การศึกษาตามความหมายในพระพุทธศาสนา คืออะไร *

                    ถึงความสุขจากการเห็นความจริงของธรรมชาติ โลก ชีวิต ความสุขอะไรต่างๆ เหล่านี้ มีเยอะเหลือเกินล้วนแต่มีจุดเริ่มจากฉันทะ และเป็นความสุขที่จะต้องพัฒนาขึ้นมาจึงมาถึงหลักที่ว่า การพัฒนาความสุขก็คือการศึกษา

��. ���ê ������ �������� ����֡�Ҥ�͢�ǹ��þѲ�Ңѹ�� � �����ԭ���������ͺ�����Ҥ� ��� ���� �ͧ����������Һҧŧ�������㹷���ش
����Ҫ���ع�* (* �Ѩ�غѹ ��и����Ԯ� (����ط�� ��ص��) )��������� ����֡���ըش����������ͷӪ��Ե�����Ҷ֧�����Ҿ ��ͷ������Ե��ش�鹨ҡ�ӹҨ��ͺ�Өҡ�Ѩ�����¹͡����ҡ����ش ��� �դ������˭�㹵�� ����ö��˹�����������ͧ��������ҡ����ش

�. ��кǹ����֡��Ẻ�ط�
��� ��кǹ�����ѭ�����ҧ�١��ͧ���¡�÷������Ԫ����еѳ�� ������ҧ������ѭ�� �ѹ�� ��С�س�

�. ����������Шش������¡���֡��
�. �������·���ͧ�����Ҿ���༪ԭ����֡�ҡ��͡����ѭ�Ңͧ������ �������ջѭ�� ����֡�ҡ������ �ͧ�����Ҿ���л��ʺ�� ����֡�ҡ��͡�÷������Ե��ش�鹨ҡ�ѭ�� (-) ���Ȩҡ��觺պ��鹡մ��ҧ ������Ҷ֧��觷��է�� (+) ��觷�������԰����ش���ʹշ���ش�����Ե�о֧���������Ҿ����ó� �ͧ����������ѹ��Ѻ�Ѩ�����¹͡����֡�Ҥ�͡�÷����������鹨ҡ��õ�ͧ��觻Ѩ�����¹͡ �դ�������ó�㹵���ҡ��觢�鹵���ӴѺ
�. �ش���¢ͧ����֡�����ѹ���ǡѹ�Ѻ�ش���¢ͧ���Ե��ͤ�����ش�� (���ص��) ���������ʹ����������

�. �س���ѵԢͧ������Ѻ����֡��
��������Ѻ����֡�ҵ��Ẻ�ط� �����ѡɳ��� ��� �դس���� � ��С�û�Шӵ�
�. �ջѭ�� ����Դ������Ѻ��������Ԫ��
�. �ա�س� ������ç����㹡�á�з�㹡�ô�ç���Ե �����ѡɳ� � ���
�ѵ�ѵ�� ��ú���ض֧����ª�쵹 �֡���ͧ��� (�ѭ��)
��ѵ�� ��ú��筻���ª���ͼ����� ����ö���¼�������� (��س�)

�. �ط���������������Ӥѭ�ͧ����֡��
�) �������֧�������� ������ǧ�Ҿط���Ѫ�� ����֡����ѡ���� ��ѡ���� ��Ԩ���ػ�ҷ �Ծ�ҹ ��������Ѩ � ��ѡ�����ͧ ��� �ѹ�� �,���ѡɳ� ���� ������ԡ��
�) �������¢ͧ��ѡ�����������ҧ
�.� ��Ԩ���ػ�ҷ�ʴ����˵ؼ���лѨ���ʹѺʹع
�.� �����Ѩ�ʴ��ѭ����С���ѻѭ�Ңͧ������
�.� �ѹ�� � �ʴ����Ե��ͧ���Сͺ
�.� ���ѡɳ� �ʴ���Ҿ����繨�ԧ�����Ҩо֧����Ǣ�ͧ���١��ͧ
�.� ���� �ʴ�������仢ͧ����������˵ؼ� ������䢻�Ѻ��ا�������� ��Шش������·�����Ҷ֧����¡�á�з���������͹�͹
�.� ���ԡ�� �ʴ�����������ͧ����֡�� �ͺࢵ��� �֡�� ��þѲ�Ҫ��Ե���� (��ä)
�.� �Ծ�ҹ �ʴ��֧����з����Ҷ֧�������ѭ�������������� ��л���ª���٧�ش���о֧��ҡ����ժ��Ե��С�����آ�Ҿ�Ե�������ó�

�. �ͧ����֡���Ǿط��ҡ�Ҥ��Ժѵ�
��� ��ͼ���˹�ҷ�� � ���ҧ ���
�. �Ի���¡ �繼������Է�ҡ��
�. ����ҳ�Ե� �����͹�Դ
�����ѡ�Ѩ�������ҷ԰� � ��С�� ���
������ ���§�ҡ��¹͡�����駡���ҳ�Ե�
�¹������ԡ�� ��͡�äԴ���к� �� Ẻ ���

�. �ԴẺ����ѹ��Ҿ
การศึกษาตามความหมายในพระพุทธศาสนา คืออะไร *

(�Էѻ�Ѩ�µ�)�. �ԴẺ��������
การศึกษาตามความหมายในพระพุทธศาสนา คืออะไร *

(�ѹ�� �)�. �ԴẺ��ء��
การศึกษาตามความหมายในพระพุทธศาสนา คืออะไร *

(�����Ѩ)�. �ԴẺ��������
การศึกษาตามความหมายในพระพุทธศาสนา คืออะไร *

(���ѡɳ�)�. �ԴẺ����Ե�
การศึกษาตามความหมายในพระพุทธศาสนา คืออะไร *

(�س-��-�ҧ�͡)�. �ԴẺ�س�����-�س�������
การศึกษาตามความหมายในพระพุทธศาสนา คืออะไร *

(����ѧ����)�. �ԴẺ������
การศึกษาตามความหมายในพระพุทธศาสนา คืออะไร *

(�ѵ�����)�. �ԴẺ������ǹ�
การศึกษาตามความหมายในพระพุทธศาสนา คืออะไร *

(�٤�����)�. �ԴẺ�ѹ�����
การศึกษาตามความหมายในพระพุทธศาสนา คืออะไร *

(ʵԻѮ�ҹ)�� . �ԴẺ���Ѫ��ҷẺ�Ըյͺ�ѭ�� � ���ҧ
��� �׹-�¡-��͹-��ش


�. ��ǹ�����ѭ�Ҵ��»ѭ�ҭҳ

การศึกษาตามความหมายในพระพุทธศาสนา คืออะไร *

�. ��ǹ��÷ҧ����֡�Ңͧ��оط���� �Ҩ�����������ػ�ѧ���
��þ�Ҥ�ͧ����֡�� ��;�鹰ҹ��������Դ�к�����֡�ҷ��١��ͧ�� � ���ҧ ���

�) ����ҳ�Ե���
�) �ѹ�������
�) ���������
�) �ѵ�������
�) �ԯ��������
�) ��ѻ�ҷ������
�) �¹������ԡ��- ������
- ���
- ������º�Թ��
- ����ѡ��Ҿ���ͧ
- ��繪ͺ
- ���ѡ��Ңͧ����-������ҷ
- �Դ���к�


��ǡ���֡�� ��� ��ä��ͧ�� � �դ�����繪ͺ�繵�
��ҡ���֡�� ��� �Ѳ�ҡ�� (���Ե����) �Ѳ���ѧ�� (���Ե����) �Ѳ�ҨԵ (���Ե�Ե��) �Ѳ�һѭ�� (���Ե����)
�š���֡�� ��� �Ե���ص����лѭ�����ص�� ��觨��ӹ�»���ª���آ����赹�ͧ����ѧ�� �ѧ�ٻ����� ����֡�� �ѧ���.

การศึกษาตามความหมายในพระพุทธศาสนา คืออะไร *

Education มาจากภาษาลาตินว่า Educare มีความหมายตรงกับคำว่า Bring up หมายถึงการดึงออก การศึกษามิใช่การใส่เข้าไป แต่หมายถึงการดึงเอาความรู้ หรือสิ่งที่มีอยู่ในผู้เรียนออกมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด

Education มีความหมายดังนี้

1. เป็นกระบวนการหรือการกระทำที่ให้ความรู้หรือทักษะระบบการสอนหรือการเรียน

2. เป็นการได้รับความรู้ หรือทักษะผ่านกระบวนการจากโรงเรียน

3. ความรู้หรือทักษะที่ได้รับหรือพัฒนาโดยกระบวนการเรียนรู้ หรือโครงการของการสอนในระดับเฉพาะทาง

4. สาขาของการศึกษา ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสอน การเรียนรู้ รวมทั้งทฤษฎีของการสอนและศาสตร์ของการสอน

การศึกษา คือ ความเจริญงอกงาม เพราะเป็นกระบวนการดึงออก และพัฒนาให้เจริญงอกงามขึ้น การศึกษาเป็นการใส่เข้าไป การศึกษาจะมีลักษณะ

1. คงที่ คือความรู้จะไม่มีการพัฒนาขึ้น จะมีเฉพาะที่อาจารย์บอกเท่านั้น อาจารย์หมดความรู้ก็เป็นอันว่าจบกันเท่านั้น

2. ขาดหายไป คือยิ่งนานวันเข้าความรู้ที่มีอยู่ก็จะหดหายไปทีละน้อยๆเพราะตกหล่นหรือจะเป็น เพราะอะไรก็แล้วแต่ ในที่สุดอาจจะหมดไปเลยก็ได้

ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ศึกษาหมายถึง การเล่าเรียน ฝึกฝน อบรม ในภาษาบาลี ใช้คำว่า “สิกขา” หมายถึงข้อที่ต้องศึกษาข้อที่จะต้องปฏิบัติ

พลาโต (Plata)กล่าวว่า “การศึกษาคือการเปลี่ยนแปลงความคิดหรือวิญญาณของมนุษย์ (Education is conversion human’s soul) คือพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น จากโลกมืดไปสู่โลกที่สว่างการศึกษาในทัศนะของนักปราชญ์บานคน

พลาโต ได้แบ่งโลกออกเป็น ๒ โลกคือ

- โลกแห่งสติปัญญา โลกแห่งวิทยาศาสตร์

- โลกแห่งประสาทสัมผัส โลกของจินตนาการ

สิ่งเหล่านี้เป็นเพียงสิ่งที่ใช้เป็นการแสวงหาความจริงเท่านั้น ไม่ใช่ความจริงแท้

ฟรานซิส เบคอน กล่าวว่าการศึกษาคือทำให้คนมีเหตุมีผล ให้เข้าถึงความจริงที่ตรงกัน เบคอนเห็นว่าความจริงมีเพียงหนึ่งเดียวตามแนวทัศนะนี้ จิตมนุษย์เหมือนกับกระจกเงา จะสะท้อนภาพชัดเจนก็ต่อเมื่อได้มีการชำระฝ้า จิตจะเข้าถึงต้องกำจัด “อคติ”

รุสโซ นักธรรมชาตินิยมชาวฝรั่งเศส กล่าวถึงการศึกษาว่า “การศึกษา คือการเข้าให้ถึงธรรมชาติเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับธรรมชาติ ชีวิตที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับธรรมชาติ จะมีแต่ความสดชื่น จิตใจจะเป็นอิสระ สว่างไสว มองโลกไดกว้างไกล การศึกษาที่ดีต้องสอดคล้องกับความจริงตามธรรมชาติ และสามารถนำไปแก้ปัญหาได้

จอนห์ ดิวอ์ ชาวอเมริกัน ให้ความหมายของการศึกษาว่าการศึกษาคือชีวิต ไม่ใช่เป็นการเตรียมตัวเชื่อชีวิตในภายหน้า การศึกษากับชีวิตเป็นของคู่กัน ตราบใดที่ยังมีชีวิตอยู่ก็ต้องมีการศึกษาตลอดไป

เป้าหมายทางการศึกษาคือชีวิตมนุษย์ ต้องการให้มนุษย์เป็นอย่างไรก็กำหนดเป็นหมายขึ้นไว้ การศึกษาเป็นพลวัตมีการเปลี่ยนแปลงได้ ระบบการศึกษาที่มีเป้าหมายชัดเจนสมบูรณ์จะต้อจัดเพื่อพัฒนาทั้งในแง่ สติ ปัญญา เหตุผล อารมณ์ และร่างกายของผู้เรียน

หลักพระพุทธศาสนาส่งเสริมให้มีการจัดการศึกษา

องค์ประกอบสำคัญในการที่ทำให้การศึกษาในพระพุทธศาสนาก้าวหน้าอย่างมากคือ พระพุทธศาสนามิได้มีความหมายที่จะให้การศึกษาอบรมและการปฏิบัติธรรมอยู่อย่างในวัด เห็นได้จากตั้งแต่เริ่มประดิษฐานพระพุทธศาสนาเมื่อคราวส่งสาวกออกประกาศพระศาสนาว่า “ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงจาริกไป เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์ทั้งหลาย” นั่นคือเปิดโอกาสให้พุทธบริษัท4 ได้มีโอกาสศึกษาพระสงฆ์มีชีวิตผูกพันอยู่ในสังคมพระสงฆ์แล้ว ยังต้องมีส่วนเกี่ยวข้องกับสังคมชาวโลก ด้วยบทบัญญัติในการเลี้ยงชีพทางฝ่ายวินัย

หลักการศึกษาคือ เป็นพื้นฐาน แห่งการให้การศึกษาเพื่อให้การจัดการศึกษาเกิดประสิทธิภาพตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

เป้าหมายของการศึกษา

เป้าหมายของการศึกษาจะมีการเปลี่ยนแปลง การศึกษาเป็นพลวัตมีการเปลี่ยนแปบงได้ ระบบการศึกษาที่มีเป้าหมายชัดเจนสมบูรณ์ ต้องพัฒนาทั้งในแง่ของสติ ปัญญา เหตุผล อารมณ์ และร่างกายของผู้เรียน

พระพุทธศาสนาในแง่ของเป้าหมายทางการศึกษา

1. เป็นเป้าหมายด้านการดำรงชีพ ดำรงชีพเป็นเรื่องสำคัญพื้นฐาน ที่พุทธศาสนาให้ความสำคัญ ในฐานะเป็นกระบวนการต่อเนื่องตลอดชีวิต ในอริยมรรค8ประการ ได้กล่าวถึงหลักการดำเนินชีวิตต้องเป็นสัมมาชีพ พระพุทธองค์ทรงเห็นว่า ทรัพย์เป็นปัจจัยจำเป็นสำหรับการดำเนินชีวิต จึงใช้หลักธรรมด้วย เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตไว้ เช่น

- ทิฏฐธรรมมิกัตถประโยชน์

- สุขของคฤหัสถ์

- ประโยชน์จากการถือโภคทรัพย์ 5 อย่าง

2. เป้าหมายด้านการพัฒนาบุคลิกภาพ สอนให้พัฒนาบุคลิกภาพให้สมดุลมีความจำเป็นต่อการครองชีวิตทั้งส่วนตัวและในทางสังคม โดยใช้หลักธรรมต่างๆเช่น

- สัปปุริสธรรม 7

- ทิศ 6

- เวสารัชชกรณธรรม

3. เป้าหมายด้านพัฒนาสติปัญญา สติปัญญาทำให้มนุษย์แตกต่างกับสิ่งที่มีชีวิตรูปแบบอื่น พระพุทธศาสนาได้จำแนกปัญญาไว้ 2 ทาง

- สหชาติปัญญา (หรือวิปัสสนาปัญญา) ไม่สามารถพัฒนาได้ดีกว่าเดิม เพราะเกิดมีสำเร็จด้วยอานุภาพหรืออิทธิพลของกรรม

- นิปากปัญญา ปัญญาหรือความรู้ที่ใช้ดำรงชีวิต เกิดจากการขวนขวายศึกษาเล่าเรียนจนมีความรู้ และเป็นความรู้ที่ใช้ในการบริหาร

4. เป้าหมายในการพัฒนาร่างกาย บุคคลจะต้องมีร่างกายสมบูรณ์ + แข็งแรง เราไม่อาจมีชีวิตอยู่อย่างสุขสบายหรือได้รับสิ่งที่ปรารถนาได้ ในพระพุทธศาสนากล่าวถึงสัปปายะ 4 ประการ อันเป็นเหตุเบื้องต้นในอนายุสสสูตร พระพุทธองค์ตรัสถึงเหตุที่ทำให้อายุสั้นไว้ 2 ประการ

- สร้างเรื่องความทุกข์กาย-ทุกข์ใจให้แก่ตนเอง

- ไม่รู้จักพอใจในการแสวงหาความสุข

- กินของย่อยยาก และแสลงต่อสุขภาพ

- เสียความประพฤติ ชอบฆ่าสัตว์ ฯลฯ ดื่มน้ำเมา เป็นต้น

- ชอบเที่ยวในที่ไม่ควรไป ไปแล้วเสี่ยงโรคเสี่ยงภัย

5. เป้าหมายในการพัฒนาด้านศีลธรรม คุณค่าทางศีลธรรมปรากฏชัดเจนในโลกปัจจุบัน ทั้งในการดำรงชีพการติดต่อสื่อสาร การใช้ผลิตผลทางวิทยาศาสตร์ (เทคโนโลยี) การให้การศึกษาจะต้องคำนึงถึงด้านเพื่อประโยชน์แก่การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข โดยมีหลักการอยู่ร่วมกัน ไว้ในสิงคาลกสูตร

การพัฒนาด้านจริยธรรม ให้กระทำโดยการเริ่มต้นคิดในสิ่งที่ดีงามที่สอนไว้ซึ่งสัลเลขสูตร ความสุข ความทุกข์ของโลก ขึ้นอยู่กับใจของเราเอง ดังที่ตรัสไว้ในวัตถุปมสูตร แนวปฏิบัติเพื่อบรรลุความเจริญก้าวหน้าของชีวิตก็จะมีอยู่ในมงคลสูตร

6. เป้าหมายในการพัฒนาความรู้สึกซาบซึ้งในศิลปะ การศึกษา จะต้องทางให้ผู้เรียนพัฒนาความรู้สึกซาบซึ้งในด้านศิลปะซึ่งทางพระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ในนาถสูตร พระพุทธเจ้าตรัสว่า “ภิกษุในธรรมวินัยนี้ มีความขยันไม่เกียจคร้านในหน้าที่สูงหรือตัวอย่างใดอย่างหนึ่งของเพื่อนพรหมจารี ประกอบด้วย ปัญญาอันเป็นตัวนำในหน้าที่นั้นๆ สามารถทำเองสามารถวางแผนอย่างนี้ถือว่า เป็นนาถกรณธรรม”

7. เป้าหมายด้านการพัฒนาวิญญาณ มนุษย์มีวิญญาณธาตุ พระพุทธศาสนา มุ่งส่งเสริมพัฒนาวิญญาณของมนุษย์ให้สูงขึ้น ประณีตขึ้น ถึงขึ้นที่เรียกว่า อริยชน มีชีวิตอันประเสริฐ มุ่งเน้นพัฒนาด้านวิญญาณหลักคำสอนที่เรียกว่า อริยมรรค 8 ประการ อันเป็นหัวใจของการปฏิบัติเพื่อพัฒนาวิญญาณธาตุ

8. เป้าหมายด้านพัฒนาด้านการเมืองการปกครอง ไม่เน้นตัวบุคคล + ไม่เน้นที่ระบบแต่เน้นที่จริยธรรมทางการเมืองด้วยเหตุที่การเมืองเป็นเรื่องของการได้มาและการใช้อำนาจ เพราะต้องใช้จริยธรรม ควบคุมบุคคลเพื่อรักษาระบบไว้ดังนี้พระพุทธองค์ตรัสไว้ “เทพเจ้าก็ดี พระตถาคตก็ดี มองเห็นบุคคล(นักปกครอง)ประพฤติอ่อนไหวง่ายไม่เสมอภาค ด้วยเหตุนั้น ผู้ปกครองด้วยระบบ อัตตาธิปไตย จะต้องมีสติควบคุม ผู้ปกครองด้วยระบบประชาธิปไตยต้องมีความรู้ และมีการตรวจสอบเพ่งพินิจ (ฌายี) ผู้ปกครอง ด้วยระบบธรรมธิปไตย จะต้องยึดหลักธรรม ตามความเหมาะสมสำหรับแต่ละเรื่อง

การศึกษาตามความหมายในทางพระพุทธศาสนามีความหมายตรงตามข้อใด

การศึกษาในพุทธศาสนา เรียกว่า “ไตรสิกขา” ประกอบด้วย (1) ศีลสิกขา คือข้อปฏิบัติส าหรับใช้ อบรมทางด้านความประพฤติ(2) จิตตสิกขา คือข้อปฏิบัติสาหรับอบรมจิตให้เกิดสมาธิและ (3) ปัญญาสิกขา คือ ข้อปฏิบัติส าหรับอบรมปัญญาให้รู้แจ้งตามความเป็นจริง เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของชีวิตที่ก่อให้เกิดความ เป็นอยู่ที่ดี และเป็นพื้นฐานส า ...

การศึกษาตามแนวพระพุทธศาสนามีจุดหมายเพื่ออะไร

เป้าการศึกษา คือ พัฒนากาย (ภาวิตกาโย) พัฒนาสังคม (ภาวิตสีโล) พัฒนาจิต (ภาวิตจิตฺโต) พัฒนาปัญญา (ภาวิตปญฺโญ) ผลการศึกษา คือ จิตวิมุตติและปัญญาวิมุตติ ซึ่งจะอำนวยประโยชน์สุขทั้งแก่ตนเองและสังคม ดังรูปต้นไม้ การศึกษา ดังนี้.

การศึกษาธรรมคืออะไร

การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรม หรือที่เรียกกันว่า นักธรรม เกิดขึ้นตามพระดำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เป็นการศึกษาพระธรรมวินัยในภาษาไทย เพื่อให้ภิกษุสามเณรผู้เป็นกำลังสำคัญของพระพุทธศาสนาสามารถศึกษาพระธรรมวินัยได้สะดวกและทั่วถึง อันจะเป็นพื้นฐานนำไปสู่สัมมาปฏิบัติ ตลอดจนเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้กว้างไกล ...

การศึกษาที่สมบูรณ์หมายความว่าอย่างไร

การศึกษาที่สมบูรณ์นั้น คือ การประพฤติตนดีตามที่เรียนรู้ และการนำความรู้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ แก่สังคมหรืออย่างน้อยแก่ตนเอง