ประเทศไทยมีความสัมพันธ์กับประเทศต่าง ๆ ในด้านใดเป็นหลัก

วันที่นำเข้าข้อมูล 20 ส.ค. 2562

วันที่ปรับปรุงข้อมูล 26 ก.ย. 2565

| 7,096 view

การดำเนินการของกระทรวงการต่างประเทศที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล

ประเทศไทยมีความสัมพันธ์กับประเทศต่าง ๆ ในด้านใดเป็นหลัก

ประเทศไทยมีความสัมพันธ์กับประเทศต่าง ๆ ในด้านใดเป็นหลัก

การปกป้องและเชิดชูสถาบันกษัตริย์ และการสร้างความเชื่อมั่นต่อประเทศไทย (นโยบาย รบ. ข้อ ๑, ๒)

แนวทาง

คือ การเน้นย้ำการมองไปข้างหน้า และยืนยันการก้าวไปสู่ประชาธิปไตยที่เข้มแข็ง และยั่งยืนของไทย ตลอดจนศักยภาพในการเป็นศูนย์กลางด้านต่าง ๆ ของไทยจากที่ตั้งทาง ยุทธศาสตร์ ความเข้มแข็งของพื้นฐานทางเศรษฐกิจ และการมีบทบาทในประชาคมระหว่างประเทศ ตลอดจนการสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับ สถาบันฯ

กิจกรรมหลัก

(1)

การชี้แจงต่อคณะทูต/ บุคคลสำคัญ/ decision-makers/ องค์การระหว่างประเทศ/ ภาคเอกชน/ สื่อมวลชน/ ชุมชนไทย ในต่างประเทศ

(2)

การจัดทำ PR Campaign/ การจัด Roadshow

(3)

การเชิญสื่อมวลชนต่างประเทศเยือนไทย

(4)

การดำเนินโครงการต่าง ๆ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับสถาบันฯ

ประเทศไทยมีความสัมพันธ์กับประเทศต่าง ๆ ในด้านใดเป็นหลัก

การกระชับความสัมพันธ์กับต่างประเทศและส่งเสริมบทบาทไทยในเวทีระหว่างประเทศ (นโยบาย รบ. ข้อ ๒, ๖, ๗)

แนวทาง

คือ การสานต่อความร่วมมือกับประเทศ เพื่อนบ้านและนานาประเทศ ทั้งในระดับทวิภาคี และพหุภาคี และต่อยอดความร่วมมือกับประเทศยุทธศาสตร์/ มีศักยภาพ เพื่อส่งเสริมความมั่นคง ในภูมิภาคและในระดับโลก และส่งเสริม ความเจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืนร่วมกันไปในทุกมิติ

กิจกรรมหลัก

(1)

การเยือนและการประชุมทวิภาคีและพหุภาคี ในระดับราชวงศ์/ ผู้นำ/ รมว.กต./ ผู้บริหารระดับสูง

(2)

โครงการให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา

(3)

โครงการความร่วมมือด้านต่าง ๆ

(4)

โครงการเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจกับประเทศเพื่อนบ้าน

ประเทศไทยมีความสัมพันธ์กับประเทศต่าง ๆ ในด้านใดเป็นหลัก

การทูตเพื่อประชาชน (นโยบาย รบ. ข้อ ๒)

แนวทาง

คือ การให้ความคุ้มครองและดูแลคนไทย ในต่างประเทศ รวมทั้งคนไทยที่ถูกหลอกเป็นผู้เสียหายในขบวนการค้ามนุษย์ เช่น ค้าประเวณี ลูกเรือประมงไทย และแรงงานไทยที่ประสบปัญหา ในต่างประเทศ การให้บริการด้านต่าง ๆ แก่ประชาชน เช่น การทำหนังสือเดินทาง

กิจกรรมหลัก

(1)

การร่วมมือและบูรณาการกับหน่วยงานอื่น ๆ

(2)

การจัดทำและพัฒนาระบบ Application, E-Visa, Database ของระบบตรวจลงตราและการกงสุล

(3)

การส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนไทยในต่างประเทศ

ประเทศไทยมีความสัมพันธ์กับประเทศต่าง ๆ ในด้านใดเป็นหลัก

การแก้ไขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ การลดความเลื่อมล้ำของสังคม การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรฯ (นโยบาย รบ. ข้อ ๒, ๓, ๙, ๑๐, ๑๑)

แนวทาง

คือ การบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานภายใน เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ ในด้านที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการชี้แจงทำความเข้าใจและให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับพัฒนาการและ ผลการดำเนินการป้องกันแก้ไขปัญหาของไทย

กิจกรรมหลัก

(1)

การเข้าร่วมประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญ เช่น การประชุมด้านสิทธิมนุษยชน สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรน้ำ

(2)

การประชุมและโครงการต่าง ๆ เกี่ยวกับการแก้ไข บริหารจัดการชายแดน และการแก้ไขปัญหาความไม่สงบจังหวัดชายแดนใต้

(3)

การร่วมมือและบูรณาการกับหน่วยงานไทยอื่น ๆ

ประเทศไทยมีความสัมพันธ์กับประเทศต่าง ๆ ในด้านใดเป็นหลัก

การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (นโยบาย รบ. ข้อ ๖, ๗, ๑๑)

แนวทาง

คือ การสร้างความตื่นตัวต่อการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ผ่านช่องทางต่าง ๆ และร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและต่างประเทศ เพื่อส่งเสริมความเชื่อมโยงในภูมิภาค (connectivity) และป้องกัน/ แก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้น ตลอดจนการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียน กับประเทศคู่เจรจา และบทบาทการเป็นประเทศ ผู้ประสานงานความสัมพันธ์อาเซียน-จีน

กิจกรรมหลัก

(1)

การประชุมในกรอบต่าง ๆ ของ ASEAN

(2)

การหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

(3)

การผลักดันการแก้ไขกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

(5)

โครงการบัวแก้วสัญจร (๖) โครงการสัมมนาวิทยุชายแดนและวิทยุสราญรมย์สัญจร (๗) การจัดบรรยายให้ความรู้ตามสถานที่ราชการสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด

ประเทศไทยมีความสัมพันธ์กับประเทศต่าง ๆ ในด้านใดเป็นหลัก

การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ (นโยบาย รบ. ข้อ ๖, ๗, ๙)

แนวทาง

คือ การดำเนินการเชิงรุกในการสนับสนุน การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย การสร้างความเชื่อมั่นต่อศักยภาพและเศรษฐกิจ ของไทย และการส่งเสริมการค้าการลงทุน กับต่างประเทศ

กิจกรรมหลัก

(1)

การประชุมตามกรอบความร่วมมือในภูมิภาค และอนุภูมิภาคต่าง ๆ

(2)

โครงการแสวงหาตลาดและโอกาสในการลงทุน

(3)

การจัดทำความตกลงเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน

(4)

โครงการสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาองค์ความรู้

(5)

โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ เช่น ความมั่นคง ด้านอาหารและพลังงาน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม

ประเทศไทยมีความสัพพันธ์กับประเทศต่างๆด้านใดเป็นหลัก *

ประเทศไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับบรูไน เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2526 ทั้งสองฝ่ายมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดและดำเนินด้วยดีมาโดยตลอด มีการแลกเปลี่ยนการเยือนระดับราชวงศ์และผู้นำระดับสูงอยู่เสมอ ทั้งสองฝ่ายมีทัศนคติที่ดีต่อกัน ไม่เคยมีความบาดหมางทางประวัติศาสตร์และมักเป็นพันธมิตรในเรื่องต่าง ๆ ทั้งในกรอบอาเซียนและกรอบ ...

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีด้านใดบ้าง

1) สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ เช่น มีพรมแดนติดต่อกัน 2) ระบบเศรษฐกิจที่เหมือนกันหรือคล้ายคลึงกัน 3) ระบบการเมืองการปกครองที่คล้ายคลึงกันจะรวมกลุ่มเพื่อ ประสานประโยชน์ร่วมกัน 4) ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม เป็นการรวมกลุ่มเพื่อสร้าง ความก้าวหน้าทางสังคม การศึกษา วัฒนธรรมในแต่ละประเทศให้เท่า เทียมกัน

ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสหรัฐอเมริกาเป็นไปในลักษณะใด

สหรัฐฯ และไทยเป็นหุ้นส่วนและพันธมิตรใกล้ชิด ไทยและสหรัฐฯ มีความมุ่งมั่นร่วมกันต่อค่านิยมเดียวกัน อันได้แก่ ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน สิทธิแรงงาน หลักนิติธรรม ความมั่นคง และความมั่งคั่ง

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความสำคัญอย่างไร

โดยสรุป ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีผลต่อความสงบเรียบร้อย การกินดีอยู่ดีและการพัฒนาของประชาชน รัฐ และสังคมโลกทั้งโดยตรงและโดยอ้อมจึงนับว่ามีความสำคัญ มีคุณค่าควรแก่การสนใจติดตามทำความเข้าใจทั้งโดยนักวิชาการ ผู้กำหนดนโยบายและประชาชนโดยทั่วไป

ประเทศไทยมีความสัพพันธ์กับประเทศต่างๆด้านใดเป็นหลัก * ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีด้านใดบ้าง ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสหรัฐอเมริกาเป็นไปในลักษณะใด ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความสำคัญอย่างไร ขอบเขตความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ได้แก่ ข้อ ใด เป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในด้านสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้านในด้านใดที่มีความสําคัญมากที่สุด เพราะเหตุใด ตัวอย่างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มีอะไรบ้าง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ด้านเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับองค์การระหว่างประเทศมีลักษณะอย่างไรบ้าง มสธ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศคืออะไร