โทษ ใบประกอบวิชาชีพ นี้ ร้ายแรง ที่สุด คือ ข้อ ใด

โทษ ใบประกอบวิชาชีพ นี้ ร้ายแรง ที่สุด คือ ข้อ ใด

 

...�Թ�յ�͹�Ѻ��躷���¹..."�����¡Ѻ�ԪҪվ��Һ��"....���Թ��� �ѹ�ķ���...�Է����¾�Һ�� ����Ҫ���� �����...

˹��·�� 2 : ����Ҫ�ѭ�ѵ��ԪҪվ��þ�Һ����С�ü�ا�����

����˹���

     �������Ҫ�ѭ�ѵ��ԪҪվ��þ�Һ����С�ü�ا����� ���˹�������� 2 ������ ���

          1. ������Ѻ����Сͺ�ԪҪվ����оĵԼԴ���¸�������ԪҪվ�������˹����

          2. �ɷҧ�ҭҵ����衮�����ԪҪվ��˹����

    㹡�û�Сͺ�ԪҪվ  �����¡�˹����������һ�Сͺ�ԪҪվ� ��ͧ�ѡ�Ҩ��¸�������ԪҪվ �������˹����㹢�ͺѧ�Ѻ (�ҵ�� 32) �ѧ����ҡ�ա�ý�ҽ׹��ͧ���Ѻ�� ��觺�������Ѻ����Сͺ�ԪҪվ �������Ӥѭ�ѧ��� ���

1)      ��ҡ���ǵѡ��͹

2)      �Ҥ�ѳ��

3)      �ѡ���͹حҵ

4)      �ԡ�͹�͹حҵ

                �����ҡ���ǵѡ��͹���͡���Ҥ�ѳ���� ���ɷ��������Ѻ�����Դ�����������ç �������͡�������зӼԴ���Ѻ��ا��䢾ĵԡ���㹡�û�Сͺ�ԪҪվ�ͧ����ǹ��þѡ���͹حҵ��С���ԡ�͹�͹حҵ��鹶��������ɷ�������ç������Ѻ����Сͺ�ԪҪվ����оĵԼԴ���ҧ�����ç 㹡�û�Сͺ�ԪҪվ ����Ѻ��þѡ���͹حҵ��С���ԡ�͹�͹حҵ��� �������繡���Դ�͹�Է�Ԣͧ����Сͺ�ԪҪվ �֧���繵�ͧ�ա�á��蹡�ͧ�ҡ��ҹ�¡������繼���ԹԨ��ª��Ҵ (�ҵ�� 26 (4))���ҧ�á�� �ҡ��ҹ�¡������դ�����繷��Ѵ��駡Ѻ��Ԣͧ��С������㹡�þѡ���͹حҵ���͡���ԡ�͹�͹حҵ�ѧ����� ��餳С��������ҡ�þ�Һ�����ա�û�Ъ���Ԩ�ó��ա������������Ժ�ѹ�Ѻ������ѹ���Ѻ��Һ����Ѻ��� ����ա���׹�ѹ��������¡����ͧ�����ͧ�ӹǹ������÷�駤�С������Թ��õ����Թ���� ���������繤ҹ�ӹҨ�ͧ��ҹ�¡����ɻ�С��˹�� ����ѧ����繡�������������дѺ�٧�����дѺ��º��㹡�á��蹡�ͧ�����Դ��繢ͧ���ͧ�ա����˹��  ����Ѻ�ɾѡ��͹حҵ��鹡����¡�˹����ѡ���͹حҵ������Թ 2 �� �ѧ��鹷ҧ��С������ϨС�˹�������㴡������ͧ����Թ 2 �յ����衮���¡�˹���� ��ǹ����ԡ�͹�͹حҵ��� ������Ѻ�ɹ���ѧ���͡�ʷ��Т��͹حҵ���ա 2 ������� �����á��ͧ�͵�ͤ�С���������ͧ������ 2 �� �Ѻ������ѹ���١����ԡ�͹��͹ ����ҡ��С�����û���ʸ���� �����͡���ա���� �µ�ͧ�����ú˹�觻չѺ������ѹ��褳С������ϻ���ʸ����͡�͹حҵ �ҡ㹤��駷���ͧ�ѧ���Ѻ��û���ʸ�ҡ��С������� ������Ҽ��������Է�Է����Ѻ�͹حҵ�繡�ö���

             ��ǹ���ա��С��˹�觤�� �ɷҧ�ҭ� �����Ҩ��� ��èӤء ���ͻ�Ѻ���ͷ�駨ӷ�駻�Ѻ��� ���˹������ҵ�� 46,47,48���48 ��� ��ҵ�Ҵѧ�������ѧ�Ѻ��駼���Сͺ�ԪҪվ��кؤ�ŷ����������Сͺ�ԪҪվ���� ������ҧ�� �ؤ����¹͡���ͺ��ҧ��ҵ��繼���Сͺ�ԪҪվ �ҡ����Сͺ�ԪҪվ���١�ѡ�����Ͷ١�ԡ�͹�͹حҵ��������Է��㹡�û�Сͺ�ԪҪվ�蹡ѹ (�ҵ�� 43,27) �ҡ�ա�ý�ҽ׹���ͧ���Ѻ�ɵ��������  ����ѧࡵ ��ҡ�þ�Һ��������Է�Է���������ҽ׹�Ӥء�������Ѻ�ɷҧ�ҭ���� � ��е�ͧ�������繼���ԹԨ��ª��Ҵ�����кǹ����صԸ����ҧ�ҭ�   ��觷���ҾԨ�óһ�С�öѴ�� ��� �ҡ����Сͺ�ԪҪվ϶١�Ծҡ�Ҩ��֧����ش���Ӥء �ŷ�����ҵ������Ҫ�ѭ�ѵ��ԪҪվ��þ�Һ����С�ü�ا����� ��������鹵�ͧ�Ҵ�س���ѵԡ������Ҫԡ���ѭ ���������Է�Է����ͺ��鹷���¹����Ѻ�͹حҵ���� �֧������ͧ����ͧ���Ѵ���ѧ㹡�û�Ժѵ�˹�ҷ�����

โทษ ใบประกอบวิชาชีพ นี้ ร้ายแรง ที่สุด คือ ข้อ ใด
���Թ��� �ѹ�ķ���

โทษ ใบประกอบวิชาชีพ นี้ ร้ายแรง ที่สุด คือ ข้อ ใด

โทษ ใบประกอบวิชาชีพ นี้ ร้ายแรง ที่สุด คือ ข้อ ใด

  • หน้าหลักครูวันดี
  • ข่าววันนี้
  • ข่าวการศึกษา
  • โทษพักใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู นานแค่ไหน

โทษพักใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู นานแค่ไหน

โทษ ใบประกอบวิชาชีพ นี้ ร้ายแรง ที่สุด คือ ข้อ ใด

นำเสนอข่าวโดย >> ทีมงานครูวันดีดอทคอม ส่งข่าวนี้ เข้าไลน์

โทษ ใบประกอบวิชาชีพ นี้ ร้ายแรง ที่สุด คือ ข้อ ใด
ก- ก+

โทษพักใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู นานแค่ไหน

.....การนำเสนอข้อสอบ ทั้งที่เป็นข้อสอบเก่า ที่เคยออกมาของการสอบสายครูทุกตำแหน่ง ไม่ว่าจะเป็นสอบแข่งขันหรือคัดเลือกในตำแหน่งครูผู้ช่วย บุคลากรทางการศึกษา สอบคัดเลือกผู้บริหารสถานศึกษา หรือผู้บริหารการศึกษา หรือข้อสอบสมมุติที่จัดทำขึ้นมาเทียบเคียง หรือข้อสอบในลักษณะอื่น เป็นจุดประสงค์หนึ่งของเว็บไซต์นี้ ที่เริ่มจากกำหนดประเด็นเนื้อหาที่ตรงกับหลักสูตรสอบฯ ตั้งคำถามเป็นข้อสอบจะเป็นประเภทปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือก นำเสนอข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมาย นำวิเคราะห์เพื่อหาและสรุปตัวเลือกที่ถูกต้อง เสนอเพิ่มเติมในประเด็นเดียวกันหากคำถามพลิกแพลงไปถามในลักษณะอื่น คำตอบก็จะเปลี่ยนไปด้วย รวมทั้งการอ้างอิงถึงแหล่งข้อมูลค้นคว้า ทั้งนี้เพื่อเป็นอีกช่องทางหนึ่งให้ผู้สนใจเข้ามาศึกษาเรียนรู้ เพื่อเตรียมตัวสอบเข้าสู่ตำแหน่งหรือเลื่อนตำแหน่งในสายครู.... เราเริ่มนับหนึ่งกันเลยไหมครับ....

..... ประเด็น ... โทษพักใช้ใบประกอบวิชาชีพครู......
....คำถาม
ถามว่า ; เมื่อถูกพักใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู อีกกี่ปีจึงจะขอใหม่ได้
ก. 2 ปี
ข. 3 ปี
ค. 5 ปี
ง. ไม่เกิน 5 ปี

.... ข้อประเดิมคิดว่า กล้วย ๆ หมู ๆ เมื่อดูดี ๆ ไม่ใช่แล้ว ข้อนี้...ขอบอกก่อนว่า ใครตอบ 2 ปี, 3 ปี, 5 ปี, ไม่เกิน 5 ปี อันนี้ทุกข้อถูกหมด แต่ข้อไหนเป็นแต้ม ค่อยไปดูกัน ...ส่วนคนไหนคิดว่าชัวร์ เลือกตอบ 5 ปี (คงยิ้มพร้อมระบายดินสอดำ 2 B อย่างบรรจง ประเภทอ่านกิน) ขอบอกว่า...กรรมโคตร คุณถูกหลอกแล้ว...

.... ข้อเท็จจริง/ข้อกฎหมาย
.... มาดูกฎหมายที่เกี่ยวข้องก่อนนะ ได้แก่
1. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 และข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ 2548 และ 2556 ปน ๆ กันไป มีสาระสำคัญ ดังนี้....
- ม.4 ( ม คือ มาตรา) ใบอนุญาต คือ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ออกให้กับวิชาชีพควบคุม ได้แก่ ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา (ซึ่ง 3 กลุ่มนี้เป็นวิชาชีพควบคุม ตาม พรบ.นี้) และศึกษานิเทศก์ (เป็นวิชาชีพควบคุมที่กำหนดตามกฎกระทรวงฯ) แสดงว่า 4 พวกนี้ต้องมีใบวิชาชีพนั้นเอง
- ม.6 คุรุสภามีอำนาจพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต ออกข้อบังคับเกี่ยวกับใบอนุญาต จรรยาบรรณวิชาชีพ
- ม. 20 คณะกรรมการคุรุสภา มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยคำอุทธรณ์คำสั่งของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ (ลงโทษผู้ประพฤติผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ)
- ม.25 คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ มีอำนาจพิจารณาออก พักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตวิชาชีพ
- ม.49 คุรุสภาออกข้อบังคับว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ ได้แก่ มาตรฐานความรู้ประสบการณ์ มาตรฐานการปฏิบัติงาน และมาตรฐานปฏิบัติตน (คือจรรยาบรรณ 5 ด้าน ต่อตนเอง ต่อวิชาชีพ ต่อผู้รับบริการ ต่อผู้ร่วมวิชาชีพ ต่อสังคม แต่ละด้านมีรายละเอียดไปเขียนไว้ในข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานและ จรรยาบรรณวิชาชีพฯ ซึ่งก็คือ จรรยาบรรณวิชาชีพ 5 ด้าน 9 ข้อ นั้นเอง)
- ม.51 หากมีข้อร้องเรียน กล่าวหาว่าผู้ประกอบวิชาชีพ 4 กลุ่ม ประพฤติผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ (มาตรฐานปฏิบัติตน 5 ด้าน 9 ข้อ) จะต้องถูกสอบสวนและหากผิดต้องถูกลงโทษ ตามมาตรา 54
- ม.54 คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพวินิจฉัยลงโทษ กรณีตามมาตรา 51 หากไม่ผิดก็ไม่มีโทษ (ยกข้อกล่าวหา) หากผิดโทษที่ได้รับจากระดับเบาไปหนัก คือ ตักเตือน ภาคทัณฑ์ พักใช้ และ เพิกถอนใบอนุญาต
...... กรณีพักใช้เขียนชัดเจนว่า"พักใช้ใบอนุญาตมีกำหนดเวลาตามเห็นสมควร แต่ไม่เกิน 5 ปี หมายถึง คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพวินิจฉัยกำหนด ว่า 1 เดือน 2 ปี 3 ปี ก็ได้ แต่สูงสุดต้องไม่เกิน 5 ปี (เพราะใบอนุญาตมีอายุไข 5 ปี)....
- ม. 78 ผู้ประกอบวิชาชีพ 4 กลุ่มไม่มีใบอนุญาตฯ แล้วไปทำหน้าที่นั้นๆ จับได้จะถูกลงโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 2 หมื่นบาทหรือทั้งจำและปรับ
- ม.79 ผู้ประกอบวิชาชีพไม่มีใบวิชิาชีพ ทำหน้าที่โดยอ้างว่ามีใบฯ รับคนไม่มีใบฯ มาทำงาน หรือ ถูกพักใช้ใบฯ แล้วยังมาทำหน้าที่ อันนี้โทษหนักขึ้น 3 เท่า คือ จะถูกลงโทษ จำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6 หมื่นบาท หรือ ทั้งจำและปรับ

2. ข้อบังคับว่าด้วยใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ 2547 มีสาระสำคัญ ดังนี้....
- ข้อ 18 ใบอนุญาตให้มีอายุใช้ได้เป็นเวลาห้าปี นับแต่วันออกใบอนุญาต
- ข้อ 21 ใบอนุญาตสิ้นสุดลงในกรณี ใบอนุญาตหมดอายุ ถูกสั่งเพิกถอน ถูกสั่งพักใช้
- ข้อ 22 ผู้ที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต เมื่อพ้นกำหนดห้าปีนับแต่วันที่ถูกสั่งเพิกถอนประสงค์ขอรับใบอนุญาตตาม ประเภทที่เคยได้รับ ให้ยื่นคำขอได้

.... การวิเคราะห์
.... จากกฎหมายหลักทั้งสองกลุ่ม จะพบว่า
- ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู 4 กลุ่มนั้น หากประพฤติผิดมาตรฐานปฏิบัติตน (จรรยาบรรณวิชาชีพ) เท่านั้น ถึงจะถูกลงโทษทางวิชาชีพ หากไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานความรู้ฯ หรือมาตรฐานปฏิบัติงาน จะไม่ถูกลงโทษวิชาชีพฯ

- ผู้มีอำนาจลงโทษ คือคุรุสภา แต่คุรุสภาเป็นอากาศไม่ใช่คน กฎหมายจึงให้คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพเป็นคณะวินิจฉัยและลงโทษ ผู้ถูกลงโทษสามารถอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการคุรุสภา

- ถูกลงโทษพักใช้ใบฯ จะทำหน้าที่นั้น ๆ ไม่ได้ ตามระยะที่คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพวินิจฉัยกำหนด ว่าเหมาะสมแค่ไหน เช่น พักสัก 3 เดือน 1 ปี 3 ปี หรือ 5 ปี ก็ได้ แต่ต้องไม่เกิน 5 ปี เพราะอายุใบฯ มันแค่ 5 ปี หากสั่งพักเกิน 5 ปี อย่างนี้ร้องให้หนักมาก

- ถูกลงโทษเพิกถอน ไม่กำหนดเวลาเพิกถอนก็ปี เพราะเพิกถอนคือยึดใบ ใบมันมีอายุ 5 ปี พ้นอายุใบโน้น...ถึงมาขอใหม่

โทษ ใบประกอบวิชาชีพ นี้ ร้ายแรง ที่สุด คือ ข้อ ใด

.... สรุปเลือกตัวเลือก
.... คำตอบที่เป็นคะแนนคือ ง.ไม่เกิน 5 ปี
.... ความจริงก็ไม่ต้องคิดลึกเหมือนที่วิเคราะห์หรอก กฎหมายเขียนชัด (พักใช้ใบอนุญาตมีกำหนดเวลาตามเห็นสมควร แต่ไม่เกิน 5 ปี ) แต่วิเคราะห์ให้เห็นที่ไปที่มา ให้เข้าใจ ไม่ใช่จำเพราะท่อง หากเปลี่ยนคำถาม สับคำตอบ เราไม่หลงกลได้.....

.... คำถามลักษณะอื่น
1. หากถูกเพิกถอนใบอนุญาต จะขอใหม่ได้เมื่อใด...(เมื่อพ้นกำหนดห้าปี นับแต่วันที่ถูกสั่งเพิกถอน)
2. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพใช้มาแล้ว 2 ปี จะมีอายุการใช้งานอีกกี่ปี....(3 ปี) อันนี้ถามเชยมั๊ก ๆ
3. ใครเป็นผู้ลงโทษสังพักใบอนุญาตวิชาชีพ...(คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ) ใครเป็นผู้ลงนามคำสั่งพักใบอนุญาตวิชาชีพ...(ประธานคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ) หากถามว่าใครเป็นผู้มีอำนาจลงโทษพักฯ....(อันนี้ตอบคุรุสภา) ถูกลงโทษภาคทัณฑ์จะอุทธรณ์ต่อใคร...(คณะกรรมการคุรุสภา อย่าหลงตอบ อ.ก.ค.ศ. (กศจ.) ล่ะ เพราะมันคนละเรื่อง)
4. สมบัติได้ใบอนุญาตวิชาชีพครู ดูวันออก 10 มกราคม 2557 หมดอายุ 9 มกราคม 2562 ต่อมา 10 มกราคม 2558 กรรมโคตร ถูกร้องเรียนเอาวินัยฯ ละเมิดนักเรียนเสียด้วย ข่าวหน้าหนึ่ง คุณคุรุสภาเอาด้วย จึงโดนสอบจรรยาบรรณวิชาชีพ ใจเต้นตุ้ม ๆ ต๋อม ๆ ต่อมา วันที่ 10 มกราคม 2559 โทษสั่งพักใบอนุญาตมาแล่ะ.....ถามว่าโทษสูงสุดคือข้อไหน 1) สั่งพัก 2 ปี 2) สั่งพัก 3 ปี 3) สั่งพัก 4 ปี 4) สั่งพัก 5 ปี .....อันนี้ตอบ 2) สั่งพัก 3 ปี เพราะไร เพราะ...ใบมีอายุ 5 ปี ใช้ไป 2 ปี เหลืออายุ 3 ปี หากสั่งพัก 5 ปี ...ผมว่าซวยโคตรนะ... ต้องไปอาบน้ำมนต์ 5 วัด 9 วัด แน่...
5. ปละ. ปละ.ปละ....กลับไปอ่านข้างบน..เชื่อว่าตอบได้หมด

.... ข้อมูลอ้างอิง
1. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
2. ข้อบังคับว่าด้วยใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ 2547 ฉบับ 2 พ.ศ. 2557
3. ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ 2548 และ 2556
4. ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยการพิจารณาการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2553

สอบได้ไม่ง้อติว ; dr.borworn

ขอบคุณเนื้อหาและที่มาของข่าวจาก :: เฟซบุ๊กแฟนเพจ สอบได้ ไม่ง้อติว วันที่ 8 พฤษภาคม 2559

TAGS ที่เกี่ยวข้อง >>

ผู้ประพฤติผิดจรรยาบรรณวิชาชีพจะได้รับโทษที่หนักที่สุดคืออะไร

- สาหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีเมื่อประพฤติผิดจรรยาบรรณ นอกจากจะได้รับโทษหนักเบาตามเหตุของ การประพฤติผิด ซึ่งร้ายแรงที่สุดก็คือการเพิกถอนใบอนุญาตหรือเพิกถอนการขึ้นทะเบียนหรือสั่งให้พ้นจากการเป็น

โทษของผู้ประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพครูมีอะไรบ้าง

Station IV จรรยาบรรณวิชาชีพครู มาตรา 54 คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ มีอํานาจวินิจฉัยชี้ขาดอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ 1. ยกข้อกล่าวหา 2. ตักเตือน 3. ภาคทัณฑ์ 4. พักใช้ใบอนุญาต มีกําหนดเวลาตามที่เห็นสมควร แต่ไม่เกิน 5 ปี 5. เพิกถอนใบอนุญาต

โทษของการผิดจรรยาบรรณวิชาชีพมีกี่ระดับ

มาตรา ๔๙ โทษการประพฤติผิดจรรยาบรรณ มีดังต่อไปนี้ (๑) ตักเตือนเป็นหนังสือ (๒) ภาคทัณฑ์ (๓) พักใช้ใบอนุญาต พักการขึ้นทะเบียน หรือห้ามการประกอบวิชาชีพบัญชีด้านที่ประพฤติผิดจรรยาบรรณโดยมีกำหนดเวลา แต่ไม่เกินสามปี

การวินิจฉัยโทษให้พักใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูสามารถกำหนดโทษได้เท่าใด

- ม.79 ผู้ประกอบวิชาชีพไม่มีใบวิชิาชีพ ทำหน้าที่โดยอ้างว่ามีใบฯ รับคนไม่มีใบฯ มาทำงาน หรือ ถูกพักใช้ใบฯ แล้วยังมาทำหน้าที่ อันนี้โทษหนักขึ้น 3 เท่า คือ จะถูกลงโทษ จำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6 หมื่นบาท หรือ ทั้งจำและปรับ