ข้อใดคือคำนิยามที่ใช้ในเทคโนโลยียุค 2g

ระบบการสื่อสารแบบไร้สายมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในช่วง 20 – 30 ปีที่ผ่านมา ทั้งในด้านของ ระบบ เทคโนโลยีความเร็วในการรับส่งข้อมูล ความถี่ ความจุข้อมูล ความล่าช้า (latency) และอื่น ๆ โดยในแต่ละยุค (generation : G) ของการสื่อสารจะมีมาตรฐาน ความสามารถ เทคนิคการทำงาน และคุณสมบัติที่แตกต่างกัน ซึ่งระบบการสื่อสารแบบไร้สายในปัจจุบัน สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ยุค

ข้อใดคือคำนิยามที่ใช้ในเทคโนโลยียุค 2g

ยุคที่หนึ่ง (1G) เป็นระบบแอนะล็อกที่ใช้สัญญาณวิทยุในการรับส่งคลื่นเสียง (voice) เท่านั้น ไม่รองรับการส่งผ่านข้อมูล (data) ใด ๆ ทั้งสิ้น
– อ่านต่อ

ข้อใดคือคำนิยามที่ใช้ในเทคโนโลยียุค 2g

ยุคที่สอง (2G) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการเข้ารหัสคลื่นเสียง ก่อนส่งผ่านคลื่นไมโครเวฟไปยัง ปลายทาง นอกจากนี้ยังสนับสนุนการรับส่งข้อความ (text messaging)
– อ่านต่อ

ข้อใดคือคำนิยามที่ใช้ในเทคโนโลยียุค 2g

ยุคที่สาม (3G) เป็นการพัฒนาเทคโนโลยี 2G ให้มีอัตราการรับส่งข้อมูลที่สูงขึ้น เพิ่มความจุ และให้ การสนับสนุนด้านมัลติมีเดีย
– อ่านต่อ

ข้อใดคือคำนิยามที่ใช้ในเทคโนโลยียุค 2g

ยุคที่สี่ (4G) เป็นเทคโนโลยีที่ทำงานร่วมกับ 3G และระบบอินเตอร์เน็ต โดยมีแบนด์วิดท์มากขึ้น และมีต้นทุนลดลง
– อ่านต่อ

ข้อใดคือคำนิยามที่ใช้ในเทคโนโลยียุค 2g

ยุคที่ห้า (5G) เป็นการใช้โทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถและแบนด์วิดท์สูง ซึ่งช่วยรองรับการใช้ งานประยุกต์ใหม่ ๆ ที่เทคโนโลยี 4G ไม่สามารถทำได้
– อ่านต่อ

ยุคสมัย1G2G3G4G5Gช่วงเวลาการใช้งานพ.ศ. 2513-2523พ.ศ. 2513-2523พ.ศ. 2513-2523พ.ศ. 2513-2523พ.ศ. 2513-2523แบนด์วิดท์2 kbps64 kbps2 Mbps1 Gbps> 1 Gbpsเทคโนโลยีแอนะล็อกดิจทัลCDMA2000, UMTS, EDGEWi-Max, LTE, Wi-FiWWWWโครงข่ายหลักPSTNPSTNPacket
N/Wอินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ตมอดูเลชันFDMATDMA/CDMACDMAOFDMAOFDMAสวิตซ์ชิงแบบวงจรแบบวงจร/แพ็คเก็ตแบบแพ็คเก็ตแบบแพ็คเก็ตแบบแพ็คเก็ตบริการหลักโทรศัพท์เสียงแบบแอนะล็อกโทรศัพท์เสียงแบบดิจิทัลและการส่งข้อความ (SMS)โทรศัพท์เสียงแบบดิจิทัล การส่งข้อความ (SMS) และการส่งข้อมูล (Data)ทุกอย่างทั้งเสียง ข้อความ และข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตเสียง ข้อความ และข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต รวมถึงบริการใหม่ ๆ ในอนาคตความแตกต่างหลักความคล่องตัวความปลอดภัยการใช้งานข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ความหน่วงต่ำอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงมาก ความหน่วงต่ำมาก พื้นที่ครอบคลุมมาก จำนวนการใช้งานสูง
       4G ��� Forth Generation ���㹺�ҹ����ѧ����������繡ѹ ����;ٴ�֧෤��������������ؤ 4G ����ͧ�������ǹ���˹�͡��� 3G �ҡ ��ͷӤ�������㹡�����������֧�дѺ 20-40 Mbps  �������º�Ѻ�������Ƿ����ҡ 3G ��鹤�������ͧ�ѹ���  ������蹹�����͢������Ѿ������෤����� 4G ����ö����ԡ���Ѻ����¡���÷�ȹ��ҹ��Ͷ��������  ���ͨ���Ŵ������ҧ�Ҿ¹����Ҫ������Ѿ����Ͷ�͡����������蹡ѹ  ��������蹶֧�պ���ⴴ�����ؤ 4G  �ѹ����������Թ �ӵͺ���� � ���� "�ԨԵ�Ť͹෹��" �繵�Ǽ�ѡ�ѹ����Դ�������¹�ŧ��鹹���ͧ  ����ͼ������ԡ�����������ٻẺ�����Դ����͹Ҥ�  �¨��繵�ͧ��������͢��·���դ��������٧  ����ö�Ѻ�觢�������㹻���ҳ�ҡ �  �ѧ���  ��ü�ѡ�ѹ����ͧ����������ؤ 4G �����෤����շ���˹�͡���  3G ��͹�����  ��Ҩ��繡�õѴ�Թ㨷��١��ͧ����ش

หลายๆคนที่ใช้งานอินเตอร์เน็ตบนมือถือในปัจจุบัน คงงงกันใช่ไหมคะ 3G, 4G มันคืออะไร แตกต่างกันยังไง เห็นคนพูดถึงกันบ่อยๆ สัญญาณ 4G LTE เร็ว แรง จริงไหม? เพราะอะไร? ยังไง? วันนี้เรามาทำความรู้จักสัญญาณตั้งแต่รุ่น 1G จนถึง 4G LTE ในปัจจุบันกันเลยคะ ตามไปอ่านได้ในบทความด้านล่างเลย

 

ข้อใดคือคำนิยามที่ใช้ในเทคโนโลยียุค 2g
…ในปัจจุบันเทคโนโลยีมีความก้าวหน้ามากขึ้นอย่างรวดเร็ว จนทำให้โลกทุกวันนี้กลายเป็นโลกไร้พรมแดน ซึ่งทุกคนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ง่ายกว่าเดิม โดยสิ่งสำคัญที่ช่วยให้การติดต่อสื่อสารนั้นกลายเป็นเรื่องง่ายนั่นก็คือ เทคโนโลยีสื่อสารไร้สายยุค 3G และ 4G LTE ที่เราทุกคนเคยได้ยินกันในปัจจุบัน แต่จะมีซักกี่คนที่เข้าใจความหมายของเทคโนโลยีนี้ว่าตกลงแล้วคืออะไร? ก่อนที่เราจะมาทำความรู้จักกับเทคโนโลยีนี้ เราควรทราบถึงวิวัฒนาการของเทคโนโลยีเครือข่ายโทรศัพท์มือถือก่อนที่จะมาเป็น 3G และ 4G LTE ในยุคปัจจุบัน
วิวัฒนาการก่อนจะเป็นเทคโนโลยีสื่อสารไร้สาย 4G LTE ซึ่งคำว่า G ย่อมาจาก Generation แปลว่า ยุค หรือช่วงสมัย ไม่ได้หมายถึงชื่อของเทคโนโลยีที่หลายๆ คนมักเข้าใจผิด

 

 

ยุค 1G (1st Generation)

เป็นยุคที่ใช้ระบบอนาล็อก (Analog) คือใช้สัญญาณวิทยุในการส่งคลื่นเสียง (Voice) โดยสามารถโทรออก-รับสายได้อย่างเดียว ไม่สามารถส่งผ่านข้อมูลใดๆ ทั้งสิ้น แม้แต่การรับ-ส่ง SMS โดยในยุคนั้นผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือส่วนใหญ่มักเป็นบุคคลที่มีรายได้สูง

ข้อใดคือคำนิยามที่ใช้ในเทคโนโลยียุค 2g
 

ยุค 2G (2nd Generation)

เป็นยุคที่เปลี่ยนจากการส่งคลื่นวิทยุแบบอนาล็อก (Analog) มาเป็นการเข้ารหัสดิจิตอล (Digital) แทน โดยผู้ใช้สามารถใช้งานทางด้านข้อมูลก็คือสามารถส่งข้อความ SMS ได้นอกเหนือจากการโทรออก-รับสาย รวมทั้งยังทำให้เกิดการบริการต่างๆ มากมาย เช่น การเปิดให้ดาวน์โหลด Ringtone, Wallpaper ซึ่งในยุคนี้ถือเป็นยุคเฟื่องฟูของโทรศัพท์มือถือ ถัดมาได้มีการนำเทคโนโลยี GPRS (General Packet Radio Service) มาใช้ เพื่อเพิ่มความเร็วในการรับส่งข้อมูลให้มีการรับ-ส่งข้อมูลได้มากขึ้น ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างเช่น นอกจากส่งข้อความ SMS แล้วยังสามารถส่ง MMS ได้อีกด้วย, เสียงเรียกเข้ามีการเพิ่มเสียงเป็นแบบ Polyphonic และ True tone รวมทั้งเริ่มมีโทรศัพท์มือถือที่มีหน้าจอสี นอกจากหน้าจอขาว-ดำ ซึ่งต่อมาได้มีการพัฒนาความเร็วในการส่งข้อมูลเพิ่มสูงขึ้น โดยเรียกเทคโนโลยีนี้ว่า EDGE (Enhanced Data rates for Global Evolution) ซึ่งจะมีความเร็วมากกว่า GPRS ประมาณ 3 เท่า ทำให้สามารถเข้าเว็ปไซด์ เล่นอินเตอร์เน็ตได้ แต่ความเร็วยังมีจำกัด และไม่สามารถรองรับไฟล์ที่มีขนาดใหญ่ได้ โดยเทคโนโลยี GPRS และ EDGE ถูกนำมาใช้ในระบบมาตรฐานคลื่นความถี่ GSM (Gobal System for Mobile Communication)

ข้อใดคือคำนิยามที่ใช้ในเทคโนโลยียุค 2g
 

ยุค 3G (3rd Generation)

เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่ 3 ซึ่งจะมีความโดดเด่นในเรื่องของความเร็วในการเชื่อมต่อและการรับ-ส่งข้อมูลโดยเน้นการเชื่อมต่อแบบไร้สายด้วยความเร็วสูง เพื่อรองรับการใช้งานกับอุปกรณ์สมัยใหม่ ที่ช่วยให้สามารถใช้งานด้านมัลติมีเดียได้อย่างสมบูรณ์แบบ และสามารถส่งข้อมูลทั้งภาพและเสียงในระบบไร้สายด้วยความเร็วที่สูง ซึ่งก่อให้เกิดการใช้งานที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็นการสนทนาผ่านวีดีโอคอล หรือดูหนัง ฟังเพลงผ่านระบบอินเตอร์เน็ต นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดการบริการที่เรียกว่าแอพพลิเคชั่นอีกด้วย ในยุคนี้ถือว่าเป็นยุคแห่งเทคโนโลยีที่ช่วยอำนวยความสะดวกสบายให้กับชีวิตเลยก็ว่าได้ ซึ่งยุค 3G เป็นยุคเทคโนโลยีไร้สายที่ถูกพัฒนามาจากยุค 2G ที่มีข้อจำกัดในหลายๆ ด้าน ให้มีขีดความสามารถในการรับส่งข้อมูลที่เหนือกว่า สำหรับประเทศไทยได้นำเทคโนโลยี UMTS ( Universal Mobile Telecommunications System) มาใช้ ซึ่งเป็นระบบเครือข่ายมาตรฐานใหม่ที่ถูกพัฒนามาจาก ระบบมาตรฐานคลื่นความถี่ GSM ที่มีเทคโนโลยีหลักคือ W-CDMA ต่อมาได้ถูกพัฒนาให้เป็นเทคโนโลยี HSPA+ ที่สามารถรับส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงสุดถึง 42 Mbps

ข้อใดคือคำนิยามที่ใช้ในเทคโนโลยียุค 2g
 

ยุค 4G หรือ (4th Generation)

ถือได้ว่าเป็นยุคปัจจุบันสำหรับทั่วโลกยุค 4G หรือ (4th Generation) ถือได้ว่าเป็นยุคปัจจุบันสำหรับทั่วโลก รวมถึงในประเทศไทยที่พึ่งจะจบการประมูลคลื่นความถี่กันไปเป็นที่เรียบร้อยและเตรียมเปิดให้บริการอย่างเต็มรูปแบบเร็วๆ นี้

หลายๆ คนคงเคยได้ยินคำว่า 4G LTE และคงมีคำถามว่าแล้ว LTE คืออะไร? เกี่ยวข้องกับ 4G อย่างไร? สำหรับ LTE นั้นย่อมาจาก Long Term Evolution เป็นเทคโนโลยีหนึ่งที่ถูกนำมาทดลองใช้ในยุค 4G โดยเกิดจากความร่วมมือของ 3GPP (3rd Generation Partnership Project) ที่มีการพัฒนาให้ LTE มีความเร็วมากกว่ายุค 3G ถึง 10 เท่า โดยมีความสามารถในการส่งถ่ายข้อมูลและมัลติมีเดียสตรีมมิ่งที่มีความเร็วอย่างน้อย 100 Mbps และมีความเร็วสูงสุดถึง 1 Gbps นอกจากเทคโนโลยี LTE แล้วยังมีอีก 2 เทคโนโลยีที่ถูกนำมาทดลองใช้เหมือนกันคือ UMB (Ultra Mobile Broadbrand) ที่พัฒนามาจากมาตรฐาน CDMA2000 ซึ่งเป็นเทคโนโลยีหนึ่งที่ถูกนำมาใช้ในยุค 3G นั่นเองและ WiMax (Worldwide Interoperability for Microwave Access) เป็นเทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สายความเร็วสูง โดยพัฒนามาจากมาตรฐาน IEEE 802.16 ซึ่งเป็นมาตราฐานเดียวกันกับ Wi-Fi แต่มาตรฐาน Wimax สามารถส่งสัญญาณได้ไกลถึง 40 ไมล์ ด้วยความเร็ว 70 Mbps และมีความเร็วสูงสุด 100 Mbps โดยปัจจุบันนี้มีเพียง 2 เทคโนยีที่ถูกนำมาใช้ในยุค 4G คือ เทคโนโลยี LTE และ Wimax ซึ่งเกือบทุกประเทศทั่วโลกใช้เทคโนโลยี 4G LTE แต่มีเพียงบางประเทศเท่านั้นที่ใช้เทคโนโลยี 4G Wimax เช่น ประเทศญี่ปุ่น ไต้หวัน บังคลาเทศ เป็นต้น

ข้อใดคือคำนิยามที่ใช้ในเทคโนโลยียุค 2g
ซึ่งในยุค 4G นี้ถือว่าเป็นยุคที่ถูกพัฒนาก้าวมาอีกขั้นโดยมีความเร็วในการรับส่งข้อมูลมากกว่ายุค 3G ที่ช่วยตอบสนองการใช้งานผ่านอินเตอร์เน็ตไร้สายให้ดีขึ้น ทำให้สามารถส่งรับข้อมูลได้รวดเร็วกว่าเดิม และสามารถใช้โปรแกรมมัลติมีเดียได้อย่างเต็มที่ เช่น การสนทนาผ่านโปรแกรม Video Conference ในระดับความคมชัดแบบ HD, โหลดหนัง ฟังเพลง โดยไม่สะดุด และยังสามารถอัพโหลด – ดาวน์โหลดข้อมูลที่มีขนาดไฟล์ใหญ่ๆ ซึ่งใช้เวลาเพียงไม่นาน นอกจากนี้เทคโนโลยี 4G LTE ได้ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายมากกว่า 130 ประเทศทั่วโลก ทำให้สามารถใช้งานบนมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก
ข้อใดคือคำนิยามที่ใช้ในเทคโนโลยียุค 2g
 

เป็นไงบ้างคะ บทความนี้คงทำให้หลายๆคนเข้าใจเรื่องความเป็นมาของสัญญาณแต่ละแบบกันแล้วนะคะ ครั้งหน้าจะมีบทความอะไรมาฝาก ติดตามกันด้วยนะค้าาา