มรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญที่คนปัจจุบันได้รับจากสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช คือสิ่งใด

มรดก ทาง วัฒนธรรม ที่ สำคัญ ที่ คน ปัจจุบัน ได้ รับ จาก สมัย พ่อขุน รามคำแหง มหาราช คือ สิ่ง ใด ติ๊ก กัญญา รัตน์ ig

ข่าวฟุตบอล, ไลฟ์สกอร์, ผลการแข่งขัน และตลาดนักเตะ | Goal.com ...

Show

pgslot 55-【ufa800 เบอร์ โทร】

ล่าสุด ศูนย์วิทยุ191 ได้รับแจ้งจากผู้นำชุมชน และเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติเขาสอยดาว จ.จันทบุรี ว่ามีชาวบ้านถูกช้างทำร้ายจนเสียชีวิต ในขณะขึ้นหาของป่าพื้นที่หมู่ที่ 7 บ้านตาเรือง ต.ทับช้าง หลังตรวจสอบพบผู้เสียชีวิตคือนายประยูร​ เพชรฤชัย​ อายุ 76 ปี นอนเสียชีวิตอยู่ในสวน และจากการตรวจสอบพื้นที่โดยรอบ พบว่ามีร่องรอยการหากินของช้างป่าหลายจุด

ศาลาฯ จ่าแซม ถ้ำหลวง คืบหน้ากว่า 80%

คํา สุภาษิต ภาษา อังกฤษ

พิศวาสฆาตเกมส์ใครรู้เรื่องย่อหรือรู้อะไรมากรุณาอย่าสปอยนะ คิดถึงใจคนอยากดูสดๆ. สมาชิกหมายเลข 6858528 28 กรกฎาคม 2565 เวลา 13:10:07 น.

อ่านต่อได้ที่http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2 560/A/101/1.PDF

มรดก ทาง วัฒนธรรม ที่ สำคัญ ที่ คน ปัจจุบัน ได้ รับ จาก สมัย พ่อขุน รามคำแหง มหาราช คือ สิ่ง ใด สูตร บา คา ร่า 123plus

ข่าว พรีเมียร์ ลีก ล่าสุด 90:สล็อต365เครดิตฟรี,fifa55r,ตรวดหวย1/2/65,เลข เด็ด คุณชาย ร ช ต ... ข่าว พรีเมียร์ ลีก ล่าสุด 90_ดู ฟุตบอล โอลิมปิก:แนะนำ สล็อต.

เว็บโหลดเกม PC ฟรี อัพเดทใหม่ล่าสุด | โหลดไฟล์เดียวจบ|

วิดีโอ - Liverpool FC

kiss 888 slot

Comics & Graphic Novels

เจาะสนามเลือกตั้ง : พะเยา

มรดก ทาง วัฒนธรรม ที่ สำคัญ ที่ คน ปัจจุบัน ได้ รับ จาก สมัย พ่อขุน รามคำแหง มหาราช คือ สิ่ง ใด ae casino สมัคร

14 ก.ย.2562ข้อมูลยืนยันว่าเสือโคร่งของกลางจากวัดป่าหลวงตาบัวฯ ที่ยึดไว้โดยกรมอุทยาน มีจำนวน 147 ตัวเมื่อช่วงเดือนพ.ค.-มิ.ย.2559 ซึ่งถูกแบ่งออกไปดูแลที่สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าเขาประทับช้าง 85 ตัว แต่ตายไปแล้ว 54 ตัว ส่วนเสือโคร่งอีก 62 ตัวส่งไปดูแลที่สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าเขาสน จ.ราชบุรี ตายแล้ว 32 ตัว ตายจากโรคหัดสุนัขในเสือ และอาการการอัมพาตลิ้นกล่องเสียง

Download PG SLOT เล่นง่ายทุกที่ ทั้งโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตรองรับระบบปฏิบัติการ iOS, Android, Window สามารถดาวน์โหลดและติดตั้ง App ...

ทรรศนะ บอล สูง ต่ำ

เช็ครีวิวNutella 1000g. นูเทลล่าแท้ (นำเข้าจากเยอรมัน)

pg slot download android

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จารึกพ่อขุนรามคำแหง *
มรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญที่คนปัจจุบันได้รับจากสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช คือสิ่งใด
  ความทรงจำแห่งโลกโดยยูเนสโก
มรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญที่คนปัจจุบันได้รับจากสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช คือสิ่งใด

จารึกพ่อขุนรามคำแหง


ที่เก็บรักษาพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
ประเทศ
มรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญที่คนปัจจุบันได้รับจากสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช คือสิ่งใด
 
ไทย
ภูมิภาค **เอเชียและแปซิฟิก
อ้างอิง[1]
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน2546
* ชื่อตามที่ได้จดทะเบียนในบัญชีมรดกความทรงจำแห่งโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

มรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญที่คนปัจจุบันได้รับจากสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช คือสิ่งใด

ลักษณะอักษรไทยที่ใช้ในจารึก

จารึกพ่อขุนรามคำแหง[1] หรือ จารึกหลักที่ 1[1] เป็นศิลาจารึกที่บันทึกเหตุการณ์ประวัติศาสตร์สมัยกรุงสุโขทัย ศิลาจารึกนี้ เจ้าฟ้ามงกุฎฯ (ต่อมาคือพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) ขณะผนวชอยู่เป็นผู้ทรงค้นพบเมื่อวันกาบสี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 3 จ.ศ. 1214 ตรงกับวันศุกร์ที่ 17 มกราคม ค.ศ. 1834 หรือ พ.ศ. 2376[2] ณ เนินปราสาทเมืองเก่าสุโขทัย อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย มีลักษณะเป็นหลักสี่เหลี่ยมด้านเท่า ทรงกระโจม สูง 111 เซนติเมตร หนา 35 เซนติเมตร เป็นหินทรายแป้งเนื้อละเอียด[1] มีจารึกทั้งสี่ด้าน ปัจจุบันเก็บอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร

เนื้อหาของจารึกแบ่งได้เป็นสามตอน ตอนที่หนึ่ง บรรทัดที่ 1 ถึง 18 เป็นการเล่าพระราชประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราชตั้งแต่ประสูติจนเสวยราชย์ ใช้คำว่า "กู" เป็นหลัก ตอนที่ 2 ไม่ใช้คำว่า "กู" แต่ใช้ว่า "พ่อขุนรามคำแหง" เล่าถึงเหตุการณ์และธรรมเนียมในกรุงสุโขทัย และตอนที่สาม ตั้งแต่ด้านที่ 4 บรรทัดที่ 12 ถึงบรรทัดสุดท้าย มีตัวหนังสือต่างจากตอนที่ 1 และ 2 จึงน่าจะจารึกขึ้นภายหลัง เป็นการสรรเสริญและยอพระเกียรติพ่อขุนรามคำแหง และกล่าวถึงอาณาเขตราชอาณาจักรสุโขทัย[1]

จารึกได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจำแห่งโลกเมื่อปี พ.ศ. 2546[3] โดยยูเนสโกบรรยายว่า "[จารึกนี้] นับเป็นมรดกเอกสารชิ้นหลักซึ่งมีความสำคัญระดับโลก เพราะให้ข้อมูลอันทรงค่าว่าด้วยแก่นหลักหลายประการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมโลก ไม่เพียงแต่บันทึกการประดิษฐ์อักษรไทยซึ่งเป็นรากฐานแห่งอักษรที่ผู้คนหกสิบล้านคนใช้อยู่ในประเทศไทยปัจจุบัน การพรรณนาสุโขทัยรัฐไทยสมัยศตวรรษที่ 13 ไว้โดยละเอียดและหาได้ยากนั้นยังสะท้อนถึงคุณค่าสากลที่รัฐทั้งหลายในโลกทุกวันนี้ร่วมยึดถือ"[3]

มีการตั้งคำถามเกี่ยวกับความเชื่อถือได้ของบางส่วนหรือทั้งหมดของศิลาจารึกดังกล่าว[4] พิริยะ ไกรฤกษ์ นักวิชาการที่สถาบันไทยคดีศึกษา ออกความเห็นว่า การใช้สระในศิลาจารึกนี้แนะว่าผู้สร้างได้รับอิทธิพลมาจากระบบพยัญชนะยุโรป เขาสรุปว่าศิลาจารึกนี้ถูกบางคนแต่งขึ้นในรัชกาลที่ 4 หรือไม่นานก่อนหน้านั้น[5] นักวิชาการเห็นต่างกันในประเด็นว่าด้วยความน่าเชื่อถือของศิลาจารึกนี้ ผู้ประพันธ์บางคนอ้างว่ารอยจารึกนั้นเป็นการแต่งขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ทั้งหมด บ้างอ้างว่า 17 บรรทัดแรกนั้นเป็นจริง บ้างอ้างว่ารอยจารึกนั้นพระยาลือไทยทรงแต่งขึ้น นักวิชาการไทยส่วนใหญ่ยังยึดถือความน่าเชื่อถือของศิลาจารึกนี้[6] รอยจารึกดังกล่าวและภาพลักษณ์ของสังคมสุโขทัยในจินตนาการยังเป็นหัวใจของชาตินิยมไทย และไมเคิล ไรท์ นักวิชาการชาวอังกฤษ เสนอแนะว่าศิลาจารึกดังกล่าวอาจถูกปลอมขึ้น ทำให้เขาถูกขู่ด้วยการเนรเทศภายใต้กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพของไทย[7]

ส่วนจิราภรณ์ อรัณยะนาค เขียนบทความแสดงทัศนะว่า ศิลาจารึกหลักที่ 1 ได้ผ่านกระบวนการสึกกร่อนผุสลายมาเป็นเวลานานหลายร้อยปี ใกล้เคียงกับศิลาจารึกหลักที่ 3 หลักที่ 45 และหลักที่กล่าวถึงชีผ้าขาวเพสสันดร ไม่ได้ทำขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4[8]

อ้างอิง[แก้]

  1. ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 จารึกพ่อขุนรามคำแหง เก็บถาวร 2015-09-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). สืบค้น 10 เมษายน 2557.
  2. "17 มกราคม วันพ่อขุนรามคำแหงมหาราช". มหาวิทยาลัยรามคำแหง. สืบค้นเมื่อ 17 มกราคม 2555.
  3. ↑ 3.0 3.1 The King Ram Khamhaeng Inscription. UNESCO
  4. Centuries-old stone set in controversy, The Nation, Sep 8, 2003
  5. The Ramkhamhaeng Controversy: Selected Papers. Edited by James F. Chamberlain. The Siam Society, 1991
  6. Intellectual Might and National Myth: A Forensic Investigation of the Ram Khamhaeng Controversy in Thai Society, by Mukhom Wongthes. Matichon Publishing, Ltd. 2003.
  7. Seditious Histories: Contesting Thai and Southeast Asian Pasts, by Craig J. Reynolds. University of Washington Press, 2006, p. vii
  8. จารึกพ่อขุนรามคำแหง "ไม่ปลอม" : จากมุมมองของนักวิทยาศาสตร์

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • บทความศิลาจารึก เว็บจังหวัดสุโขทัย เก็บถาวร 2009-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • จารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษวิทยาสิรินธรฯ

ข้อใดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญที่คนปัจจุบันได้รับจากสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช

ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราชนี้ เป็นเอกสารที่สำคัญยิ่งชิ้นหนึ่งของชาติไทย เป็นมรดกอันล้ำค่าและทรงคุณค่าอย่างยิ่ง มีสาระประโยชน์แก่ชาติบ้านเมืองนานัปการ ควรพิทักษ์รักษาไว้ให้ดำรงคงอยู่คู่ชาติไทยตลอดกาล

ข้อใดมรดกที่สำคัญทางด้านวัฒนธรรม ในสมัยสุโขทัย

"มรดกล้ำเลิศ กำเนิดลายสือไทย เล่นไฟลอยกระทง มั่งคงพระพุทธศาสนา งานตาผ้าตีนจก สังคโลกทองโบราณ สักการเเม่ย่าพ่อขุน รุ่งอรุณเเห่งความสุข"

มรดกทางวัฒนธรรมด้านภาษาที่พ่อขุนรามคำแหงมหาราชประดิษฐ์คืออะไร

พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใช้เมื่อ พ.ศ. 1826 พระองค์ได้ทรงประดิษฐ์พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ เพิ่มขึ้นให้สามารถเขียนแทนเสียงพูดของคำในภาษาไทยได้ทุกคำ กับทั้งได้นำสระและพยัญชนะมาอยู่ในบรรทัดเดียวกันโดยไม่ต้องใช้พยัญชนะซ้อนกัน ทำให้เขียนและอ่านหนังสือไทยได้สะดวกมากขึ้น

ภูมิปัญญาในสมัยสุโขทัยที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน คืออะไร

พ่อขุนรามคำแหงคิดประดิษฐ์อักษรไทย หรือ ลายสือไทย ขึ้นเมื่อ พ.ศ.1826 ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่ายิ่งที่สืบทอดมาจนปัจจุบัน การมีตัวหนังสือใช้ทำให้มีการจารึกเรื่องราวต่างๆ ลงบนศิลาจารึก ซึ่งกลายเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญที่คนรุ่นหลังได้ใช้ศึกษาค้นคว้า

ข้อใดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญที่คนปัจจุบันได้รับจากสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ข้อใดมรดกที่สำคัญทางด้านวัฒนธรรม ในสมัยสุโขทัย มรดกทางวัฒนธรรมด้านภาษาที่พ่อขุนรามคำแหงมหาราชประดิษฐ์คืออะไร ภูมิปัญญาในสมัยสุโขทัยที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน คืออะไร มรดกทางด้านภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย มรดกทางวัฒนธรรมของ อาณาจักร เช่น จากการศึกษาค้นคว้าศิลาจารึกหลักที่ 1 ไม่มีปัญหาในด้านใด ประเทศคู่ค้าที่สำคัญในสมัยสุโขทัยและอยุธยาตอนต้น คือชาติใด มรดกทางวัฒนธรรมด้านภาษาที่พระองค์ประดิษฐ์ คือ แนวทางการสร้างความสงบสุขของสังคม สุโขทัย จากหลักฐานที่ปรากฏนิยมใช้วิธีการใด