ข้อใดคือความหมายของแนวคิดแยกย่อย

1. ข้อใดอธิบายความหมายของแนวคิดเชิงนามธรรม (abstract thinking) ได้อย่างชัดเจน 1. เป็นแนวคิดหนึ่งในการแก้ไขปัญหา และเป็นองค์ประกอบของแนวคิดเชิงคำนวณ
2. หลักในการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ
3. ขั้นตอนการทำงานของเทคโนโลยีอย่างละเอียดพร้อมวิธีการใช้งาน
4.  รูปแบบการทำงานที่ทำงานร่วมกันและสร้างวิธีการทำงานร่วมกัน 2. การคิดเชิงคำนวณมีประโยชน์อย่างไร
1. ช่วยให้ทักษะการคิดเปรียบเสมือนคอมพิวเตอร์ 2. แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตได้อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอน 3. ทำงานต่าง ๆได้อย่างรวดเร็ว
4. จดจำและบันทึกข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก 3. หลักการคิดเชิงคำนวณสามารถนำไปประยุกต์ในสถานการณ์ได้บ้าง
1. การจัดเรียงสินค้า ณ ห้างสรรพสินค้า
2. การวางแผนจัดร้านค้า
3. การคำนวณการเล่นกีฬาโดยใช่สถิติเข้ามาเกี่ยวข้อง
4. ถูกทุกข้อ 4. การคิดเชิงนามธรรมแบ่งได้เป็นกี่รูปแบบ
1.  2
2.  3 3.  4 4.  5 5. การคัดเลือกคุณลักษณะที่จำเป็นต่อการแก้ปัญหา เหมาะกับรูปแบบข้อมูลเป็นอย่างไร
1. รายละเอียดจำนวนมากและข้อมูล
2. รายละเอียดและข้อมูลน้อย 3. ข้อมูลที่ซับซ้อน
4. ถูกทุกข้อ 6. ขั้นตอน Logical idea คือขั้นตอนใดของการบวนการคิด
1. ทำงานร่วมกัน
2. ความคิดริเริ่ม 3. คิดเป็นระบบ
4. มีเหตุมีผล 7. การ Debugging คือวิธีใดในกระบวนการคิดเชิงคำนวณ
1. การคิดริเริ่มสร้างสรรค์
2. การแก้ไขจุดบกพร่อง 3. สร้างความอดทน ความพยายาม 4. สร้างความชัดเจน
ข้อใดคือความหมายของแนวคิดแยกย่อย
จากรูปจงใช้ตอบคำถาม 8 - 10
8. จากข้อความข้างต้นจงคัดกรองข้อมูล คือข้อมูลประกอบด้วยอักษรใดบ้าง 1. G o d M r n i g
2. G o o d M o r n i n g 3.G o o d M n  r i g 4. G M n 9. แยกเป็นสีได้ทั้งหมดกี่สี
1.  5 สี
2.  6 สี 3.  7 สี 4.  8 สี 10. ประกอบด้วยคำภาษาอังกฤษกี่คำ
1.   1 คำ
2.  2 คำ 3.  3 คำ 4.  4 คำ 11. แนวคิดเชิงนามธรรม เป็นองค์ประกอบของแนวคิดใดต่อไปนี้ 1.  แนวคิดเชิงคำนวณ 2.  แนวคิดเชิงตรรกะ 3.  แนวคิดเชิงรวบยอด 4.  แนวคิดการแยกย่อย 12. ข้อใดกล่าวถึงแนวคิดเชิงคำนวณไม่ถูกต้อง 1.  เป็นการคิดเหมือนหุ่นยนต์ 2.  เป็นการแก้ปัญหาแบบมีลำดับขั้นตอน 3.  เป็นทักษะที่นักพัฒนาซอฟต์แวร์ต้องมี 4.  มีแนวคิดเชิงนามธรรมเป็นหนึ่งในทักษะย่อย 13. การมุ่งเน้นความสำคัญของปัญหา โดยไม่สนใจรายละเอียดที่ไม่จำเป็น สอดคล้องกับแนวคิดใด 1.  แนวคิดเชิงรูปธรรม 2.  แนวคิดเชิงนามธรรม 3.  แนวคิดการแยกย่อย 4.  แนวคิดเชิงรวบยอด 14. การแก้ปัญหาโดยการออกแบบกระบวนการทำงานอย่างเป็นลำดับขั้นตอน สอดคล้องกับแนวคิดใด 1.  แนวคิดเชิงรูปธรรม 2.  แนวคิดเชิงนามธรรม 3.  แนวคิดการจดจำรูปแบบ 4.  แนวคิดการออกแบบขั้นตอน 15. ข้อใดไม่ใช่ทักษะย่อยของแนวคิดเชิงคำนวณ 1.  แนวคิดเชิงรูปธรรม 2.  แนวคิดเชิงนามธรรม 3.  แนวคิดการแยกย่อย 4.  แนวคิดการจดจำรูปแบบ 16. ข้อใดสอดคล้องกับแนวคิดการแยกย่อย 1.  การแยกแยะปัญหา 2.  การคัดเลือกวัสดุที่นำมาใช้ทำชิ้นงาน 3.  การหาแนวคิดรวบยอดของแต่ละปัญหาย่อย 4.  การออกแบบลำดับขั้นตอนของการแก้ปัญหา 17. แนวคิดเชิงนามธรรม (Abstraction) หมายถึงอะไร 1.  แตกปัญหากระบวนการออกเป็นส่วนย่อย 2.  ดูความเหมือนความแตกต่างของรูปแบบการเปลี่ยนแปลง 3.  มุ่งเน้นความสำคัญของปัญหาโดยไม่สนใจรายละเอียดที่ไม่จำเป็น 4.  แก้ปัญหาโดยการออกแบบกระบวนการทำงานอย่างเป็นลำดับขั้นตอน 18. ข้อใดไม่ใช่คำจำกัดความของแนวคิดเชิงคำนวณ 1. ๆม่ๆด้จำกัดอยู่แค่เพียงคอมพิวเตอร์ 2. ต้องเป็นคอมพิวเตอร์เท่านั้น 3. คือกระบวนการคิดแก้ปัญหาของมนุษย์ 4. ช่วยให้ปัญหาที่ซับซ้อนเข้าใจได้ง่ายขึ้น 19. รูปแบบ Pattern Recognition คือขั้นตอนใดของแนวคิดเชิงคำนวณ 1. การย่อยปัญหา 2. การเรียงลำดับของปัญหา 3. หารูปแบบหรือลักษณะที่เหมือนกันของปัญหา  4. ถูกทุกข้อ 20. อัลกอริทึม คืออะไร 1. การสร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหาทีละขั้นตอน 2. จัดลำดับเชิงตรรกศาสตร์ 3. การออกแบบฐานข้อมูล 4. การออกแบบกราฟิก
1. ข้อใดคือความหมายของ Algorithm 1. กระบวนการแก้ปัญหาที่สามารถเข้าใจได้ 2. การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์ 3. รูปแบบการเขียนโปรแกรม 4. ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม 2. แบบจำลองนามธรรมของคอมพิวเตอร์ คิดค้นขึ้นโดยใคร 1. ชาร์ลส์ แบบเบจ 2. แอลัน ทัวริง 3. ไลนัส ทอร์วัลด์ส 4. เซมัวร์ เครย์ 3. การคิดเชิงคำนวณ คืออะไร 1. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 2. กระบวนการแก้ปัญหาในหลากหลายลักษณะ 3. กระบวนการคิดเชิงวิเคราะห์ 4. การย่อยปัญหาหรือระบบที่ซับซ้อนออกเป็นส่วนเล็กๆ 4. การพัฒนาแนวทางแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นเป็นตอนอยู่ใน 4 หลักของการคิดเชิงคำนวณใด 1. Decomposition (การย่อยปัญหา) 2. Pattern Recognition (การจดจำรูปแบบ) 3. Abstraction (ความคิดด้านนามธรรม) 4. Algorithm Design (การออกแบบอัลกอริทึ่ม) 5. การมุ่งความคิดไปที่ข้อมูลสำคัญ และคัดกรองส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องออกไป เพื่อให้จดจ่อเฉพาะสิ่งที่เราต้องการจะทำอยู่ใน 4 หลักของการคิดเชิงคำนวณใด 1. Decomposition (การย่อยปัญหา) 2. Pattern Recognition (การจดจำรูปแบบ) 3. Abstraction (ความคิดด้านนามธรรม) 4. Algorithm Design (การออกแบบอัลกอริทึ่ม) 6. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใดเป็นหน่วยประมวลผล 1. RAM 2. ROM 3. CPU 4. DVD 7. อุปกรณ์ใดไม่ใช่หน่วยรับข้อมูล 1. คีบอร์ด 2. เมาส์ 3. ไมโครโฟน 4. RAM 8. ตัวแยกประเภทโดยทั่วไปนิยมแบ่งออกเป็นกี่ประเภท 1. 2 ประเภท 2. 3 ประเภท 3. 4 ประเภท 4. 5 ประเภท 9. ข้อใดคือองค์ประกอบหลักสำคัญของระบบการรู้จำแบบ 1. ลักษณะเด่น, การแบ่งประเภท 2. ลักษณะเด่น, ตัวแยกประเภท 3. ตัวแยกประเภท, การแบ่งประเภท 4. การแบ่งกลุ่ม, การแบ่งประเภท 10. การอนุมานหมายถึง 1. แบบจำลองความคิด - การสร้างวัตถุเสมือนจากสิ่งอื่นที่เป็นรูปธรรม หรือนามธรรม 2. การกล่าวถ้อยคำในเชิงแสดงความคิดเห็นและปรึกษา 3. การทำงานของสำเนียงทางจิตการแยกโครงสร้างบางองค์ประกอบ  องค์ประกอบบางอย่างและการลบออกจากรายละเอียดอื่น ๆ 4. แนวคิดที่มีสัญญาณของชุดขององค์ประกอบ 11. ประโยชน์ของการคิดเชิงนามธรรมคืออะไร 1. ช่วยให้เข้าใจปัญหา และมองเห็นปัญหาได้ชัดเจนขึ้น 2. ทำให้เห็นรายละเอียดของสิ่งที่สนใจได้ชัดเจนทั้งหมด 3. การออกแบบชิ้นงานตรงกับสภาพจริงทุกประการ 4. ช่วยลดขั้นตอนการทำงานที่มีความซ้ำซ้อน 12. การคิดเชิงคำนวณมีประโยชน์อย่างไร 1. ช่วยให้มีทักษะการคิดเหมือนคอมพิวเตอร์ 2. แก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอน 3. ตอบปัญหาโจทย์ทางคณิตศาสตร์ได้อย่างรวดเร็ว 4. จดจำข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก 13. หลักการคิดเชิงคำนวณสามารถนำไปประยุกต์ในสถานการณ์ใดได้บ้าง 1. การค้นหาสินค้าในห้างสรรพสินค้า 2. การวางแผนเปิดร้านอาหารในงานเทศกาลโรงเรียน 3. การคำนวณสถิติการทำประตูของนักกีฬาฟุตบอล 4. ถูกทุกข้อ 14. สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคำนวณ 1. แพทย์วิเคราะห์หาสาเหตุการป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกของผู้ป่วยในชุมชนโดยการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อหาความเกี่ยวข้อง ระหว่างสภาพแวดล้อมและการแพร่ระบาดของโรค 2. นักเรียนจดรายละเอียดทุกขั้นตอนของบทเรียนคณิตศาสตร์ที่เรียนในห้องเรียน และท่องจำเพื่อใช้ในการสอบปลายภาค 3. นักท่องเที่ยวเดินทางไปยังสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ ที่อยากไปโดยไม่ต้องวางแผนล่วงหน้า 4. ชาวนาหันมาปลูกยางพารา แทนการปลูกข้าวในพื้นที่นาทั้งหมด เนื่องจากรัฐบาลประกาศให้ ราคายางพาราดีกว่าราคาข้าว ในปีที่ผ่านมา 15. ส่วนประกอบย่อยใดไม่ถูกต้อง 1. ทวีปเป็นส่วนประกอบย่อยของโลก 2. โลกเป็นส่วนประกอบย่อยของระบบสุริยะ 3. รุ้งกินน้ำเป็นส่วนประกอบย่อยของก้อนเมฆ 4. ประตูเป็นส่วนประกอบย่อยของบ้าน 16. การเขียนโปรแกรมใช้หลักการใดของแนวคิดเชิงคำนวณ 1. การหารูปแบบ 2. การแยกส่วนประกอบและการย่อยปัญหา 3. การคิดเชิงนามธรรม 4. ถูกทุกข้อ 17. เกมอยู่ในหมวดจำลองใด 1. แบบจำลองความคิด 2. หุ่นจำลอง หรือโมเดลฟิกเยอร์ 3. แอ็กชันฟิกเยอร์ 4. แบบจำลองสามมิติ 18. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ “ความมุ่งหมายของการอภิปราย” 1. เพื่อเสนอปัญหาหรือเรื่องบางอย่าง 2. ให้คนกลุ่มหนึ่งมาร่วมแสดงความคิดเห็น 3. ผู้ร่วมอภิปรายเสนอข้อเท็จจริง 4. การสร้างกิจกรรมทางจิต 19. การอภิปรายมีกี่ประเภท 1. 2 ประเภท 2. 3 ประเภท 3. 5 ประเภท 4. 6 ประเภท 20. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของผู้อภิปราย 1. เป็นผู้มีความสนใจหรือรู้เรื่องที่จะอภิปราย 2. เป็นผู้ที่พูดนอกเรื่องในเวลาขึ้นอภิปราย 3. ต้องพูดด้วยเหตุผล เวลาพูดอะไรออกไปก็ไม่ต้องพูดซ้ำซาก 4. รักษาเวลาของการพูดโดยเคร่งครัด 21. ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีกี่ขั้นตอน 1. 3 ขั้นตอน 2. 4 ขั้นตอน 3. 5 ขั้นตอน 4. 6 ขั้นตอน 22. ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหาได้ถูกต้อง 1. สิ่งที่ต้องการ => รูปแบบผลลัพธ์ => ข้อมูลนำเข้า => ตัวแปรที่ใช้ => วิธีการประมวลผล => ภาษาที่ใช้ 2. สิ่งที่ต้องการ => ข้อมูลนำเข้า => ตัวแปรที่ใช้ =>รูปแบบผลลัพธ์ => วิธีการประมวลผล => ภาษาที่ใช้ 3. สิ่งที่ต้องการ => รูปแบบผลลัพธ์ => ตัวแปรที่ใช้ => ข้อมูลนำเข้า => วิธีการประมวลผล => ภาษาที่ใช้ 4. สิ่งที่ต้องการ => รูปแบบผลลัพธ์ => ตัวแปรที่ใช้ => วิธีการประมวลผล => ข้อมูลนำเข้า => ภาษาที่ใช้ 23. ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนการแก้ปัญหา 1. การแจ้งปัญหาให้ผู้ดูแลตรวจสอบปรับปรุงระบบ 2. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 3. การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา 4. การดำเนินการแก้ปัญหา 24. ข้อใดไม่ได้อยู่ในหลักเกณฑ์ที่ต้องดำเนินการวิเคราะห์ปัญหา 1. รูปแบบผลลัพธ์ 2. ข้อมูลนำเข้า 3. ข้อมูลนำออก 4. ตัวแปรที่ใช้ 25. การเขียน Flowchart มีความหมายตรงกับข้อใด 1. การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา 2. การดำเนินการแก้ปัญหาโดยคำพูด 3. การแสดงการทำงานของคอมพิวเตอร์ 4. การใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์ ที่ใช้เขียนแทนคำอธิบาย 26. ข้อใดคือการจำลองขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาในรูปของคำบรรยาย 1. Flowchart 2. Algorithm 3. Pseudocode 4. Refinement 27. สัญลักษณ์ที่นิยมในการเขียน Flowchat แบ่งออกเป็นกี่กลุ่ม 1. 3 กลุ่ม 2. 4 กลุ่ม 3. 6 กลุ่ม 4. 7 กลุ่ม 28. 
ข้อใดคือความหมายของแนวคิดแยกย่อย
สัญลักษณ์นี้มีความหมายตรงกับข้อใด 1. การเริ่มต้น 2. การรับ – ส่งข้อมูล 3. การตัดสินใจ 4. การประมวลผล 29.
ข้อใดคือความหมายของแนวคิดแยกย่อย
สัญลักษณ์นี้มีความหมายตรงกับข้อใด 1. การเริ่มต้น 2. การรับ – ส่งข้อมูล 3. การตัดสินใจ 4. การประมวลผล 30.
ข้อใดคือความหมายของแนวคิดแยกย่อย
สัญลักษณ์นี้มีความหมายตรงกับข้อใด 1. แสดงการเก็บข้อมูล 2. การรับ – ส่งข้อมูลโดยใช้แถบแม่เหล็ก 3. แสดงการหน่วงเวลาการประมวลผล 4. การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ 31. สัญลักษณ์ใดคือการเริ่มเขียน Flowchart 1.
ข้อใดคือความหมายของแนวคิดแยกย่อย
2.
ข้อใดคือความหมายของแนวคิดแยกย่อย
3.
ข้อใดคือความหมายของแนวคิดแยกย่อย
4.
ข้อใดคือความหมายของแนวคิดแยกย่อย
32. คำสั่ง if, if…else, switch, case อยู่ในลักษณะโครงสร้างใด 1. โครงสร้างแบบลำดับ 2. โครงสร้างแบบทางเลือก 3. โครงสร้างแบบเงื่อนไข 4. โครงสร้างแบบทำซ้ำ 33.
ข้อใดคือความหมายของแนวคิดแยกย่อย
จากภาพคือลักษณะโครงสร้างใด 1. โครงสร้างแบบลำดับ 2. โครงสร้างแบบทางเลือก 3. โครงสร้างแบบเงื่อนไข 4. โครงสร้างแบบทำซ้ำ 34. การระบุข้อมูลเข้าข้อมูลออกอยู่ในกระบวนการใดของการแก้ปัญหา 1. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 2. การเลือกเครื่องมือและออกแบบวิธีขั้นตอน 3. การดำเนินการแก้ปัญหา 4. การตรวจสอบและปรับปรุง 35. หากนักเรียนต้องการหาคะแนนเฉลี่ยวิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียน 30 คน ข้อมูลนำเข้าคือข้อใด 1. คะแนนของนักเรียนแต่ละคน 2. สูตรหาค่าเฉลี่ย 3. ผลลัพธ์ที่ได้ 4. วิชาคอมพิวเตอร์ 36. ข้อใด ไม่ใช่ สิ่งที่ได้จากการวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 1. ข้อมูลที่ต้องนำเข้า 2. รูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการ 3. ผลลัพธ์ที่ได้จากการหาคำตอบ 4. ขั้นตอนหรือวิธีการที่ต้องใช้ในการหาคำตอบ 37. นิลินต้องการหาค่าเฉลี่ยของจำนวนเต็ม 3 จำนวน 2 7 9 สิ่งแรกที่ควรทำคือข้อใด 1. การเลือกเครื่องมือและออกแบบวิธีขั้นตอน 2. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 3. การตรวจสอบและปรับปรุง 4. การดำเนินการแก้ปัญหา 38. โปรแกรมสำเร็จรูปหรือภาษาคอมพิวเตอร์มักถูกนำมาช่วยในขั้นตอนใดของการแก้ปัญหา 1. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 2. การเลือกเครื่องมือและออกแบบวิธีขั้นตอน 3. การดำเนินการแก้ปัญหา 4. การตรวจสอบและปรับปรุง 39. การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำตอบ เรียกว่าอะไร 1. การระบุข้อมูลเข้า 2. การระบุข้อมูลออก 3. การกำหนดวิธีการประมวลผล 4. การขจัด 40. การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมาในปัญหา คือข้อใด 1. การระบุข้อมูลออก 2. การกำหนดวิธีการประมวลผล 3. การระบุข้อมูลเข้า 4. การขจัด

แนวคิดการแยกย่อยหมายถึงอะไร

เป็นการแยกส่วนประกอบเป็นวิธีคิดรูปแบบหนึ่งของแนวคิดเชิงคำนวณ เป็นการพิจารณาเพื่อ แบ่งปัญหาหรืองานออกเป็นส่วนย่อย ทำให้สามารถ จัดการกับปัญหาหรืองานได้ง่ายขึ้น การแตกปัญหาที่ซับซ้อนให้เป็นปัญหาย่อยที่มีขนาดเล็กลงและซับซ้อนน้อยลง เพื่อช่วยให้การวิเคราะห์และออกแบบวิธีการแก้ปัญหาทำได้ง่ายขึ้น ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ...

Decomposition หมายถึงข้อใด

Decomposition (การย่อยปัญหา) หมายถึงการย่อยปัญหาหรือระบบที่ซับซ้อนออกเป็นส่วนเล็กๆ เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการและแก้ปัญหา เช่น หากต้องการเข้าใจว่าระบบของจักรยานทำงานยังไง ทำได้โดยการแยกจักรยานออกเป็นส่วนๆ แล้วสังเกตและทดสอบการทำงานของแต่ละองค์ประกอบ จะเข้าใจได้ง่ายกว่าวิเคราะห์จากระบบใหญ่ที่ซับซ้อน

การแตกปัญหากระบวนการออกเป็นส่วนๆ หมายถึงข้อใด

การแตกปัญหาออกเป็นปัญหาย่อย หรือเรียกว่า ฟังก์ชัน โดยฟังก์ชันคือการนาปัญหาใหญ่ มาแบ่ง ออกเป็นส่วนๆ สาหรับส่วนไหนที่จะต้องใช้งานบ่อย ถ้าสร้างขึ้นในรูปแบบฟังก์ชันจะสามารถเรียกใช้งานได้เลย ไม่ต้องสร้างขึ้นใหม่ทุกครั้งที่ต้องการใช้งาน ช่วยให้สามารถประหยัดเวลา และเกิดความสะดวกมากยิ่งขึ้น ฟังก์ชัน ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ...