ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

             เริ่มต้นเมื่อเข้าเปิดโปรแกรม Google SketchUp ครั้งแรกโปรแกรมจะให้เลือก Template และมาตราส่วนหน่วยวัดที่ใช้ และควรที่จะเลือก Template ให้เหมาะสมกับการใช้งาน  ซึ่งในแต่ละตัวมีความแตกต่างกัน

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

             ในหน้าต่าง Welcome to SketchUp จะมีส่วนที่ต้องเลือกก่อนเริ่มต้นใช้โปรแกรม คือ  ส่วนของ Template ซึ่งจะเป็นตัวกำหนดหน่วยวัดระยะที่เราใช้การเลือก Template สำหรับเริ่มต้นทำงาน มีความสำคัญที่ต้องตัดสินใจเลือก 2 ส่วน คือ

  • ทำงานทางด้านใด เช่น ทำงานทั่วไป หรือ ทำงานด้าน Product Design
  • ใช้หน่วยแบบใด เช่น หน่วยแบบ Feet and Inches ที่แสดงหน่วยเป็นนิ้วหรือฟุต หรือหน่วยแบบ Meters ที่แสดงหน่วยเป็น เซนติเมตร หรือ เมตร
    ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

  • Simple Template – Feet and Inches และTemplate – Meters เป็นรูปแบบเริ่มต้น เหมาะกับการทำงานทั่วไป
  • Architectural Design – Feet and inches และ Architectural Design – Millimeters เป็นรูปแบบการทำงานที่เหมาะสมกับงานสถาปัตยกรรมและการออกแบบตกแต่งภายใน
  • Google Earth Modeling – Feet and Inches และ Google Earth Modeling – Meters เป็นรูปแบบที่เหมาะกับการสร้างโมเดล เพื่อใช้สำหรับโปรแกรม Google Earth
  • Engineering –Feet และ Engineering –Meters เป็นรูปแบบการทำงานที่เหมาะกับงานวิศวกรรม
  • Product Design and Woodworking – Inches และ product Design and Woodworking Millimeters เป็นรูปแบบที่เหมาะกับงานชิ้นเล็ก ๆ และงานเฟอร์นิเจอร์ Template นี้จะมีหน่วยวัดที่ละเอียดถึงมิลลิเมตร
  • Plan View–Feet and Inches และ Plan View –Meters จะเป็นการทำงานที่มีมุมมองแบบแปลน 2 มิติ

         นอกจากหน่วยการทำงานที่เปลี่ยนไปแล้ว ในการเลือก Template ว่าจะทำงานด้านใดในตัว Template เองจะมีรายละเอียดอื่น ๆ เช่น สไตล์ของเส้น และรายละเอียดอื่น ๆ ที่แตกต่างกันไปด้วย ซึ่งสิ่งเหล่านี้สามารถมองเห็นได้จริง ๆ เมื่อเริ่มวาดภาพหรือทำงานในโปรแกรมแล้ว หากต้องการเปลี่ยน Template หลังจากที่เปิดโปรแกรมแล้ว ทำได้โดยการคลิกที่เมนู Window –> Preference จากนั้นคลิกที่ Template ใหม่ที่ต้องการ โดย Template ที่เปลี่ยนจะมีผลเมื่อเปิดโปรแกรมครั้งต่อไป

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

            หากเราต้องการสร้าง Template ตามที่เราต้องการ สามารถกำหนดได้เองตามขั้นตอนต่อไปนี้

1. ไปที่เมนู Windows —> Styles

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

2. เลือก List รายการสไตล์ที่ต้องการ

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

3. คลิกเลือกโมเดลที่เราต้องการและเราสามารถกำหนดมาตราส่วนและหน่วยวัดของโปรแกรม Google SketchUp โดย เลือกเมนู Windows —> Model Info —> Unit

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

        Format  คือ  การกำหนดมาตรฐานตัวเลขที่ใช้ในการทำงาน โดยเน้นตามหลักสากล มีให้เลือก 4 แบบ ดังนี้
               Architectural  เป็นตัวเลขตามแบบงานสถาปัตย์ ให้ใช้เป็นนิ้วเท่านั้น
               Decimal  เป็นตัวเลขทั่วไปตามรูปแบบเลขฐานสิบ เลือกหน่วยวัดได้หลากหลาย เช่น ฟุต, นิ้ว, มิลลิเมตร, เซนติเมตร, เมตร
               Engineering เป็นตัวเลขตามแบบงานวิศวกรรม ให้ใช้เป็นฟุตเท่านั้น
               Fractional เป็นตัวเลขแบบเศษส่วนให้ใช้เป็นนิ้วเท่านั้น

        Precision  คือ  การกำหนดตัวเลขให้แสดงค่าตำแหน่งทศนิยม

        Enable  Length  Snapping  คือ การกำหนดให้โปรแกรมช่วยกำหนดค่าความยาวของเส้นให้เพิ่ม หรือลดตามค่าตัวเลขที่กำหนด

        Display Units Format คือ การกำหนดให้แสดงหน่วยวัดที่ใช้งาน

        Force  Display of 0” คือ กรณีเลือกใช้แบบ Architectural   เมื่อไม่มีเศษของค่านิ้ว โปรแกรมจะใส่สัญลักษณ์  0” ต่อท้ายลงไปด้วย

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

        Precision  คือ การกำหนดค่าองศาให้แสดงตำแหน่งทศนิยม

        Enable Length  Snapping คือการกำหนดให้โปรแกรมช่วยกำหนดค่าความกว้างของมุม ให้เพิ่มหรือลดตามค่าตัวเลขที่กำหนด

         เมื่อเลือกรายละเอียดเรียบร้อยแล้ว หากต้องการ Save Template ให้ไปที่ เมนู File –> Save As Template  จะปรากฏหน้าต่าง ดังภาพ

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

           กดปุ่ม Save เพื่อทำการ Save Template เป็นอันเสร็จสิ้น การสร้าง Template  เมื่อเราเปิดโปรแกรม Google SketchUp เราสามารถเรียกใช้ Template ที่บันทึกไว้

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

            ในการออกแบบโครงสร้างตัวอาคาร ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จำเป็นต้องอาศัยความแม่นยำ และเจาะจง เพื่อให้ชิ้นงานที่ออกมานั้น สามารถนำไปใช้ได้จริง โปรแกรม Google SketchUp มีแกนอ้างอิงไว้ให้ใช้เป็นแกนหลักในการวาดภาพและขึ้นโมเดล รวมทั้งการทำงานอื่น ๆ ซึ่งเมื่อเปิดโปรแกรมขึ้นมาจะพบแกนอ้างอิง ดังภาพ

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

          จากภาพจะพบแกนอ้างอิงทั้งหมด 3 แกน วางตัดกัน ได้แก่ แกนสีแดง (Red Axis) แกนสีเขียว (Green Axis) และแกนสีน้ำเงิน (Blue Axis) ซึ่งใช้งานตามรูปแบบของแกน  3 มิติ  (X, Y, Z) ส่วนจุดตัดของแกนทั้ง 3 เรียกว่า จุดกำเนิด (origin)

          การจัดวางแกนอ้างอิงในโปรแกรม SketchUp เป็นรูปแบบมาตรฐานที่คนส่วนใหญ่ใช้กัน   เราสามารถกำหนดรูปแบบและลักษณะการวางแกนได้เอง ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการทำงาน และความถนัดของแต่ละคน โดยคลิกขวาที่แกนที่ต้องการ จะปรากฏคำสั่งให้เลือก ดังนี้

          คลิกขวาที่แกนที่ต้องการทำงาน จะปรากฏเมนูคำสั่งออกมา

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

            เป็นการจัดวางตำแหน่งของแกนอ้างอิงตามความต้องการของเรา โดยเมื่อคลิกเลือกคำสั่ง Place แล้วจะปรากฏไอคอนแกนขึ้นมา ให้คลิกเมาส์เพื่อระบุตำแหน่งแกนอ้างอิง และเลื่อนเมาส์เพื่อหมุนภาพ

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

           เป็นการจัดวางตำแหน่งของแกนอ้างอิงและหมุนแนวแกนได้ตามต้องการ โดยกำหนดระยะทางในช่อง Move และกำหนดองศาการหมุนในช่อง Rotate

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

           หลังจากได้เปลี่ยนตำแหน่งแกนหรือหมุนแกน ถ้าต้องการให้แกนอ้างอิงกลับมาวางตัวในแนวเดิมก็ให้ใช้คำสั่ง Reset

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

             ในกรณีที่ต้องการซ่อนแกนอ้างอิง ก็สามารถทำได้โดยคลิกขวาที่แกน แล้วเลือกคำสั่ง Hide

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง

ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง
ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง
ข้อใดคือจุดตัดของแกนอ้างอิง