ขั้น ตอน ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุง มี จุด ประสงค์ เพื่อ อะไร

บทเรียนออนไลน์

ขั้น ตอน ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุง มี จุด ประสงค์ เพื่อ อะไร

ครูฐปนีย์ดา สัมฤทธิ์รินทร์

ขั้น ตอน ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุง มี จุด ประสงค์ เพื่อ อะไร

ขั้น ตอน ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุง มี จุด ประสงค์ เพื่อ อะไร

แผนการเรียนรู้ที่ 9 การทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไข

1. ตัวชี้วัด
          4.1 ม.2/3 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็นภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนขั้นตอนการทำงานและดำเนินการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน
          4.1 ม.2/4 ทดสอบ ประเมินผล และอธิบายปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ภายใต้กรอบเงื่อนไข พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนำเสนอผลการแก้ปัญหา
          4.1 ม.2/5 ใช้ความรู้ และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไกไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย

2.สาระการเรียนรู้
          1.การกำหนดขั้นตอนระยะเวลาในการทำงานก่อนดำเนินการแก้ปัญหาจะช่วยให้การทำงานสำเร็จได้ตามเป้าหมายและลดข้อผิดพลาดของการทำงานที่อาจเกิดขึ้น
          2.การสร้างชิ้นงานอาจใช้ความรู้ เรื่องกลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เช่น LED มอเตอร์ บัซเซอร์ เฟือง รอก ล้อ เพลา
          3.อุปกรณ์และเครื่องมือในการสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการมีหลายประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย รวมทั้งรู้จักเก็บรักษา
          4.การทดสอบและประเมินผลเป็นการตรวจสอบชิ้นงานหรือวิธีการว่าสามารถแก้ปัญหาได้ตามวัตถุประสงค์ภายใต้กรอบของปัญหา เพื่อหาข้อบกพร่อง และดำเนินการปรับปรุงให้สามารถแก้ไขปัญหาได
          5.การนำเสนอผลงานเป็นการถ่ายทอดแนวคิดเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการทำงานและชิ้นงานหรือวิธีการที่ได้ ซึ่งสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การเขียนรายงาน การทำแผ่นนำเสนอผลงาน การจัดนิทรรศการ

3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
          การวางแผนการทำงานอย่างเป็นขั้นตอนก่อนลงมือสร้างชิ้นงานช่วยให้การทำงานสำเร็จได้ตามเป้าหมาย ซึ่งในการสร้างชิ้นงานต้องมีการเลือกใช้อุปกรณ์เหมาะสมกับงานและใช้อย่างถูกวิธีโดยคำนึงถึงความปลอดภัย แล้วมีการทดสอบ ประเมินผลปรับปรุงแก้ไขชิ้นงาน และนำเสนอผลการทำงานด้วยรูปแบบที่เหมาะสม

4.จุดประสงค์การเรียนรู้    

  1. นักเรียนอธิบายการทดสอบเพื่อประเมินชิ้นงานได้ (K)
  2. นักเรียนทดสอบประเมินชิ้นงานได้ (P)
  3. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน (A)

5. คำถามสำคัญ  (Big Question)
          การสร้างชิ้นงานได้เร็วและเกิดผิดพลาดน้อยที่สุดต้องทำอย่างไร

   6. สื่อและแหล่งเรียนรู้
/client-upload/np/uploads/files/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%209%20%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%9A%20%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%9C%E0%B8%A5%20%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B9%84%E0%B8%82.pdf

https://www.youtube.com/watch?v=YYwjb4qWwZM

7. ใบงาน/ชิ้นงาน

ใบกิจกรรมที่ 3.3


เข้าดู : 1629 ครั้ง

จุดเด่นที่ชัดเจนข้อหนึ่งของการจัดการเรียนการเรียนรู้แบบสะเต็ม คือการผนวกแนวคิดการออกแบบเชิงวิศวกรรมเข้ากับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ของผู้เรียน กล่าวคือ ในขณะที่นักเรียนทำกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และฝึกทักษะด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ผู้เรียนต้องมีโอกาสนำความรู้มาออกแบบวิธีการหรือกระบวนการเพื่อตอบสนองความต้องการหรือแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน เพื่อให้ได้เทคโนโลยีซึ่งเป็นผลผลิตจากกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม (NRC, 2012) กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมประกอบด้วยองค์ประกอบ 6 ขั้นตอน ได้แก่

ขั้น ตอน ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุง มี จุด ประสงค์ เพื่อ อะไร

1.ระบุปัญหา (Problem Identification)

เป็นการทำความเข้าใจปัญหาหรือความท้าทาย วิเคราะห์เงื่อนไขหรือข้อจำกัดของสถานการณ์ปัญหา เพื่อกำหนดขอบเขตของปัญหา ซึ่งจะนำไปสู่การสร้างชิ้นงานหรือวิธีการในการแก้ปัญหา

2.รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา (Related Information Search)

เป็นการรวบรวมข้อมูลและแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับแนวทางการแก้ปัญหาและประเมินความเป็นไปได้ ข้อดีและข้อจำกัด

3.ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา (Solution Design)

เป็นการประยุกต์ใช้ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องเพื่อการออกแบบชิ้นงานหรือวิธีการในการแก้ปัญหา โดยคำนึงถึงทรัพยากร ข้อจำกัดและเงื่อนไขตามสถานการณ์ที่กำหนด

4.วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา (Planning and Development)

เป็นการกำหนดลำดับขั้นตอนของการสร้างชิ้นงานหรือวิธีการ แล้วลงมือสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการเพื่อใช้ในการแก้ปัญหา

5.ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน (Testing, Evaluation and Design Improvement)

เป็นการทดสอบและประเมินการใช้งานของชิ้นงานหรือวิธีการ โดยผลที่ได้อาจนำมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาให้มีประสิทธิภาพในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมที่สุด

6.นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน (Presentation)

เป็นการนำเสนอแนวคิดและขั้นตอนการแก้ปัญหาของการสร้างชิ้นงานหรือการพัฒนาวิธีการ ให้ผู้อื่นเข้าใจและได้ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาต่อไป

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมที่สร้างขึ้นมานั้นมีจุดประสงค์อะไร

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เป็นขั้นตอนที่นำมาใช้ในดำเนินการเพื่อแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ ซึ่งกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมนี้จะเริ่มจากการระบุปัญหาที่พบแล้วกำหนดเป็นปัญหาที่ต้องการแก้ไข จากนั้นจึงทำการค้นหาแนวคิดที่เกี่ยวข้องและทำการวิเคราะห์เพื่อเลือกวิธีการที่เหมาะสมสำหรับการแก้ไข เมื่อได้วิธีการที่เหมาะสมแล้วจึง ...

ขั้นทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงอยู่ขั้นที่เท่าไร

ขั้นที่ 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุง แก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน เป็นขั้นตอนของ การตรวจสอบชิ้นงานในประเด็นต่างๆ ได้แก่ ชิ้นงานที่สร้างขึ้นมีรูปแบบตรงกับแบบร่างหรือไม่ ชิ้นงานที่สร้างขึ้นสามารถทำงานได้หรือไม่ เป็นต้น ซึ่งขั้นการทดสอบนี้จะเป็นการช่วยผู้เรียนได้ฝึก ความคิดสร้างสรรค์ในบางลักษณะ เช่น ความคิดละเอียดลออ ...

ข้อใดเป็นประโยชน์ของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

สรุปได้ว่า การใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเป็นเครื่องมือช่วยในการจัดการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างและพัฒนาการเรียนรู้ของเยาวชน จะช่วยให้เยาวชนได้มีการฝึกทักษะในการคิดอย่างเป็นขั้นตอนซึ่งเป็นการต่อยอดความรู้ที่มีอยู่เดิมให้ขยายไปจนเกิดมุมมองใหม่ๆ ในการแก้ปัญหานั้นๆ ได้อย่างครอบคลุมและถูกต้องจนนำไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ...

เมื่อสร้างชิ้นงานต้นแบบเสร็จแล้ว จะต้องดำเนินกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ขั้นตอนในข้อใดต่อไปนี้

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมมีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง ขั้นระบุปัญหา ขั้นวางแผนและ ดำาเนินการแก้ปัญหา ขั้นรวบรวมข้อมูล และแนวคิด ที่เกี่ยวข้องกับ ปัญหา ขั้นทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไข วิธีการแก้ปัญหา หรือชิ้นงาน ขั้นออกแบบ วิธีการแก้ปัญหา

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมที่สร้างขึ้นมานั้นมีจุดประสงค์อะไร ขั้นทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงอยู่ขั้นที่เท่าไร ข้อใดเป็นประโยชน์ของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เมื่อสร้างชิ้นงานต้นแบบเสร็จแล้ว จะต้องดำเนินกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ขั้นตอนในข้อใดต่อไปนี้ ข้อใดคือสิ่งสำคัญที่ทำให้ต้องมีขั้นตอนการทดสอบ ประเมินนผล และปรับปรุงวิธีการแก้ปัญหา นักเรียนคิดว่าวิธีการวิเคราะห์ด้วย 5w1h เป็นประโยชน์ต่อวิชาชีพใดมากที่สุด ข้อใดบอกความหมาย ออกแบบวิธีแก้ไขปัญหา ได้ถูกต้อง ข้อใดไม่เกี่ยวข้อง ในขั้นการระบุปัญหา ขั้นตอนการทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไข แผนผังความคิด แสดงความเชื่อมโยงของข้อมูล ได้จากขั้นตอนใด