ลำดับ การ แสดง ละคร พูด เรื่อง พระร่วง มี ลำดับ อย่างไร

ละครเพลงเรื่อง “พระร่วง เดอะ มิวสิคัล” มาจากบทพระราชนิพนธ์ละครพูดคำกลอนเรื่อง “พระร่วง” ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มานำเสนอในรูปแบบละครเพลงสมัยใหม่ เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ในมงคลสมัยเสด็จขึ้นทรงราชย์และฉลองวาระ ๑๐๐ ปี บทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๖ เรื่องเอกแห่งวงวรรณคดี

ตำนานเรื่อง “พระร่วงและขอมดำดิน” นั้นเล่ามาแต่ครั้งโบราณกาลว่า พระร่วงเป็นพระมหากษัตริย์องค์หนึ่งของสุโขทัย มีวาจาสิทธิ์เสกให้ขอมที่ดำดินมาประสงค์ปองร้ายให้กลายเป็นหิน ในขณะที่โผล่พ้นดินขึ้นมาครึ่งตัว หรือวาจาสิทธิ์ที่ทำให้นำน้ำใส่ลงในไม้ไผ่สานแล้วน้ำไม่รั่วไหลออกมา ในบันทึกพงศาวดารก็เล่าถึง “เดโชดำดิน” ว่าเป็นวีระบุรุษผู้สร้างชาติเขมร

ลำดับ การ แสดง ละคร พูด เรื่อง พระร่วง มี ลำดับ อย่างไร

เรื่องราวในตำนานนั้นดัดแปลงมาอยู่ในละครเพลงเรื่องยิ่งใหญ่ โดยผู้อยู่เบื้องหลังประกอบด้วยทีมงานนับหลายร้อยชีวิต ได้แก่ อนาวิล วิภาสวัสดิ์ ผู้อำนวยการสร้าง ที่มีแรงดลใจมาจากตำนานเก่าแก่เรื่องพระร่วง และบทพระราชนิพนธ์ของรัชกาลที่ 6 ที่แฝงถึงพระราชกุศโลบายอันแยบคาย ทรงหมายจะใช้ละครเรื่องนี้เป็นเครื่องบ่มเพาะสำนึกแห่งความเป็นชาติไทย และบทบาทของพลเมืองทุกคนซึ่งมีหน้าที่ต่อแผ่นดิน

ลำดับ การ แสดง ละคร พูด เรื่อง พระร่วง มี ลำดับ อย่างไร

ผู้กำกับ นภาดล กำปั่นทอง บอกว่า ละครเพลงเรื่องนี้เป็นเรื่องราวของวีรบุรุษชาวละโว้ในตำนานไทย ที่เป็นแรงบันดาลใจให้คนไทยปลดแอกจากอาณาจักรขอมตั้งตนเป็นรัฐอิสระจนได้ขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์สุโขทัย เป็นเรื่องที่เล่าขานผ่านมานับร้อยปี แฝงนัยสำคัญให้คนไทยตระหนักถึงความเป็นชาติไทย ในฐานะผู้กำกับจึงวางโจทย์ที่ได้จากตำนานและบทพระราชนิพนธ์ว่า “ปาฏิหาริย์บนพื้นฐานของความจริง” สะท้อนเป็นละครผสมผสานกับขนบมิวสิคัลอย่างตะวันตกให้ลงตัวที่สุด การทำงานต้องพิถีพิถันในองค์ประกอบทุกอย่าง ตั้งแต่บทเพลงการบรรเลงวงออร์เคสตร้าสด นักแสดงมากความสามารถทั้งด้านการแสดง การขับร้อง การเต้นระบำ แต่สิ่งที่ยากที่สุดคือ “การถอดรหัส” ดัดแปลงบท เพราะบทที่ทรงนิพนธ์ไว้นั้นทรงซ่อนแทรกแนวคิดและปรัชญาด้านต่าง ๆ ไว้ทุกบททุกตอนตลอดทั้งเรื่อง

ลำดับ การ แสดง ละคร พูด เรื่อง พระร่วง มี ลำดับ อย่างไร

ในส่วนของนักแสดง มีอาทิ จรณ โสรัตน์ รับบทพระร่วง, กรกันต์ สุทธิโกเศศ เป็นนายมั่น, ปนัดดา เรืองวุฒิ รับบทนางจันทน์ (พระมารดาของพระร่วง),อาณัตพล ศิริชุมแสง เป็นพระยาเดโช, พชรพล จั่นเที่ยง บทนักคุ้ม, วิวัศน์ บวรกีรติขจร บทนักแก้ว, กลศ อัทธเสรี รับบทหลวงเมือง, วสันต์ อุตตมะโยธิน รับบทหลวงวัง, ยศภูมิ ดำรงศ์เดชากูล รับบทท้าวพันธุมสุริยวงศ์ และนักแสดงอีกมากมาย

ยังมีทีมงานสำคัญอื่น ๆ อาทิ บทเพลงใน “พระร่วง เดอะ มิวสิคัล” ประพันธ์ดนตรีโดย ไกวัล กุลวัฒโนทัย และ รุจิภาส ภูธนัญนฤภัทร กำกับดนตรี โดย ดำริห์ บรรณวิทยกิจ กำกับศิลป์โดย พชร อาชาศรัย ฯลฯ

ลำดับ การ แสดง ละคร พูด เรื่อง พระร่วง มี ลำดับ อย่างไร

ลำดับ การ แสดง ละคร พูด เรื่อง พระร่วง มี ลำดับ อย่างไร

ลำดับ การ แสดง ละคร พูด เรื่อง พระร่วง มี ลำดับ อย่างไร

“พระร่วง เดอะ มิวสิคัล” เปิดแสดงถึงวันที่ 4 มีนาคม 2561 ณ เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์ ศูนย์การค้าเอสพละนาด รัชดา เวลา 19.30 น. (เสาร์-อาทิตย์ เปิดรอบ 13.30 น.ด้วย) บัตรราคา 3,500/ 3,000/ 2,500/ 2,000/ 1,500/ 1,000 บาทจองบัตรได้ที่ ไทยทิคเก็ตเมเจอร์ทุกสาขา (Call Center 0 2262 3456) รายได้ส่วนหนึ่งสมทบทุนมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในพระบรมราชูปถัมถ์ ข้อมูลเพิ่มเติมที่ FB:/ พระร่วง เดอะ มิวสิคัล

ก็อาฆาตรพยาบาทกลัวจะเป็นกบฏเหมือนตอนที่พระเจ้าพันธุมได้มีพระราช บัญชาให้นักคุ้ม นายทหารของขอมเดินทางมาทวงส่วยน้ำที่เมืองละโว้ ซึ่ง  พระร่วง ต้องทำได้10 เล่มเกวียนด้วยความฉลาดของพระร่วงพระร่วงก็ ใช้ ชะลอมใส่น้ำได้ เท่าจำนวนใน10 เล่มเกวียนเท่าที่นักคุ้ม  ลั่นไว้ จากนั้น   นักคุมก็กลับไปที่ขอม  พร้อมเล่าความฉลาดของพระร่วง ทำให้พระเจ้า พันธุม คิดว่า พลเมืองละโว้ มีปัญญาเฉลียวฉลาด หากปล่อยไว้อาจจะแข็ง เมืองให้ตัวมาลงโทษฐานกบฎจึงสั่งให้ทหารไปจับตัวพระร่วงมาเพื่อไม่ให้ประชาชนชาวละโว้เอาเป็น เยี่ยงอย่าง

    

         นายมั่น 

เป็นนายพราน เป็นคนที่เสียสละเพื่อพระร่วงสังเกตได้จากตอนที่พระร่วงวางแผนที่จะเข้าไปให้แม่ทัพขอมจับ แล้วบอกกับแม่ทัพขอมว่า พระร่วงทราบข่าวการ

ยกทัพมาเกิดความกลัว จึงหนีไปยังเมืองสุโขทัย เพื่อไม่ให้พระยาเดโชยกทัพไปที่ละโว้

       พระยาเดโช

 เป็นทหารของขอม เป็นคนที่เชื่อฟังคำสั่งของเจ้านาย เจ้านายสั่งทำอะไรก็ทำ ดูได้จากตอนที พระเจ้าพันธุม สั่งให้พระยาเดโชไป   เอาตัวพระร่วงมาถ้าจับเป็นไม่ได้ให้จับตาย พระยาเดโชก็ทำตามที่   พระเจ้าพันธุมสั่ง         


นางจันทน์ 

 เป็นมารดาของพระร่วง  


กระจาด                       ภาชนะสานรูปเตี้ยๆ ปากกว้าง ก้นสอบ

กระเดื่อง                      โด่งดัง  สูงขึ้น

กระบุง                         ภาชนะสานทึบรูปกลมสูง พื้นก้นเป็นสี่เหลี่ยม

กระออม                      ภาชนะสาด้วยไม้ไผ่ ยาชัน รูปคล้ายกระบุง ไม่มีคอใช้ใส่น้ำ

กันดาร (กัน-ดาน)        อัตคัด  ฝืดเคือง ลำบาก แห้งแล้ง

กำเริบ                          รุนแรง

เกษมสันต์(กะ-เสม-สัน)  โปร่งอารมณ์ ชื่นชมยินดี

ขลัง                             มีกำลังหรืออำนาจที่อาจบันดาลให้เป็นไปได้

แข็งเมือง                      กลับตั้งเป็นอิสระ ไม่ยอมเป็นเมืองขึ้น อีกต่อไป

คณนา(คะ-นะ-นา)       นับ

จักสาน                        เครื่องใช้ที่ทำด้วยไม้ไผ่

ชะลอม                        เครื่องสานชนิดหนึ่ง  รูปทรงกระบอก สานด้วยตอก

ตาห่าง ๆสำหรับใส่สิ่งของ

                        ชันยา                           ยางไม้สำหรับทา ทำให้หายรั่ว

                        ชีวาตม์(ชี-วาด)            ชีวิตของตน

                        ณรงค์(นะ-รง)              ต่อสู้ชิงชัย

                        ทะนง                          ถือตัว หยิ่งในเกียรติของตัว

                        ทายาท(ทา-ยาด)           ผู้สืบสันดาน ผู้สืบสกุล

                        ทูต(ทูด)                       ผู้นำข้อความไปแจ้งทั้งสองฝ่าย

                        นรากร(นะ-รา-กอน)    คน หมู่คน

                        บงกช(บง-กด)             ดอกบัว

                         บุญญาธิการ                บุญที่ได้กระทำไว้มากยิ่ง





                                ประยุทธ์                                      ต่อสู้

                                ปลาต(ปะ-ลาด)               หนีไป

                                ผดุง(ผะ-ดุง)                     ค้ำจุน ระวัง อุดหนุน

                                ผลาญ                                          ทำลายให้หมดสิ้นไป

                                พหล(พะ-หน)                  กองทัพใหญ่

                                ไพรี                                 ข้าศึก

                                ภูธร(พู-ทอน)                   พระราชา

                                มาศ(มาด)                         ทอง

                                โยธา                                พลรบ  ทหาร

                                รังสรรค์                           สร้าง แต่งตั้ง

                                วารี                                  น้ำ

                                สโมสร                            ที่สำหรับร่วมประชุมคบหากัน

                                ส่วย                                 ของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวิธี

                                                                        เรียกเก็บภาษีอากรในสมัยโบราณ

                                สวรรคต(สะ-หวัน-คด)  ตาย

                                สาตรา(สาด-ตรา)            ของมีคม

                                สุวรรณภูมิ                       ดินแดนแหลมทองซึ่งเชื่อกันว่ามีอาณาบริเวณ

                                                                        ครอบคลุมพม่าไทย ลาว เขมร เวียดนาม มาเลเซีย

                                                                        และสิงคโปร์



บทละครรำ เรื่อง พระร่วง

ผู้ประพันธ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ลักษณะการประพันธ์         เป็นบทประพันธ์ร้อยกรองกลอนบทละคร

สรุปสาระสำคัญของเรื่อง              

         พระเจ้าพันธุมกษัตริย์ขอมได้มีพระราชบัญชาให้นักคุ้ม นายทหารของขอมเดินทางมาทวงส่วยน้ำที่เมืองละโว้ นักคุ้มได้ท้าพนันกับพระร่วง ซึ่งเป็นพ่อเมืองละโว้ว่า ถ้าไม่สามารถใช้ชะลอมบรรทุกน้ำได้เท่าจำนวนเดิมใน 10 เล่มเกวียน นักคุ้มจะนำน้ำกลับไปยังประเทศตนเอง ในที่สุดพระร่วงก็ใช้ชะลอมใส่น้ำได้เท่าจำนวนใน 10 เล่มเกวียนเท่าที่นักคุ้มสั่งไว้ 
         เมื่อนักคุ้มนำน้ำกลับไปยังประเทศขอมก็ได้กราบทูลให้ให้พระเจ้าพันธุมทราบถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น พร้อมเอาชะลอมให้พระเจ้าพันธุมทอดพระเนตร พร้อมกันนั้นก็ได้เพ็ดทูลต่อทูลต่อพระเจ้าพันธุมว่า  พลเมืองละโว้มีปัญญาเฉลียวฉลาด หากปล่อยไว้อาจจะแข็งเมืองให้ตัวมาลงโทษฐานกบฏ    พระเจ้าพันธุมจึงรับพระราชบัญชาให้พระยาเดโชยกทัพมาเมืองละโว้ เพื่อจับตัวพระร่วงโดยให้จับเป็นหากขัดขืนให้จับตาย พระยาเดโชกราบทูลพระเจ้าพันธุมว่าจะจับตัวพระร่วงมาให้ได้ ตราบใดที่พระร่วงยังมีชีวิตอยู่เขาจะไม่ยอมกลับเมืองขอมเด็ดขาด จากนั้นได้ยกทัพไปมายังเมืองละโว้ 
          นายมั่นพรานป่าเที่ยวหาสัตว์ในป่าเผลอเข้าไปในขอบเขตของขอมทราบข่าวล่ำลือว่า พระยาเดโชยกทัพมาจับตัวพระร่วงตามพระราชบัญชาของพระเจ้าพันธุม นายมั่นไม่ได้นิ่งนอนใจรีบเดินลัดป่ามาเฝ้าพระร่วงเพื่อรายงานให้พระร่วงทราบ   พระร่วงเห็นนายมั่นเข้าเฝ้าด้วยท่าทางตกใจกลัว จึงตรัสถามสาเหตุ นายมั่นยกมือไหว้แล้วเล่าความจริง ที่ตกใจนั้นไม่ใช่ภัยของตัวเอง แต่เป็นภัยที่มีต่อพระร่วง  เพราะในขณะนี้พระยาเดโชได้ยกทัพมาเพื่อจะจับตัวพระร่วงไปลงโทษที่นครธม ฐานกบฎพระร่วงเมื่อได้ฟังเช่นนี้จึงคิดว่าเหตุที่ขอมยกทัพมาเพื่อจะจับตัวพระร่วงเท่านั้นหากว่าจะอยู่สู่กับขอมที่เมืองละโว้ ประชาชาชนเมืองละโว้คงไม่ยอมแน่ที่จะต้องสู้รบกับขอม เพราะชาวละโว้ไม่ชำนาญในเรื่องของการรบคงจะสู่พวกขอมไม่ได้ ถ้าพระร่วงอยู่เมืองละโว้ก็เหมือนแกล้งประชาชนตาย จึงตัดสินใจไปอยู่ที่กรุงสุโขทัย คิดว่าพวกขอมคงไม่ติดตามไป  
         



พระร่วงได้บอกอุบายแก่นายมั่นว่า ให้นายมั่นแกล้งเดินหลงทางเข้าไปในขอม แล้วเข้าไปให้แม่ทัพขอมจับ แล้วบอกกับแม่ทัพขอมว่า พระร่วงทราบข่าวการยกทัพมาเกิดความกลัว จึงหนีไปยังเมืองสุโขทัย พระยาเดโชรู้เช่นนี้จึงไม่ยกทัพมาตีเมืองละโว้ นายมั่นพยายามที่จะให้พระร่วงอยู่ที่เมืองละโว้ ในท่ามกลางประชาชนเพราะที่หนีไปขอมไปที่ไหนก็ไม่พ้น มันจะตามไปทุกแห่ง แต่พระร่วงยืนยันที่จะไปเมืองสุโขทัยเช่นเดิม พร้อมกับบอกนายมั่นว่าถ้านายมั่นรักพระองค์จริง จงทำตามอุบายที่บอก และอย่าให้ใครรู้เด็ดขาด นายมั่นจึงยอมพระร่วงจัดแจงแต่งตัวเหมือนกับจะไปเที่ยวป่า เหน็บมีดคู่มือพร้อมด้วยดาบและเสบียงอาหารเดินทางไปเมืองสุโขทัย     
         ฝ่ายนายมั่นเดินลัดป่า  ม้าก็พบขอม นายมั่นแกล้งทำเป็นตกใจกลัว ทำท่าเหมือนจะหนีกลับพวกทหารขอมจึงจับตัวไว้แล้วนำไปให้พระยาเดโช พระยาเดโชขู่นายมั่นให้บอกความจริงว่า พวกคนไทยเมืองละโว้เตรียมกองทัพไว้อย่างไร นายมั่นแกล้งทำเป็นตัวสั่น แล้วบอกพระยาเดโชว่าพระร่วงทราบข่าวว่าขอมจะยกทัพมา กลัวบารมีของขอมจึงเข้าป่าเอตัวรอด ชาวละโว้ไม่ได้เตรียมการรบไว้เลย เพราะประชาชนไม่รู้อะไรทั้งสิ้น พระยาเดโชได้ฟังนายมั่นจึงหมดสงสัย จึงคิดตริตรองว่าเมืองสุโขทัยเป็นเมืองนอกอาณาจักรและสุโขทัยก็มีกำลังการรบพร้อม จะยกทัพไปตีลำบาก จึงคิดอุบายที่จะฆ่าพระร่วงด้วยตนเอง จึงสั่งนักคุ้มแลกองทัพ พระยาเดโชแต่งตัวคล้ายคนไทยแล้วติดตามพระร่วงไปเมืองสุโขทัย  
         นายมั่นหลังจากนั้นทหารได้คุมตัวไว้ ก็คอยหาโอกาสที่จะหลบหนี เมื่อทหารขอมหลับจึงเล็ดลอดออกมาได้ และรับเดินกลับละโว้ แจ้งเรื่องราวที่เกิดขึ้นแก่นางจันทน์ มารดาของพระร่วงทราบ นางจันทน์จึงให้หลวงเมืองเกณฑ์ทหารเพื่อปราบกองทัพขอม นางจันทน์พร้อมด้วยหลวงเมือง ได้นำทหารเข้าโจมตีในขณะที่กองทัพขอมเผลอ ทำให้กองทัพขอมแพ้ จานั้นหลวงเมืองได้ลานางจันทน์ไปเมืองสุโขทัย       ฝ่ายพญาเดโชเมื่อถึงเมืองสุโขทัย ได้ทราบว่าพระวงบวชที่วัดเจดีย์ใหญ่ จึงแอบเดินไปในวัด เห็นพระภิกษุรูปหนึ่งกำลังกวาดลานวัดอยู่ ไม่ทราบว่าเป็นพระร่วง ได้เข้าไปไหว้แล้วเรียนถามถึงพระร่วงโดยลวงว่าตนเป็นคนไทย มีความจงรักภักดีต่อพระร่วง ช่วยนำไปหาพระร่วงด้วย     
        

  พระร่วงเมื่อได้ฟังสำเนียงพุดแปร่งๆของชายที่อ้างว่าเป็นคนไทย จึงเกิดความสงสัยว่าอาจเป็นขอมปลอมตัวมา  จึงถามว่าโยมคอยอยู่ที่นี่ก่อน จะไปยังกุฏิบางทีพระร่วงเธออาจมา แต่แทนที่จะเป็นพระร่วงกลับกลายเป็นพวกโยมวัดกรูออกมาล้อมตัวพญาเดโชไว้ได้ เป็นเวลาที่หลวงเมืองและชาวเมืองละโว้เข้ามากราบไหว้แสดงความยินดีแก่พระร่วงที่ไม่เป็นอันตราย หลังจากนั้นพระร่วงได้ส่งพญาเดโชให้พระเจ้าพันธุมและให้บอกแก่พระเจ้าพันธุมว่า พระร่วงมีความคิดถึง ของฝากพญาเดโชเป็นเครื่องบรรณาธิการ      

          

 เมื่อทุกสิ่งทุกอย่างเรียบร้อยแล้ว เมืองสุโขทัยซึ่งพ่อเมืองว่างอยู่ ขุนนางเสนาพฤฒาอมาตย์ พระมหาราชครู พร้อมด้วยประชาชนชาวเมืองสุโขทัยก็ได้ทำพิธีปล่อยม้ามนมัยทั้งคู่เทียมรถ เพื่อเสียงหาผู้มีบุญบารมีมาครองเมือง ในทีสุดมาทั้งคู่ก็ลากสุวรรณไปหยุดอยู่ตรงหน้าพระร่วง บรรดาพราหมณ์เสนาพฤฒาอมาตย์ราษฎรพากันถวายบังคมพระร่วง และพระมหาราชครูก็ได้รับฉันทะทูลเชิญพระร่วงขึ้นครองราชย์     



       พระเจ้าพันธุมกษัตริย์ขอมได้มีพระราชบัญชาให้นักคุ้ม นายทหารของขอมเดินทางมาทวงส่วยน้ำที่เมืองละโว้ นักคุ้มได้ท้าพนันกับพระร่วง ซึ่งเป็นพ่อเมืองละโว้ว่า ถ้าไม่สามารถใช้ชะลอมบรรทุกน้ำได้เท่าจำนวนเดิมใน 10 เล่มเกวียน นักคุ้มจะนำน้ำกลับไปยังประเทศตนเอง ในที่สุดพระร่วงก็ใช้ชะลอมใส่น้ำได้เท่าจำนวนใน 10 เล่มเกวียนเท่าที่นักคุ้มลั่นไว้          

เมื่อนักคุ้มนำน้ำกลับไปยังประเทศขอมก็ได้กราบทูลให้ให้พระเจ้าพันธุมทราบถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น พร้อมเอาชะลอมให้พระเจ้าพันธุมทอดพระเนตร พร้อมกันนั้นก็ได้เพ็ดทูลต่อทูลต่อพระเจ้าพันธุมว่า  พลเมืองละโว้มีปัญญาเฉลียวฉลาด หากปล่อยไว้อาจจะแข็งเมืองให้ตัวมาลงโทษฐานกบฏ     พระเจ้าพันธุมจึงรับพระราชบัญชาให้พระยาเดโชยกทัพมาเมืองละโว้ เพื่อจับตัวพระร่วงโดยให้จับเป็นหากขัดขืนให้จับตาย พระยาเดโชกราบทูลพระเจ้าพันธุมว่าจะจับตัวพระร่วงมาให้ได้ ตราบใดที่พระร่วงยังมีชีวิตอยู่เขาจะไม่ยอมกลับเมืองขอมเด็พระนายมั่นพรานป่าเที่ยวหาสัตว์ในป่าเผลอเข้าไปในขอบเขตของขอมทราบข่าวล่ำลือว่า พระยาเดโชยกทัพมาจับตัวร่วงตามพระราชบัญชาของพระเจ้าพันธุม นายมั่นไม่ได้นิ่งนอนใจรีบเดินลัดป่ามาเฝ้าพระร่วงเพื่อรายงานให้พระร่วงทราบ      

พระร่วงเห็นนายมั่นเข้าเฝ้าด้วยท่าทางตกใจกลัว จึงตรัสถามสาเหตุ นายมั่นยกมือไหว้แล้วเล่าความจริง ที่ตกใจนั้นไม่ใช่ภัยของตัวเอง แต่เป็นภัยที่มีต่อพระร่วง  เพราะในขณะนี้พระยาเดโชได้ยกทัพมาเพื่อจะจับตัวพระร่วงไปลงโทษที่นครธม ฐานกบฎพระร่วงเมื่อได้ฟังเช่นนี้จึงคิดว่าเหตุที่ขอมยกทัพมาเพื่อจะจับตัวพระร่วงเท่านั้นหากว่าจะอยู่สู่กับขอมที่เมืองละโว้ ประราชาชนเมืองละโว้คงไม่ยอมแน่ที่จะต้องสู้รบกับขอม เพราะชาวละโว้ไม่ชำนาญในเรื่องของการรบคงจะสู่พวกขอมไม่ได้ ถ้าพระร่วงอยู่เมืองละโว้ก็เหมือนแกล้งประชาชนตาย จึงตัดสินใจไปอยู่ที่กรุงสุโขทัย คิดว่าพวกขอมคงไม่ติดตามไป  

         พระร่วงได้บกอุบายแก่นายมั่นว่า ให้นายมั่นแกล้งเดินหลงทางเข้าไปในขอม แล้วเข้าไปให้แม่ทัพขอมจับ แล้วบอกกับแม่ทัพขอมว่า พระร่วงทราบข่าวการยกทัพมาเกิดความกลัว จึงหนีไปยังเมืองสุโขทัย พระยาเดโชรู้เช่นนี้จึงไม่ยกทัพมาตีเมืองละโว้ นายมั่นพยายามที่จะให้พระร่วงอยู่ที่เมืองละโว้ ในท่ามกลางประชาชนเพราะที่หนีไปขอมไปที่ไหนก็ไม่พ้น มันจะตามไปทุกแห่ง แต่พระร่วงดขาด จากนั้นได้ยกทัพไปมายังเมืองละโว้ ยืนยันที่จะไปเมืองสุโขทัยเช่นเดิม พร้อมกับบอกนายมั่นว่าถ้านายมั่นรักพระองค์จริง จงทำตามอุบายที่บอก และอย่าให้ใครรู้เด็ดขาด นายมั่นจึงยอมพระร่วงจัดแจงแต่งตัวเหมือนกับจะไปเที่ยวป่า เหน็บมีดคู่มือพร้อมด้วยดาบและเสบียงอาหารเดินทางไปเมืองสุโขทัย     

         ฝ่ายนายมั่นเดินลัดป่า  ม้าก็พบขอม นายมั่นแกล้งทำเป็นตกใจกลัว ทำท่าเหมือนจะหนีกลับพวกทหารขอมจึงจับตัวไว้แล้วนำไปให้พระยาเดโช พระยาเดโชขู่นายมั่นให้บอกความจริงว่า พวกคนไทยเมืองละโว้เตรียมกองทัพไว้อย่างไร นายมั่นกล้งทำเป็นตัวสั่น แล้วบอกพระยาเดโชว่าพระร่วงทราบข่าวว่าขอมจะยกทัพมา กลัวบารมีของขอมจึงเข้าป่าเอตัวรอด ชาวละโว้ไม่ได้เตรียมการรบไว้เลย เพราะประชาชนไม่รู้อะไรทั้งสิ้น พระยาเดโชได้ฟังนแายมั่นจึงหมดสงสัย จึงคิดตริตรองว่าเมืองสุโขทัยเป็น  นายมั่นหลังจากนั้นทหารได้คุมตัวไว้ ก็คอยหาโอกาสที่จะหลบหนี เมื่อทหารขอมหลับจึงเล็ดลอดออกมาได้ และรับเดินกลับละโว้ แจ้งเรื่องราวที่เกิดขึ้นแก่นางจันทน์ มารดาของพระร่วงทราบ นางจันทน์จึงให้หลวงเมืองเกณฑ์ทหารเพื่อปราบกองทัพขอม นางจันทน์พร้อมด้วยหลวงเมือง ได้นำทหารเ
โจมตีในขณะที่กองทัพขอมเผลอ ทำให้กองทัพขอมแพ้ จานั้นหลวงเมืองได้ลานางจันทน์ไปเมืองสุโขทัย       ฝ่ายพญาเดโชเมื่อถึงเมืองสุโขทัย ได้ทราบว่าพระวงบวชที่วัดเจดีย์ใหญ่ จึงแอบเดินไปในวัด เห็นพระภิกษุรูปหนึ่งกำลังกวาดลานวัดอยู่ ไม่ทราบว่าเป็นพระร่วง ได้เข้าไปไหว้แล้วเรียนถามถึงพระร่วงโดยลวงว่าตนเป็นคนไทย มีความจงรักภักดีต่อพระร่วง ช่วยนำไปหาพระร่วงด้วย   พระร่วงเมื่อได้ฟังสำเนียงพุดแปร่งๆของชายที่อ้างว่าเป็นคนไทย จึงเกิดความสงสัยว่าอาจเป็นขอมปลอมตัวมา  พวกโยมวัดกรูออกมาล้อมตัวพญาเดโชไว้ได้ เป็นเวลาที่หลวงเมืองและชาวเมืองละโว้เข้ามากราบไหว้จึงถามว่าโยมคอยอยู่ที่นี่ก่อน จะไปยังกุฏิบางทีพระร่วงเธออาจมา แต่แทนที่จะเป็นพระร่วงกลับให้บอกแก่พระเจ้าพันธุมว่า พระร่วงมีความคิดถึง ของฝาก       

พญาเดโชเป็นเครื่องบรรณาธิการ  กลายเป็นแสดงความยินดีแก่พระร่วงที่ไม่เป็นอันตราย หลังจากนั้นพระร่วงได้ส่งพญาเดโชให้พระเจ้าพันธุมและเมื่อทุกสิ่งทุกอย่างเรียบร้อยแล้ว เมืองสุโขทัยซึ่งพ่อเมืองว่างอยู่ ขุนนางเสนาพฤฒาอมาตย์ พระมหาราชครู พร้อมด้วยประชาชนชาวเมืองสุโขทัยก็ได้ทำพิธีปล่อยม้ามนมัยทั้งคู่เทียมรถ เพื่อเสียงหาผู้มีบุญบารมีมาครองเมือง ในทีสุดมาทั้งคู่ก็ลากสุวรรณไปหยุดอยู่ตรงหน้าพระร่วง บรรดาพราหมณ์เสนาพฤฒาอมาตย์ราษฎรพากันถวายบังคมพระร่วง และพระมหาราชครูก็ได้รับฉันทะทูลเชิญพระร่วงขึ้นครองราชย์  

มหาราชที่เรียกนามในภาษาบาลีว่า "โรจนราช" กล่าวกันว่าเป็นพระสหายกับพระเจ้าเม็งรายนิทานพื้นบ้าน เป็นแบบมุขปาฐะ เล่ากันปากต่อปาก (oral history) ต่อมาจึงมีการจดบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์พระร่วง เป็นชื่อบุคคลผู้เป็นวีรบุรุษ เป็นผู้นำของสังคม สังคมไทยโบราณนิยมสืบต่อเรื่องราวเก่าทำนองตำนาน นิทานปรัมปรา ทางวัฒนธรรมตามตำนาน ฐานะวีรบุรุษผู้มีตัวตนจริงของประวัติศาสตร์ และในฐานะสัญลักษณ์ของอักษร ในบรรดาเรื่องราวเกี่ยวกับผู้นำทางวัฒนธรรม เรื่อง "พระร่วง" เป็นเรื่องที่ถูกหยิบยกมาเล่าขานทั้งในฐานะผู้นำผู้รู้ และความเป็นปราชญ์
          เรื่องของพระร่วงมีตำนานเล่ากันมาหลายเรื่อง ซึ่งมิได้ระบุว่าเป็นกษัตริย์สมัยสุโขทัยพระองค์ใด พ่อขุนศรีอินทราทิตย์เมื่อเสด็จขึ้นครองราชสมบัติในกรุงสุโขทัยก็เรียกว่า "ราชวงศ์พระร่วง" ทำให้คนทั้งหลายเข้าใจว่า พระร่วงคงจะเริ่มตั้งแต่พ่อขุนศรีอินทราทิตย์เป็นต้นมา พ่อขุนรามคำแหงมหาราชที่นครเชียงใหม่ และพ่อขุนงำเมืองแห่งนครพะเยา พระนามของพ่อขุนรามคำแหงหาราชนี้ในหนังสือเก่าเรียกตามภาษามคธว่า "รามราช" แต่ยังมีคำที่คนทั้งหลายเรียกพระนามกษัมตริย์สุโขทัยอีกคำหนึ่งว่า พระร่วง ในพงศาวดารบางฉบับกล่าวว่า พระร่วงนี้มีบุญญาภินิหาร และฤทธิเดชเลิศล้ำ แม้ในพงศาวดารของประเทศใกล้เคียง เช่น ในพงศาวดารมอญ พงศาวดารลานนาไทย ก็ยังได้กล่าวถึงพระร่วงเมืองสุโขทัย ทุกวันนี้ยังมีสิ่งที่ออกพระนามพระร่วงด้วยหลายสิ่ง เช่น ข้าวตอกพระร่วง ปลาพระร่วง ทำนบพระร่วง หนังสือไตรภูมิพระร่วง สุภาษิตพระร่วง ปากพระร่วง (ผู้มีวาจาสิทธิ์ว่าอะไรเป็นอย่างนั้น) และที่สุดเรือรบของไทยลำหนึ่งก็ชื่อ เรือพระร่วง ล้วนเป็นคำที่ประกอบกับคำที่เล่าเรื่องพระร่วงสืบกันมา        

สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงอุตสาหะสอบสวนค้นคว้าทางโบราณคดีและรวบรวมเรื่องราวเป็นข้อวินิจฉัย ให้ชื่อว่า นิทานโบราณคดีเรื่องพระร่วง จึงขอนำมาสรุปดังนี้          



ในหนังสือพงศาวดารเหนือ กล่าวถึงชาติวงศ์ของพระร่วง ในเรื่องอรุณกุมาร (อรุณ คือ ศัพท์ภาษามคธแปลว่า ร่วง) ว่า พระยาอภัยคามะนีเจ้าเมืองหริภุญชัย (ลำพูน) ไปจำศีลบนภูเขาแห่งหนึ่ง ไปพบนางนาคซึ่งจำแลงเป็นมนุษย์มาเที่ยวเล่น เกิดสมัครรักใคร่ได้อภิรมย์สมรสอยู่ด้วยกัน 7 วัน นางมีครรภ์กลับไปเมืองนาค เมื่อจะคลอดลูกก็ขึ้นมาคลอดที่ภูเขาเพราะเกรงว่าถ้าคลอดในเมืองนาคอาจไม่มีชีวิตรอดเพราะมีเชื้อมนุษย์ เมื่อคลอดทารกชายแล้วก็ทิ้งไว้ในป่าพร้อมกับแหวน ผ้าห่ม และของที่พระยาอภัยคามะนีประทานนางไว้ มีพรานป่าไปพบทารกนั้นจึงพามาเลี้ยงไว้ เกิดอัศจรรย์ต่าง ๆ ปรากฏที่ตัวเด็กอย่างผู้มีบุญ ความทราบถึงพระยาอภัยคามะนี ตรัสเรียกไปทอดพระเนตร เมื่อทรงทราบเรื่องที่พรานป่าไปพบและทอดพระเนตรเห็นของที่อยู่กับตัวเด็ก ก็ทราบชัดว่าเป็นราชบุตรที่เกิดกับนางนาค จึงประทานนามว่า "อรุณกุมาร" แล้วเลี้ยงไว้ในที่ลูกหลวง ต่อมามีราชบุตรเกิดด้วยอัครมเหสีอีกองค์หนึ่ง ประทานามว่า "ฤทธิกุมาร" อยู่ด้วยกันมาจนเติบใหญ่ พระยาอภัยคามะนีปรารถนาจะหาเมืองให้อรุณกุมารครอบครอง ทราบว่าเจ้าเมืองศรีสัชนาลัยมีแต่ราชธิดา จึงสู่ขอนางนั้นให้อภิเษกสมรสกับอรุณกุมาร อรุณกุมารจึงไปอยู่เมืองศรีสัชนาลัยต่อมาก็ได้ครองเมืองนั้น ทรงพระนามว่า "พระร่วง" ส่วนฤทธิกุมารนั้นเมื่อเติบใหญ่ก็ได้อภิเษกสมรสกับราชธิดาพระยาเชียงใหม่ และได้ครองเมืองเชียงใหม่ ทรงพระนามว่า "พระลือ" เมื่อทั้งสองอาณาเขตมีเจ้าเมืองเป็นพี่น้องกันเช่นนี้ บ้านเมืองก็เป็นสัมพันธมิตรสืบกันมา เรื่องอรุณกุมารนี้พระร่วงเป็นเชื้อมนุษย์กับนาคระคนกัน และเป็นวงศ์กษัตริย์วงศ์หริภุญชัยในลานนา    

เรื่องพระร่วงในพงศาวดารเหนืออีกเรื่องหนึ่ง เรียกว่า พระร่วงส่วยน้ำ กล่าวว่า มีชายชาวเมืองละโว้คนหนึ่งชื่อ "คงเครา" เป็นนายกองคุมคนตักน้ำในทะเลชุบศรส่งไปถวายพระเจ้าปทุม  สุริยวงศ์ ณ เมืองขอม นายคงเครามีบุตรคนหนึ่งชื่อ นายร่วง เป็นผู้มีบุญด้วยวาจาสิทธิ์ คือถ้าว่าอะไรให้เป็นอย่างไรก็เป็นอย่างนั้น แต่ไม่รู้ตัวว่ามีฤทธิ์อย่างนั้น จนอายุได้ 11 ปี วันหนึ่งพายเรือไปในทะเลชุบศร เรือทวนน้ำทำให้เหนื่อยมากจึงออกปากว่า ทำไมน้ำไม่ไหลกลับไปทางนั้นบ้าง พอว่าขาดคำ น้ำก็ไหลกลับไปอย่างว่าเด็กร่วงก็รู้ตัวว่ามีวาจาสิทธิ์ แต่ปิดความไว้ไม่ให้ผู้อื่นรู้ ครั้นนายคงเคราถึงแก่กรรมพวกไพร่ก็พร้อมใจกันยกนายร่วงขึ้นเป็นนายกองส่วยน้ำแทนพ่อ ครั้นต่อมานักคุ้มข้าหลวง


เมืองขอมคุมเกวียนมารับส่วยน้ำตามเดิม นายร่วงเห็นว่ากล่องน้ำที่ทำมานั้นหนัก จึงให้ไพร่สานชะลอมขึ้นเป็นอันมาก แล้วให้เอาชะลอมจุ่มลงไปในน้ำ ลั่นวาจาสิทธิ์สั่งน้ำให้ขังอยู่ในชะลอมก็เป็นเช่นว่า นักคุ้มข้าหลวงเห็นเช่นนั้นก็ฤทธิ์นายร่วง รีบรับชะลอมน้ำกลับไปยังเมืองขอม ทูลพระเจ้าปทุมสุริยวงศ์ว่า มีผู้วิเศษเกิดขึ้นที่เมืองละโว้ พระเจ้าปทุมสุริยวงศ์ทรงวิตกเกรงว่าจะเป็นกบฏ จึงแต่งกองทหารให้มาจับตัวนายร่วง แต่นายร่วงได้ยินข่าวรู้ตัวก่อน จึงหนีออกจากเมืองละโว้ขึ้นไปทางเมืองเหนือ ไปบวชเป็นภิกษุอยู่ ณ วัดแห่งหนึ่งในเมืองสุโขทัย คนจึงเรียกกันว่า "พระร่วง" เพราะเหตุที่บวชเป็นพระ ฝ่ายทหารขอมมาถึงเมืองละโว้ รู้ว่านายร่วงรู้ตัวหนีขึ้นไปเมืองเหนือ ทหารขอมผู้หนึ่งก็ติดตามไปเที่ยวสืบเสาะได้ความว่า นายร่วงหนีไปอยู่เมืองสุโขทัย มิรู้ว่าไปบวชเป็นพระ จึงดำดินลอดปราการเข้าไปในเมือง เผอิญไปโผล่ขึ้นที่ลานวัดที่พระร่วงกำลังกวาดอยู่ พระร่วงเห็นเข้าก็รู้ว่าเป็นขอมแต่ขอมไม่รู้จักพระร่วง จึงถามพระร่วงว่า "รู้หรือไม่ว่านายร่วงที่มาจากเมืองละโว้อยู่ที่ไหน" พระร่วงก็ลั่นวาจาสิทธิ์ว่า "สูอยู่ที่นั่นเถิดรูปจะไปบอกนายร่วง" พอว่าขาดคำขอมก็กลายเป็นหินติดคาแผ่นดินอยู่ตรงนั้น ด้วยอำนาจวาจาสิทธิ์ของพระร่วง ชาวเมืองสุโขทัยรู้ว่าพระร่วงเป็นผู้มีบุญ เมื่อพระเจ้ากรุงสุโขทัยสิ้นพระชนม์ เสนาอำมาตย์จึงพร้อมใจกันเชิญพระร่วงขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดิน ทรงพระนามว่า "พระเจ้าศรีจันทราบดี"
         สมเด็จฯพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงพระนิพนธ์ขยายความเพิ่มเติมอีกว่า เรื่องพระร่วงทั้งสองเรื่องนี้ จะเชื่อว่าพระร่วงเป็นลูกนางนาคจริง หรือจะเชื่อว่าพระร่วงมีวาจาสิทธิ์จริง ดูก็ผิดธรรมดาทั้งสองสถาน ถ้าพิจารณาดูศักราชตามที่อ้างในพงศาวดารเหนือทั้งสองเรื่องนั้นว่าเป็นรัชสมัยของพระร่วงนั้นก็แตกต่างกันไกล ในเรื่องอรุณกุมารว่าพระร่วงได้ครองบ้านเมืองราว พ.ศ. 950 แต่ในเรื่องพระร่วงส่วยน้ำ พระร่วงได้ครองบ้านเมืองเมื่อราว พ.ศ. 1500 ผิดกันตั้ง 500 ปี ยิ่งมาถึงสมัยได้ศิลาจารึกครั้งกรุงสุโขทัย ตรวจหาความรู้เรื่องพงศาวดารเหนือหลักฐานที่มีอยู่เดิมในเรื่องพระร่วงดูก็ยิ่งคลาดเคลื่อนมากขึ้น ตามศิลาจารึกไทยเพิ่งชิงอำนาจจากขอมมาตั้งตนเป็นอิสระเมื่อพ.ศ. 1800 ภายหลังสมัยพระร่วงที่อ้างในพงศาวดารเหนือหลายร้อยปี ผู้ที่ชิงอาณาเขตสุโขทัยจากขอมได้ทรงพระนามว่า "พ่อขุนบางกลางท่าว" เจ้าเมืองบางยาง เมื่อได้เมืองสุโขทัยแล้วทำพิธีราชาภิเษกเป็นพระเจ้าแผ่นดินทรงพระนามว่า "พ่อขุนศรีอินทราทิตย์" ต่อมา "พ่อขุนบาลเมือง"

ราชโอรสองค์ใหญ่ของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ได้เป็นพระเจ้าแผ่นดิน กษัตริย์ที่สืบทอดต่อ ๆ มาก็คือ "พ่อขุนรามคำแหงมหาราช" "พระเจ้าเลอไทย" "พระเจ้าลือไทย"(พระเจ้าธรรมราชา) ทั้งห้าองค์ครองราชสมบัติสืบต่อกันมาตั้งแต่ พ.ศ. 1800-1921 นานถึง 121 ปี กรุงสุโขทัยจึงตกเป็นประเทศราชของกรุงศรีอยุธยาในรัชกาลของสมเด็จพระบรมราชาธิราช (ขุนหลวงพงั่ว)
          ข้อสำคัญอย่างหนึ่งในศิลาจารึกไม่มีพระนาม "พระร่วง" ปรากฏสักแห่งเดียว จะเข้าใจว่าพระร่วงเป็นแต่นิทานไม่มีตัวจริงก็ไม่ได้ ด้วยประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียงกับกรุงสุโขทัยในสมัยนั้น ต่างเรียกพระเจ้ากรุงสุโขทัยว่า "พระร่วง" ทั้งสิ้น เช่นในเรื่องราชาธิราชก็อ้างว่า พระร่วงได้ชุบเลี้ยงมะกะโทและทรงส่งเสริมให้เป้นพระเจ้าฟ้ารั่วครองเมืองมอญ ในพงศาวดารโยนกก็กล่าวว่า เมื่อพระยาเม็งรายสร้างเมืองเชียงใหม่ได้เชิญ"พระร่วงเมืองสุโขทัย"กับ"พระยางำเมืองเมืองพะเยา" ผู้เป็นสหายไปปรึกษา หนังสือตำนานพระพุทธสิหิงค์ซึ่งพระโพธิรังษีแต่งเป็นภาษามคธที่เมืองเชียงใหม่ ก็แปลงคำ "พระร่วง" เป็น "รังคราช" ว่าได้พระพุทธสิหิงค์จากเมืองนครศรีธรรมราชข้นไปไว้ ณ เมืองสุโขทัย และที่สุดชาวกรุงศรอยุธยาก็เรียกกันทั่วไปว่า "พระร่วง" จึงเห็นว่า "พระร่วง " นั้นคงเป็นพระเจ้าแผ่นดินที่ครองกรุงสุโขทัยพระองค์ใดพระองค์หนึ่งในห้าพระองค์นั้น ซึ่งทรงอานุภาพเลิศล้ำเป็นที่ยำเกรงแก่นานาประเทศใกล้เคียง และคงเลื่องลือระบือพระเกียรติแต่ยังทรงพระนามว่าพระร่วง ไม่เปลี่ยนไปเรียกตามพระนามใหม่ที่ถวายเมื่อราชาภิเษก ตัวอย่างเช่น พระเจ้าอู่ทองเมื่อตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นอิสระทรงพระนามเมื่อราชาภิเษกว่า สมเด็จพระรามาธิบดี แต่ไพร่บ้านพลเมืองก็ยังเรียกว่า พระเจ้าอู่ทอง อยู่นั่นเอง การที่จะวินิจฉัยเอาเรื่องพระร่วงเข้าในพงศาวดาร จึงอยู่ที่ต้องพิจารณาหาหลักฐานว่าพระองค์ใดในพระเจ้าแผ่นดินกรุงสุโขทัย 5 พระองค์นั้นเป็นพระร่วง แล้วพิจารณาต่อไปว่า เหตุใดจึงเรียกว่า "พระร่วง" 












พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว  ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ ๖  แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์  เสด็จราชสมภ   พระ เมื่อวันเสาร์ที่      มกราคม   พ.ศ. ๒๔๒๓ ทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้รับพระราชทานนามว่าสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ  และได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นเจ้าฟ้ากรมขุนเทพทวาราวดี  ทำให้ทรงมีพระเกียรติยศเป็นชั้นที่ ๒ รองจากสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช  เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศสยามมกุฎราชกุมาร 
           
 เมื่อพ.ศ. ๒๔๓๖ทรงได้เสด็จไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษทรงได้ศึกษา
และกฎหมาย   ที่วิทยาลัยไครสต์เชิช มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด 

            การพระราชวิชาการทหารบก  ที่โรงเรียนนายร้อยทหารบกแซนเฮิสต์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๐ ต่อมาได้เสด็จไปทรงศึกษาวิชา ประวัติศาสตร์พิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้กระทำเป็นสองคราว คราวแรกเป็นพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเฉลิมพระราชมณเฑียร  เมื่อวันที่  ๑๑  พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๓  อีกคราวเป็นพระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมโภช  ได้จัดขึ้นระหว่างวันที่ ๒๘พฤศจิกายน  ถึง  วันที่   ๑๐  ธันวาคม  พ.ศ.  ๒๔๕๔  โดยมีบรรดาผู้แทนพระองค์พระมหากษัตริย์ของประเทศที่มีสัมพันธไมตรีกับประเทศไทย  กับข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ซึ่งเป็นตัวแทนของประมุขประเทศต่างๆ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว  ทรงมีพระราชธิดาพระองค์เดียว จากพระนางเจ้าสุวัทนา ราชพระองค์เดียว จากพระนางเจ้าสุวัทนา นาที  พระชนมพรรษาเป็น๒๖  พฤศจิกายน    ปีที่ ๔๖  เสด็จพระมหากษัตริย์ของประเทศที่มีสัมพันธไมตรีกับประเทศไทย  กับข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ซึ่งเป็นตัวแทนของประมุขประเทศต่างๆ ธิดาพระมงกุฏพระบาทสมเด็จเกล้าเจ้าอยู่หัว  ทรงมีพระดำรงสิริราชสมบัติได้