เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร

เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร
เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร

Show

เงินฝากกระแสรายวัน

รวดเร็ว คล่องตัว ตอบทุกโจทย์ธุรกิจ ให้เรื่องการเงินเป็นเรื่องง่ายด้วยเงินฝากกระแสรายวัน

จุดเด่นผลิตภัณฑ์

เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร

เพิ่มประสิทธิภาพในธุรกิจ

ด้วยสินเชื่อเบิกเงินเกินบัญชี (OD)

เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร

สะดวก ปลอดภัย

ทั้งเบิกถอนและจ่ายเช็ค

เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร

คล่องตัว

ถอนเงินสดด้วยเช็คตามวงเงินที่ธนาคารกำหนด

เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร

ง่าย

ถอนเงินได้ผ่านบัตร ATM และ Visa Debit ได้ทุกที่ทุกเวลา

เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร

สมัครง่าย ไม่ยุ่งยาก

บัญชีเงินฝากกระแสรายวัน สมัครได้ทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล

เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร

ฝากขั้นต่ำครั้งแรก 10,000 บาท

เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร

รายละเอียดและเงื่อนไข

รายละเอียดการให้บริการ

  • บริการบัญชีเงินฝากเพื่อประกอบธุรกิจ สามารถใช้ครอบคลุมทุกขนาดธุรกิจ
  • สามารถสั่งจ่ายเงินได้สะดวก ใช้เช็คในการเบิกจ่ายเงิน ฝาก-ถอนต่างสาขาได้ 
  • สามารถขอใช้เงินเบิกเกินบัญชีได้ 

คำแนะนำการใช้เช็ค

  • สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับเช็คได้ง่ายๆ เช่น สถานะเช็ค, รายการอายัดเช็ค, การอายัดเช็ค ได้ที่ Contact Center 02-111-1111 หรือ บริการ Self Service Banking ของธนาคาร
  • ควรขีดคร่อมเช็คที่มุมบนด้านซ้ายของเช็คสั่งจ่ายให้ผู้รับเช็คนำเงินไปฝากเข้าบัญชี ไม่สามารถเบิกเป็นเงินสดได้ และควรเขียนข้อความว่า “ห้ามเปลี่ยนมือ” หรือ “A/C Payee Only” ไว้ระหว่างเส้นขนาน 2 เส้นดังกล่าว เพื่อเป็นการเจาะจงให้นำเช็คเข้าบัญชีตามชื่อที่ระบุบนหน้าเช็คเท่านั้น

จำนวนเงินขั้นต่ำในการเปิดบัญชีและรักษาบัญชี

  • ทั้งประเภทบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลกำหนดเงินฝากขั้นต่ำครั้งแรก 10,000 บาท
  • กรณียอดคงเหลือต่ำกว่า 2,000 บาท และไม่เคลื่อนไหวติดต่อกัน 12 เดือน (ไม่มีการฝากหรือถอน) คิดค่ารักษาบัญชีเดือนละ 100 บาท ทั้งนี้ หากยอดคงเหลือเป็น 0 จะปิดบัญชีอัตโนมัติ

เอกสารประกอบการเปิดบัญชี

  • บัตรประจำตัวประชาชนแบบสมาร์ทการ์ด ที่ยังไม่หมดอายุ
  • กรณีบัตรประจำตัวประชาชนแบบสมาร์ทการ์ด ไม่สามารถอ่านข้อมูลในบัตรได้ ให้ใช้เอกสารเพิ่มเติม ดังนี้
    • สำเนาทะเบียนบ้าน
    • บัตรที่ออกโดยหน่วยงานของรัฐ ที่มีรูปถ่ายพร้อมระบุเลขประจำตัวประชาชน และยังไม่หมดอายุ เช่น บัตรประจำตัวข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานองค์การของรัฐ หรือ หนังสือเดินทาง (Passport) หรือ ใบอนุญาตขับรถที่ระบุเลขประจำตัวประชาชน เป็นต้น

เงินฝากกระแสรายวัน รวดเร็ว คล่องตัว ตอบทุกโจทย์ธุรกิจ | ธนาคารกรุงไทย เงินฝากกระแสรายวัน ธนาคารกรุงไทย เพิ่มประสิทธิภาพในธุรกิจ สะดวก ปลอดภัย ทั้งเบิกถอนและจ่ายเช็ค คล่องตัว ถอนเงินได้ผ่านบัตร ATM และ Visa Debit ทุกที่ทุกเวลาเงินฝาก, เงินฝากกระแสรายวัน, เงินฝากนิติบุคคล, ฝากเงิน, เงินฝากสำหรับธุรกิจ

ดาวน์โหลด

เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร
เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร
Middle|Left Green

​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​บัญชีหมุนเวียน ​จัดการง่ายสั่งจ่ายเช็คแทนเงินสด

สะดวก ปลอดภัย เหมาะสำหรับ​ผู้ที่ต้องทำธุรกรรมเป็นประจำ

    • สมัครที่สาขาใกล้คุณ

    HtmlBlock

    11

    เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร
     

    เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร
     

     

    เขียนเช็คสั่งจ่ายได้ไม่จำกัดจำนวนเงิน

    ​​​​​​สั่งจ่ายล่วงหน้าได้ สะดวกสำหรับการบริหารบัญชี


    Middle|Right

    เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร

    HtmlBlock

    12

    เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร
     

    เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร
     

     

    สะดวก ปลอดภัย ทั้งจ่ายและรับ

    ไม่ต้องพกเงินสดจำนวนมาก

    เพราะสั่งจ่ายผ่านเช็ค

    ไม่ต้องกังวลหากเช็คสูญหาย

    เพราะผู้รับเช็คที่มีชื่อระบุบนหน้าเช็คเท่านั้นที่สามารถนำเช็คไปขึ้นเงินได้

    หมดปัญหาเรื่องเงินไม่พอจ่ายเช็ค


    Middle|Left

    เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร

    HtmlBlock

    13

    เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร
     

    เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร
     

     

    ฝาก ถอน โอน เติม จ่าย

    เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร
     ​​​​​

    Middle|Right

    เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร

    HtmlBlock

    31

    การเปิดบัญชี

    รายละเอียด
    • เปิดบัญชีไม่มีขั้นต่ำ​

    คุณสมบัติ
    • บุคคลธรรมดาอายุตั้งแต่ 20 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป

    เอกสาร

    บุคคลธรรมดา

    • บัตรประจำตัวประชาชนตัวจริง (Smart Card)
    • สูติบัตรหรือบัตรประจำตัวประชาชนของบุตร และทะเบียนบ้าน (กรณีบิดามารดาต้องการเปิดบัญชีให้บุตร)
    • บัตรประจำตัวประชาชนรุ่นเก่าไม่มีชิป (แนบเอกสารที่ออกโดยหน่วยงานราชการ 2 อย่าง เช่น ​สำเนาทะเบียนบ้าน, สำเนาใบขับขี่, สำเนาบัตรข้าราชการ/บัตรพนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือ สำเนา Passport)

    ร้านค้าจดทะเบียน

    • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน เฉพาะด้านหน้าบัตรเท่านั้น (แนบสำเนาทะเบียนบ้าน กรณีบัตรไม่แสดงที่อยู่) หรือ สำเนาหนังสือเดินทาง (กรณีต่างชาติ) ของเจ้าของร้านค้า ที่ยังไม่หมดอายุ ณ วันเปิดบัญชี
    • ใบทะเบียนพาณิชย์ที่ระบุชื่อผู้ขอจดทะบียน


    HtmlBlock

    32

    ทำธุรกรรมได้ทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง​



    Bottom|Center

    เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร

    HtmlBlock

    33

    บริการเสริมของบัญชี

    สะดวก ปลอดภัย สบายใจกว่า

    ​​​

    HtmlBlock

    42

    คำถามที่พบบ่อย

    ซื้อสมุดเช็คที่ไหนได้บ้าง ?

    ถ้าสั่งจ่ายเช็คไปแล้ว ถึงเวลาจริงเงินกลับไม่พอ จะยกเลิกเช็คได้หรือไม่ ?

    หากสั่งจ่ายเช็คไปแล้ว ลูกค้าไม่สามารถยกเลิกได้ จะต้องทำการโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากกระแสรายวันให้เพียงพอภายในวันที่สั่งจ่ายเช็ค หากบัญชีเงินฝากกระแสรายวันมีเงินไม่เพียงพอจะถูกเรียกเก็บค่าปรับเช็คคืน

    ถ้าหากเช็คหาย ต้องทำอย่างไร ?

    กรณีเช็คหาย ให้ลูกค้าแจ้งความและนำใบแจ้งความมาแจ้งอายัดเช็คกับธนาคาร

    บริการโอนเงินอัตโนมัติ​มีรายละเอียดอย่างไร ?

    ธนาคารเปิดให้บริการโอนเงินอัตโนมัติ (Account Link) ซึ่งเป็นบริการที่ช่วยอำนวยความสะดวกให้ลูกค้าที่ทำธุรกรรมผ่านเช็ค โดยไม่ต้องกังวลว่าเงินในบัญชีเงินฝากกระแสรายวันจะไม่เพียงพอสำหรับจ่ายเช็คเรียกเก็บ ซึ่งธนาคารจะโอนเงินจากบัญชีเงินฝากออมทรัพย์​ไปยังบัญชีเงินฝากกระแสรายวัน ให้เพียงพอต่อการจ่ายเช็คเรียกเก็บ คิดค่าธรรมเนียม 20 บาท / วัน


    None

    5

    เอกสาร

    บุคคลธรรมดา

    • บัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรประจำตัวอื่น ๆ ที่มีรูปถ่ายและออกโดยหน่วยงานราชการ
    • สำเนาทะเบียนบ้าน (กรณีที่ไม่ได้ใช้บัตรประจำตัวประชาชน)

    นิติบุคคล

    • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
    • ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนพาณิชย์ ที่ระบุชื่อผู้ขอจดทะเบียน
    • บัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร
    • ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ถ้ามี)

    บริษัทจำกัด / บริษัท (มหาชน) จำกัด

    • บัตรประชาชน / หนังสือเดินทาง (กรณีต่างชาติ) ของผู้มีความสัมพันธ์กับนิติบุคคล(แนบสำเนาทะเบียนบ้าน กรณีบัตรไม่แสดงที่อยู่)
      • กรรมการบริหาร กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม
      • ผู้มีอำนาจลงนาม
      • ผู้ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 25 ขึ้นไป
    • รายงานการประชุมที่มีมติให้มีการเปิดบัญชีเงินฝากกับธนาคารที่ลงนามรับรองโดยผู้ที่มีอำนาจกระทำการแทน พร้อมกำหนด ผู้มีอำนาจลงนามสั่งจ่ายและเงื่อนไขในการสั่งจ่าย
    • หนังสือรับรอง/หนังสือจดทะเบียนนิติบุคคล (ออกให้ไม่เกิน 3 เดือน)
    • บอจ.5 บัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น
    • บอจ.3 รายการจดทะเบียนจัดตั้ง (แสดงตรายาง) (ถ้ามี) หรือ บอจ.4 รายการจดทะเบียนแก้ไข(หากเปลี่ยนแปลงตรายาง)(ถ้ามี)
    • หนังสือบริคณห์สนธิ และข้อบังคับบริษัท (แบบบอจ. 2)
    • เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร
    • หนังสือมอบอำนาจ (ถ้ามี)
    • ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

    ห้างหุ้นส่วนจำกัด, ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล

    • บัตรประชาชน / หนังสือเดินทาง (กรณีต่างชาติ) ของผู้มีความสัมพันธ์กับนิติบุคคล(แนบสำเนาทะเบียนบ้าน กรณีบัตรไม่แสดงที่อยู่)
      • กรรมการบริหาร กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม
      • ผู้มีอำนาจลงนาม
      • ผู้ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 25 ขึ้นไป
    • รายงานการประชุมที่มีมติให้มีการเปิดบัญชีเงินฝากกับธนาคารที่ลงนามรับรองโดยผู้ที่มีอำนาจกระทำการแทน พร้อมกำหนด ผู้มีอำนาจลงนามสั่งจ่ายและเงื่อนไขในการสั่งจ่าย
    • หนังสือรับรอง/หนังสือจดทะเบียนนิติบุคคล (ออกให้ไม่เกิน 3 เดือน)
    • หนังสือจัดตั้งห้าง / หนังสือข้อตกลงของผู้เป็นหุ้นส่วน / ข้อบังคับ (ถ้ามี)
    • เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร
    • หนังสือมอบอำนาจ (ถ้ามี)

    ร้านค้าจดทะเบียน

    • เอกสารแสดงตนของเจ้าของร้านค้า
    • ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนพาณิชย์ ที่ระบุชื่อผู้ขอจดทะเบียน
    • เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร
    • ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ถ้ามี)

    HtmlBlock

    21

    รายละเอียดบัญชี

    • สามารถใช้เช็คในการสั่งจ่ายหรือเบิกถอน
    • ไม่มีดอกเบี้ย
    • ​ไม่มีสมุดบัญชีเงินฝาก​

    ​​ ​

    None

    40

    ข้อกำหนดและเงื่อนไขการเปิดบัญชี​

    ดูยังไงว่าเป็นบัญชีออมทรัพย์

    1. บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ จะเป็นบัญชีที่ธนาคารพาณิชย์ ทำออกมาเพื่อให้ลูกค้ารายย่อย โดยใช้จะเน้นความสะดวกสบายในการฝากและถอนเงิน โดยจะมีไม่มีการกำหนดจำนวนเงินขั้นต่ำในการฝากและถอน หลายคนอาจจะยังไม่ทราบว่าบัญชีเงินฝากออมทรัพย์นั้นจากดอกเบี้ยให้กับผู้ฝากเงินด้วย

    เงินฝากกระแสรายวันต่างจากออมทรัพย์ยังไง

    บัญชีกระแสรายวัน เป็นบัญชีที่ไม่มีดอกเบี้ย ใช้สำหรับธุรกิจต่างๆ เพื่อความคล่องตัวในการดำเนินธุรกิจและสามารถสั่งจ่ายเช็คได้ บัญชีออมทรัพย์ เป็นบัญชีที่มีมีดอกเบี้ย ปัจจุบันเท่ากับ 0.5% ต่อปี สำหรับการออมเงิน, ทำธุรกรรมทางการเงินส่วนบุคคลต่างๆ เช่น ใช้ทำธุรกรรมออนไลน์, โอนเงิน, เติมเงิน, จ่ายเงิน ฯลฯ

    เงินฝากกระแสรายวัน ถอนได้ไหม

    บริหารบัญชีได้สะดวก ไม่ต้องพกเงินสดจำนวนมาก โดยเขียนเช็คสั่งจ่ายล่วงหน้าแทนเงินสดได้ สามารถเบิกถอนเงินด้วยเช็คได้ทุกสาขาทั่วประเทศ ไม่ต้องกังวลหากเช็คสูญหาย เพราะเฉพาะผู้ที่มีชื่อระบุบนหน้าเช็คเท่านั้น ที่สามารถนำเช็คไปขึ้นเงินได้

    กระแสรายวันดีไหม

    ข้อดีของบัญชีกระแสรายวันมีอะไรบ้าง? – มีความปลอดภัย เพราะไม่ต้องถือเงินสดจำนวนมากอยู่กับตัว โดยเป็นการสั่งจ่ายเช็คเพื่อนำไปขึ้นเงินกับทางธนาคาร ซึ่งสามารถให้พนักงานส่งเอกสารไปรับเช็คมาจากลูกค้าได้โดไม่ต้องกังวลหรือกลัวกับการโดนโกง เนื่องจากมีการระบุชื่อและขีดคร่อมบนเช็คไว้อยู่แล้ว