลมาถึงปัตตานี แล้ว เดินทางต่อมาที่ นครศรีธรรมราช กุยบุรี มาสร้างเมืองพริบพรี (เพชรบุรี) แล้ว ต่อมาทอี่ ยุธยา หลักฐานเกี่ยวกับพระเจ้าอู่ทองที่วัน วลิต เขียนไว้น้ีแปลกมาก ข้อ วพิ ากษ์ก็คือ ไม่นา่ จะเป็นไปได้เพราะไม่เคยมีหลักฐานของจีนเก่ียวกับเร่ืองน้ีว่า มีการเดินเรือพร้อมคน ๒๐๐,๐๐๐ คน ส่วนเรื่องท่ีว่าพระเจ้าอู่ทองสร้างเมือง เพชรบุรีก็ไม่ถูกต้อง เพราะเมืองเพชรบุรีมีมาก่อนแล้ว การ วิพากษ์หลักฐานจะ ทาได้ดีเพยี งใดข้ึนอยกู่ บั การใฝร่ ู้ การขยนั อา่ น ค้นควา้ และนาความรมู้ าใช้

๔. ช่วยอธิบายความถูกผิดของหลักฐานได้ เพราะหลักฐาน อาจมีการเขียนข้อมูลผิด เช่น รับรู้มาผิด จดบันทึกผิด เข้าใจผิด เช่น วนั วลิต ในพงศาวดารกรงุ ศรีอยุธยา พ.ศ. ๒๕๔๒ อธิบายว่า “ลาปาง (เมืองชายแดนระหว่างลานช้างและนครศรีธรรมราช)\" (หน้า ๒๔๓) บรรณาธิการ ของหนังสือน้ี คือ เดวิด เค วัยอาจ (David K. Wyatt) ได้อธิบายไว้ทเ่ี ชิงอรรถว่า “ข้อความนี้เขยี น ไมส่ มเหตุผล ลาปางไม่ได้ อยู่ติดพรมแดนนครศรีธรรมราช...\" พร้อมกันนั้นได้สันนิษฐานว่า วัน วลติ ปดิ วงเลบ็ ผิดที่ ที่ถกู ควรปิดวงเลบ็ หลังคาวา่ ลานช้างหรือล้านช้าง

๕. เพื่ออธิบายหลักฐานให้เข้าใจง่ายข้ึน เช่น เกี่ยวกับ ตัวบุคคล สถานท่ี เป็นต้น ๔.๒ ตัวอย่างการตีความข้อมูลจาก หลักฐาน

๔.๒ ตวั อยา่ งที่การตคี วามข้อมลู จาก หลักฐาน

๑) หลักฐานทแ่ี สดงเหตุการณส์ าคัญในสมัยอยธุ ยา เชน่ ตวั อยา่ งที่ ๑ “ศกั ราช ๘๐๐ มะเมียศก (พ.ศ. ๑๙๘๑) สมเด็จพระบรม ราชาธิราชเจ้า... เสวยราชสมบัติ และสมเด็จ พระราเมสวรเจ้า ผู้เป็นพระราชกุมารท่านเสด็จไปเมืองพิศนุโลก ครั้งน้ันพระ เนตรพระพุทธเจา้ พระชนิ ราช ตกออกมาเป็นโลหิต” ท่ีมา : พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐฯ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช, ๒๕๔๗ หน้า ๑๓.

ข้อมูลท่ียกมาข้างต้นนี้ นักเรียนบางคนอาจอ่านแล้ว เข้าใจ ขณะที่บางคนอาจอ่าน ศักราช ๘๐๐ เป็นจุลศักราช หากเทยี บเปน็ พทุ ธศักราชใหบ้ วกด้วย ๑๑๘๑) คอื พ.ศ. ๑๙๘๑ สมเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้าหรือสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ (เจ้าสามพระยา ราชสมบัติ ระหว่าง พ.ศ. ๑๙๖๗ - ๑๙๙๑ สมเด็จ พระราเมศวรเจ้าเป็นตาแหน่งพระมหาอปราบ ต่อมา ข้ึนครองราชสมบัติทรงพระนามว่า สมเด็จ พระบรมไตร โลกนาถ (พ.ศ. ๑๙๙๑ - ๒๐๓๑ เสด็จขนึ้ ไปเมืองพิษณุโลก

หลังจากพระมหาธรรมราชาที่ (บรมปาล) สวรรคต สมเด็จพระบรม ราชาธิราช ท่ี ๔ โปรดให้พระราเมศวรข้ึนไปเมืองพิษณุโลกทาไมจึงไป หลักฐานไม่ได้กล่าวถึง นักประวัติ พระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จงั หวดั พิษณโุ ลก ศาสตรจ์ ึงอธิบายหรือตคี วามจากหลกั ฐานทม่ี ีอยู่ สันนษิ ฐาน ว่าสร้างข้ึนในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลิไทย) เป็นการสันนิษฐานเพื่อให้ เข้าใจ เช่น อาจเพื่อ เยย่ี มพระญาติฝ่ายพระราชมารดา หรือไปปกครองโดยมี ผู้สาเร็จราชการ เพราะพระราเมศวรทรง มีพระชนมายุเพียง ๗ พรรษา ใน เรื่องพระพุทธชินราชมีน้าพระเนตรไหลออกมาเป็นโลหิตไม่น่าจะ เป็นไปได้ ถ้าพิจารณาในแง่ของวิทยาศาสตร์ แต่ข้อความน้ีนักประวัติศาสตร์ตีความว่า เป็นการ เปรียบเทียบว่าราชวงศ์พระร่วงหมดอานาจหลังจากปกครองมาร่วม ๒๐๐ ปี ต้องเป็นประเทศราช ของอาณาจักรอยุธยา ทาให้พระพุทธชินราช เศร้าโศกจนน้าพระเนตรไหลเป็นโลหิต เดิมเคยตีความ ว่าเป็นการสิ้นสุด ราชวงศ์พระร่วง แต่ปัจจุบันอธิบายว่า ราชวงศ์พระร่วงยังปกครองเมือง สุโขทัยอยู่ ต่อมาจนกระท่ัง พ.ศ. ๒๐๐๖ จึงหมดอานาจไป เพราะในปี ดังกล่าวสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเสด็จ ข้ึนไปปกครองที่เมืองพิษณุโลกซ่ึง รวมสโุ ขทัยดว้ ย และโปรดให้สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี ๓ ปกครองท่ีกรุงศรี อยธุ ยา ทาให้เมืองพษิ ณุโลกกลายเปน็ ราชธานหี รือเมืองหลวงอยรู่ ะยะหน่งึ

ตวั อยา่ งที่ ๒ (สมเด็จพระนเรศวรมหาราช) “เสด็จทรงช้างต้นพญาไชยานุ ภาพ เสด็จออกรบมหาอุปราชา (ท่ี) ตาบล หนองสาหร่าย..... แลได้ชน ช้างด้วยพระมหาอุปราชานั้น.... ครั้งนั้นมหาอุปราชาขาดคอช้าง ตาย ในท่ีน้ัน” ที่มา : พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐฯ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช, ๒๕๔๗ หน้า ๖๕. (ความในวงเล็บเตมิ เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจงา่ ยขึ้น)

ข้อมูลที่ยกมาข้างต้นน้ีกล่าวถึงสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเสด็จ ทรงช้างต้น คือ พระยา ไชยานุภาพ แล้วนากองทัพไปต่อต้านกองทัพ ของพระมหาอุปราชาของพม่า สมเด็จพระนเรศวร มหาราชทรงชนช้าง หรือทายุทธหัตถกี ับพระมหาอุปราชา ทรงฟนั พระมหาอปุ ราชาดว้ ยพระ แสง ของ้าว “ขาดคอช้าง” คือ ทรงฟันพระมหาอปุ ราชาขาดบนคอช้าง จนสิ้นพระชนม์ การตีความหรืออธิบายความสาคัญของเหตุการณ์น้ี คือ การได้ ชัยชนะด้วยการชนช้าง หรือทายุทธหัตถี ซึ่งสมเด็จฯ กรมพระยาดารง ราชานภุ าพทรงอธิบายว่า ในชมพทู วีปหรืออินเดีย ถือเป็นคติมาแต่สมัย โบราณวา่ การชนชา้ งเป็นยอดความสามารถของนกั รบ ด้วยเปน็ การตอ่ สู้ กัน ตัวต่อตัว และแพ้ชนะกันด้วยความกล้าหาญและความชานาญใน การขับขี่ช้างชน ดังน้ัน ถ้าหาก พระมหากษัตริย์พระองค์ใดทรงทายุทธ หตั ถชี นะกถ็ ือวา่ มพี ระเกียรติยศสูงสุด ถึงผแู้ พ้ก็ยกยอ่ งว่า เปน็ นกั รบแท้ ดว้ ยความสาคัญของการไดช้ ัยชนะในการทายุทธหัตถีของสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช ในปัจจุบันรัฐบาลจึงกาหนดให้วันทายุทธหัตถี ซ่ึง คานวณได้ว่าตรงกับวันท่ี ๑๘ มกราคม (พ.ศ. ๒๑๓๕) เป็นวันกองทัพ ไทย

๒) หลักฐานทีแ่ สดงเหตกุ ารณ์สาคญั ในสมัยธนบุรี เช่น ตัวอยา่ ง “ครั้งน้ันยังหาผู้จะทานามิได้ อาหารกันดาร ข้าวสารสาเภา ขายถังละ ๓ บาท ถังละตาลึงหน่ึงบ้าง ถังละ ๕ บาทบ้าง ยังทรงพระ กรุณาด้วยปรีชาญาณอุตส่าห์เล้ียงสัตว์โลกท้ังปวง... แลพระราชทาน วัตถา ลังกาภรณ์เส้ือผ้าเงินตราจะนับประมาณมิได้ จนทุกข์พระทัย ออกพระโอฐว่า บุคคลผู้ใดเป็นอาทิ คือ เทวดา บุคคลผู้มีฤทธิ์ มา ประสิทธิ์ มากระทาให้ข้าวปลาอาหารบริบูรณ์ขึ้น ให้สัตว์โลกเป็นสุข ได้ แม้นผู้นั้นจะ ปรารถนาพาหาแห่งเราข้างหนึ่ง ก็อาจตัดบริจาค ใหแ้ ก่ผู้น้นั ได้ ความกรณุ าเป็นความสัตย์ฉะน้ี” ทม่ี า : พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรีฉบับพันจันทนมุ าศ (เจิม), กรงุ เทพมหานคร : สานักพมิ พ์ ศรปี ญั ญา, ๒๕๕๑ หนา้ ๕๕.

การศึกษาประวัติศาสตร์มีความสําคัญกับสิ่งใด

ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์จะช่วยให้มนุษย์เกิดสำนึกในการค้นคว้าและสืบค้นข้อมูลที่เชื่อมโยงอดีตและปัจจุบัน อันสร้างความภูมิใจและกระตุ้นความรู้สึกนิยมในชาติหรือเผ่าพันธุ์ ตลอดจนตระหนักถึงคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษสั่งสมไว้, ประวัติศาสตร์ช่วยให้เกิดการเรียนรู้จากอดีตเพื่อเป็นบทเรียนสำหรับปัจจุบัน องค์ความ ...

หลักฐานมีความสำคัญอย่างไรต่อการศึกษาประวัติศาสตร์

การศึกษาข้อมูลจากหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์มีความส าคัญ มีรายละเอียดที่เป็น ส่วนส าคัญต่อการศึกษาเรื่องราวหรือเหตุการณ์ ในอดีต ประโยชน์ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เป็นเครื่องมือในการสืบค้น ร่องรอยของอดีต เป็นแหล่งค้นคว้า ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยน าเอาไปประกอบกับวิธีการทาง ประวัติศาสตร์

ข้อใดเป็นหัวใจสําคัญของการศึกษาประวัติศาสตร์

หัวใจของการศึกษาในภาควิชาประวัติศาสตร์คือ "การเรียนรู้ความหลากหลายในอดีต" เพื่อให้ทราบถึง "ทรัพยากรวัฒนธรรมที่มีคุณค่า" "คิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล" เพื่อที่จะให้รู้จักการ "จัดการและพัฒนาอย่างเหมาะสม" โดยนำกระบวนการคิดวิเคราะห์ตามหลักวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์

เหตุใดวิธีการทางประวัติศาสตร์จึงมีความสําคัญ

วิธีการทางประวัติศาสตร์มีความสาคัญ คือ ทาให้เรื่องราว กิจกรรม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประวัติศาสตร์มีความน่าเชื่อถือ มีความถูกต้องเป็นความจริง หรือใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุด เพราะได้มี การศึกษาอย่างเป็นระบบ อย่างมีขั้นตอน มีความระมัดระวัง รอบคอบ โดยผู้ได้รับการฝึกฝนในระเบียบ วิธีการทางประวัติศาสตร์มาดีแล้ว