กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

1. กฎของโอห์ม (Ohm of Law) และความต้านทาน

George  Simon  Ohm  นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน พบว่าเมื่อทำให้ปลายทั้งสองของลวดโลหะมีความต่างศักย์ไฟฟ้า  จะมีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดโลหะนี้ ซึ่งจากการทดลองจะได้ความสัมพันธ์ของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้าดังกราฟ

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

รูปที่ 1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างงกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ของลวดชนิด A และ B

จากกราฟรูป 1.  จะได้ว่า กระแสไฟฟ้าที่ผ่านลวดโลหะมีค่าแปรผันตรงกับความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลายทั้งสองของลวดโลหะ จึงเขียนเป็นความสัมพันธ์ได้ว่า

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

                                              V = IR    เป็นสมการตามกฎของโอห์ม 

โดยกฎของโอห์มมีใจความว่า   “ที่อุณหภูมิคงตัว  กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวนำหนึ่งจะมีค่าแปรผันตรงกับความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลายทั้งสองของตัวนำนั้น”

เมื่อ R เป็นค่าคงตัวเรียกว่า ความต้านทาน หรือเรียกว่า โอห์ม  (

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด
)

สำหรับความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์และความต่างศักย์ไฟฟ้าของตัวนำชนิดต่างๆ   โดยให้อุณหภูมิคงตัวจะได้ความสัมพันธ์ดังรูปกราฟที่ 2

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

รูปที่ 2 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์และความต่างศักย์ไฟฟ้าของตัวนำชนิดต่างๆ

***  จะเห็นว่า  เมื่ออุณหภูมิคงตัว กฎของโอห์มใช้ได้กับตัวนำที่เป็นโลหะเท่านั้น

ความต้านทานไฟฟ้า  (electrical resistance)

                ความต้านทานไฟฟ้า  เป็นการบอกคุณสมบัติของสารในการต้านกระแสไฟฟ้าที่จะผ่านได้มากน้อยเพียงใด  โดยสารที่มีความต้านทานมากกระแสผ่านไปได้น้อย  ส่วนสารที่มีความต้านทานน้อยกระแสผ่านไปได้มาก

     ตัวต้านทาน หรือ รีซีสเตอร์  (Resistor) หรือ  “อาร์”  (R)  เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยปรับความต้านทานให้กับวงจร เพื่อช่วยปรับให้กระแสไฟฟ้าหรือความต่างศักย์ไฟฟ้าพอเหมาะกับวงจรนั้นๆ ชนิดของตัวต้านทานแบ่งออกได้ ดังนี้ คือ

     1. ตัวต้านทานคงตัว (Fixed Resistors) เป็นตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทานคงตัว มักพบในวงจรไฟฟ้าและวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทั่วไป ซึ่งตัวต้านทานประเภทนี้ทำจากผงคาร์บอนอัดแน่นเป็นรูปทรงกระบอกเล็กๆ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนตัวต้านทานค่าคงตัวในวงจรไฟฟ้าคือ    

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด
    โดยค่าความต้านทานจะบอกด้วยแถบสีที่เขียนไว้บนตัวต้านทานดังรูปที่  3

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

รูป ตัวต้านทานค่าคงตัว

โดยแถบสี 4 แถบ ที่คาดไว้บนตัวต้านทานมีความหมายดังนี้

–  แถบสีที่ 1          ซึ่งอยู่ใกล้ขาข้างใดข้างหนึ่งมากที่สุด บอกเลขตัวแรก

–  แถบสีที่  2        บอกเลขตัวที่ 2

–  แถบสีที่  3        บอกเลขยกกำลังของสิบที่ต้องนำไปคูณกับเลขสองตัวแรก

–  แถบสีที่  4        บอกความคลาดเคลื่อนของค่าความต้านทานที่อ่านได้จากสามแถบแรกโดยบอกเป็นร้อยละสีต่างๆ ที่ใช้บอกค่าความต้านทานแสดงในรูปที่ 4

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

 รูปที่ 4 แสดงค่าแถบสีและความหมายที่คาดบนตัวต้านทาน

ที่มา http://www.diyaudioandvideo.com/Electronics/Color/

    2. ตัวต้านทานแปรค่า (variable resistor) เป็นตัวต้านทานที่สามารถปรับค่าความต้านทานมาก- น้อยได้ เพื่อประโยชน์ใช้ในการควบคุมปริมาณกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า  สัญลักษณ์ที่ใช้แทนตัวต้านทานแปรค่า คือ       

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด
      หรือ      
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด
   หรือ  
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด
   ตัวต้านทานแปรค่าที่ใช้กันทั่วไป ประกอบด้วยแถบความต้านทาน ซึ่งอาจทำด้วยแกรไฟต์หรือลวดพันต่อกับขา A และ B และหน้าสัมผัสต่อกับขา W  ดังรูปที่  5  การปรับเปลี่ยนความต้านทานทำได้โดยการเลื่อนหน้าสัมผัสไปบนแถบความต้านทาน

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

                        รูปที่ 5 แสดงตัวต้านทานแปรค่าได้

ที่มา  https://van.physics.illinois.edu/qa/listing.php?id=18729

     3.  แอลดีอาร์ (light dependent resistor , LDR)    แอลดีอาร์เป็นตัว ต้านทานที่ความต้านทานขึ้นกับ ความสว่างของแสงที่ตกกระทบ  แอลดีอาร์มีความต้านทานสูงในที่มืด แต่มีความต้านทานต่ำในที่สว่าง จึงเป็นตัวรับรู้ความสว่าง (light sensor) ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์สำหรับควบคุมการปิด – เปิดสวิตซ์ด้วยแสงสัญลักษณ์ในวงจรคือ

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

รูปที่ 6  แสดงลักษณะของ  light dependent resistor (LDR)

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

รูปที่ 8 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้า (I) และความต่างศักย์ (V)

    4. เทอร์มีสเตอร์ (themistor)  เทอร์มีสเตอร์เป็น  ตัวต้านทานที่ความต้านทานขึ้นอยู่กับ อุณหภูมิ  ของสภาพแวดล้อม เทอร์มีสเตอร์แบบ NTC (negative temperature coefficient) มีความต้านทานสูงเมื่ออุณหภูมิต่ำ แต่มีความต้านทานต่ำเมื่ออุณหภูมิสูง ซึ่งตรงข้ามกับเทอร์มีสเตอร์แบบ PTC (Positive temperature coefficient) นั่นคือมีความต้านทานสูงเมื่ออุณหภูมิสูง แต่มีความต้านทานต่ำเมื่ออุณหภูมิต่ำ  เทอร์มีสเตอร์จึงเป็นตัวรับรู้อุณหภูมิ (temperature sensor) ในเทอร์มอมิเตอร์บางชนิด

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

                                                                    รูปที่  9 แสดงเทอร์มีสเตอร์

ที่มา http://www.amwei.com/

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

                                               รูปที่ 10  แสดงกราฟระหว่าง R และ t ของเทอร์มีสเตอร์

                           ที่มา http://www.amwei.com/news.asp?news_id=88

ไดโอด  (diode)

เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทั่วๆไป ไดโอดทำจากสารกึ่งตัวนำ  สารกึ่งตัวนำ เป็นสารที่มีคุณสมบัติระหว่างตัวนำและฉนวน เช่น ซิลิกอน และ เจอน์เมเนียม  มีลักษณะและสัญลักษณ์ คือ   

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด
   ไดโอดมีขั้วไฟฟ้าบวกและขั้วไฟฟ้าลบ เมื่อนำไดโอด แบตเตอรี่มาต่อเป็นวงจรโดยต่อขั้วบวกและขั้วลบของแบตเตอรี่กับขั้วไฟฟ้าบวกและขั้วไฟฟ้าลบของไดโอดตามลำดับ ดังรูป ก  จะพบว่ามีกระแสไฟฟ้าในวงจร การต่อลักษณะนี้เรียกว่า ไบแอสตรง (forward bias)  เมื่อสลับขั้วของแบตเตอรี่จะพบว่า ไม่มีกระแสไฟฟ้าในวงจร การต่อลักษณะนี้เรียกว่า ไบแอสกลับ (reverse bias)   ดังรูป  ข

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

รูปที่ 11  ไดโอดและสัญลักษณ์

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

รูปที่ 12  ก. การต่อไบแอสตรง (forward bias)        ข. การต่อไบแอสกลับ (reverse bias)

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

รูปที่ 13   การต่อไดโอดในวงจรไฟฟ้า ก. มีกระแสไหลในวงจร    ข. ไม่มีกระแส

ที่มา http://www3.eng.cam.ac.uk/DesignOffice/mdp/electric_web/Semi/SEMI_3.html

จะเห็นว่าขณะไบแอสตรง มีกระแสไฟฟ้าในวงจร แสดงว่าไดโอดมีความต้านทานน้อย แต่ขณะไบแอสกลับ ไม่มีกระแสไฟฟ้าในวงจร แสดงว่าไดโอดมีความต้านทานสูงมาก ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า ไดโอดยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ทิศเดียว  จากสมบัตินี้จึงใช้ไดโอดแปลงไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟ้ากระแสตรง

สภาพต้านทานไฟฟ้าและสภาพนำไฟฟ้า

เมื่อต่อแบตเตอรี่กับลวดโลหะ แล้ววัดความต่างศักย์ V  ระหว่างปลายลวด และกระแสไฟฟ้า  I  ที่ผ่านลวดนั้น  โดยใช้ลวดที่ทำจากโลหะชนิดเดียวกัน มีความยาว l ต่างๆ กัน สามารถสรุปความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทาน R  ความยาว l และพื้นที่หน้าตัด A ของลวดโลหะได้ดังนี้

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

                                         
ดังนั้น    

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด
    เมื่อ     
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด
    เป็นค่าคงตัว

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

ถ้าทดลองโดยใช้ลวดที่ทำด้วยโลหะต่างชนิดกัน พบว่าค่าคงตัวในสมการ จะไม่เท่ากัน ขึ้นกับชนิดของสาร ค่าคงตัว

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด
นี้เรียกว่า สภาพต้านทานไฟฟ้า (electrical resistivity)  ซึ่งมีหน่วยโอห์ม เมตร

ความนำไฟฟ้า (Conductance,G) คือ ความสามารถในการนำกระแสไฟฟ้าของตัวนำ มีค่าเท่ากับ  ค่าส่วนกลับของความต้านทานไฟฟ้าของตัวนำ นั่นคือ 

 มีหน่วยเป็น (โอห์ม)-1 หรือ ซีเมนส์ (S)

สภาพนำไฟฟ้า (Conductivity) คือ ความสามารถในการนำไฟฟ้า   สภาพนำไฟฟ้า คือ ส่วนกลับของสภาพต้านทานของสารนั้น

มีหน่วยเป็น (โอห์ม.เมตร)-1 หรือ ซีเมนส์ต่อเมตร (S/m)

ผลของอุณหภูมิที่มีต่อตัวต้านทาน

1.ตัวนำโลหะบริสุทธิ์ เช่น เงิน ทองแดง แพลททินัม ความต้านทานแปรผันตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ์ (เคลวิน) นำความรู้นี้ไปสร้างเทอร์โมมิเตอร์ ชนิดความต้านทาน ตัวนำที่เป็นโลหะผสม จะมีสภาพต้านทานสูงกว่าตัวนำบริสุทธิ์ เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นสภาพต้านทานจะเปลี่ยนไปน้อยมาก จึงนิยมนำโลหะผสมไปสร้างตัวต้านทานมาตรฐาน

2. สารกึ่งตัวนำ เช่น เจอร์มาเนียม ซิลิกอน แกรไฟต์ เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นพบว่าสภาพนำไฟฟ้าสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ดังนั้นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีอุปกรณ์ประเภท สารกึ่งตัวนำประกอบในวงจรจึงทำงานได้ดีในช่วงอุณหภูมิที่กำหนด

3. ฉนวน เป็นวัตถุที่มีสภาพต้านทานสูงมาก เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นมาก ๆ สภาพต้านทานจะลดลงเล็กน้อย ความต้านทานของฉนวนอาจไม่เปลี่ยนแปลง เมื่อนำไปต่อกับความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงมากๆ วัตถุเหล่านี้จะกลายเป็นตัวนำไฟฟ้าได้

4. ตัวนำยวดยิ่ง (Super conductor) คือ ตัวนำที่นำไฟฟ้าได้ดีที่สุด มีสมบัติ 2 ประการ คือ
                   – เป็นตัวนำที่ปราศจากความต้านทาน มีสภาพความต้านทานเป็นศูนย์ เมื่ออุณหภูมิต่ำมาก ๆ จนใกล้ศูนย์เคลวิน เรียกว่า “อุณหภูมิวิกฤติ”
                   – เป็นสารที่มีแรงผลักดันกับสนามแม่เหล็กถ้าวางแท่งแม่เหล็กบนตัวนำยวดยิ่งแท่งแม่เหล็กจะถูกผลักให้ลอย จากความรู้เรื่องตัวนำยวดยิ่งนำไปใช้ ประโยชน์ในการสร้างอุปกรณ์ เช่น
                1. เครื่องเร่งอนุภาคกำลังสูง ใช้เร่งอนุภาค เช่น อิเล็กตรอน นิวตรอน ให้มีความเร็วสูง เกิดพลังงานจลน์มาก นำไปใช้ในงานวิจัยทางฟิสิกส์
                2. รถไฟฟ้าแมกเลฟ เป็นรถไฟฟ้าความเร็วสูง ขณะแล่นตัวรถจะลอยเหนือราง ช่วยลดแรงเสียดทานการยกตัวเกิดจากการผลักของสนามแม่เหล็กจากรางและตัวรถ

 การต่อตัวต้านทาน

การต่อตัวต้านทาน  คือการนำตัวต้านทานหลายๆ ตัวมาต่อรวมเป็นกลุ่มเดียวกันอยู่ระหว่างจุดสองจุด ให้ได้ความต้านทานตามต้องการเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อๆ ไป วิธีการต่อตัวต้านทานมี 2 แบบใหญ่ๆ  คือ

  1. การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม
  2. การต่อตัวต้านทานแบบขนาน

การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม   เป็นการนำตัวต้านทานหลายๆ ตัวมาต่อเรียงกันดังรูป

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

ผลของการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมได้ว่า

  1. กระแสไฟฟ้า ( I ) ผ่านตัวต้านทานทุกตัวเท่ากัน
  2. ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม = ผลรวมของความต่างศักย์ไฟฟ้าย่อยจากกฎของโอห์ม  (Vtot  =    V1 + V2 + V3 +…..+  Vn )

ดังนั้น ความต้านทานรวมหาได้จาก

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

การต่อตัวต้านทานแบบขนาน (parallel)  เป็นการต่อที่นำตัวต้านทานหลายๆ ตัวมาต่อรวมกันเป็นกลุ่มเดียว โดยใช้ปลายหนึ่งของตัวต้านทานทุกตัวไปต่อรวมกันไว้ที่จุดหนึ่ง และใช้อีกปลายหนึ่งของตัวต้านทานทุกตัวไปต่อรวมกันไว้ที่อีกจุดหนึ่งดังรูป

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

ผลการต่อตัวต้านทานแบบขนานได้ว่า

  1. ความต่างศักย์ที่ตกคร่อม ตัวต้านทานแต่ละตัวเท่ากัน เท่ากับ ความต่างศักย์รวม ( Vtot = V1 = V2 = V3  ) เพราะว่าตัวต้านทานแต่ละตัวอยู่ระหว่างจุดเดียวกัน

2. กระแสไฟฟ้าที่ผ่านทั้งหมด เท่ากับผลรวมของกระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว  ( I = I1 + I2 + I3 )

ความต้านทานรวมหาได้จาก

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

กรณีที่มีตัวต้านทาน 2 ตัวหาได้จาก

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

กรณีที่มีตัวต้านทาน (R) ขนาดเท่ากัน จำนวน N ตัว ความต้านทานรวมหาได้จาก

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

การต่อตัวต้านทานเมื่อไม่มีกระแสไหลผ่าน

ตัวอย่างการคำนวณ

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

ที่มา ตัวอย่าง  http://www.wikihow.com/Calculate-Series-and-Parallel-Resistance