การเรียงลำดับประเทศสมาชิกอาเซียนที่เข้ามาเพิ่มเติมภายหลังการก่อตั้งอาเซียน ข้อใดถูกต้อง

1. ประเทศบรูไน (Brunei) 

ประเทศบรูไนเข้าเป็นสมาชิกอาเซียนเป็นประเทศที่ 6 เมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2527 ภายหลังได้รับเอกราชจากประเทศอังกฤษ

การเรียงลำดับประเทศสมาชิกอาเซียนที่เข้ามาเพิ่มเติมภายหลังการก่อตั้งอาเซียน ข้อใดถูกต้อง

2. ประเทศกัมพูชา (Cambodia)

ประเทศกัมพูชาเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มอาเซียนเป็นลำดับสุดท้าย คือลำดับที่ 10 ทั้งๆที่ยื่นความจำนงค์เข้ามาพร้อมกับลาวและพม่า (ลำดับที่ 8 และ 9) แต่เนื่องจากความไม่สงบภายในประเทศ จึงต้องมีการเลื่อนการพิจารณาออกไป จนเมื่อเหตุการณ์สงบแล้ว กลุ่มอาเซียนจึงรับกัมพูชาเข้าเป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2542

การเรียงลำดับประเทศสมาชิกอาเซียนที่เข้ามาเพิ่มเติมภายหลังการก่อตั้งอาเซียน ข้อใดถูกต้อง

3. ประเทศอินโดนีเซีย (Indonesia)

ประเทศอินโดนีเซียถือว่าเป็นประเทศผู้ร่วมก่อตั้งอาเซียนร่วมกับอีก 4 มิตรประเทศ คือ ไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ โดยเข้าร่วมเป็นสมาชิกตั้งแต่เริ่มต้น เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ภายหลังการลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯ

การเรียงลำดับประเทศสมาชิกอาเซียนที่เข้ามาเพิ่มเติมภายหลังการก่อตั้งอาเซียน ข้อใดถูกต้อง

4. ประเทศลาว (Laos, PDR)

ประเทศ สปป.ลาว เข้าร่วมเป็นสมาชิกของอาเซียนเป็นลำดับที่ 8 เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 โดยเข้าเป็นประเทศอาเซียนพร้อมกับพม่า ลาวนับได้ว่าเป็นประเทศในกลุ่มอาเซียนประเทศเดียวที่ไม่มีทางออกทะเล แต่เป็นประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติมากมาย และใช้แม่น้ำโขงเป็นเส้นทางหลักในการคมนาคมขนส่งและสำหรับการสร้างเขื่อนเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อใช้ในประเทศและส่งขายให้กับประเทศเพื่อนบ้าน

การเรียงลำดับประเทศสมาชิกอาเซียนที่เข้ามาเพิ่มเติมภายหลังการก่อตั้งอาเซียน ข้อใดถูกต้อง

5. ประเทศมาเลเซีย (Malaysia)

ประเทศมาเลเซียเป็นสมาชิกผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มอาเซียน เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ตามปฏิญญากรุงเทพ

การเรียงลำดับประเทศสมาชิกอาเซียนที่เข้ามาเพิ่มเติมภายหลังการก่อตั้งอาเซียน ข้อใดถูกต้อง

6. ประเทศพม่า หรือ เมียนมาร์ (Myanmar)

ประเทศพม่า เข้าร่วมเป็นสมาชิกของอาเซียนเป็นลำดับที่ 9 เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 (วันเดียวกับประเทศลาว)

การเรียงลำดับประเทศสมาชิกอาเซียนที่เข้ามาเพิ่มเติมภายหลังการก่อตั้งอาเซียน ข้อใดถูกต้อง

7. ประเทศฟิลิปปินส์ (Philippines)

ประเทศฟิลิปปินส์ ก็เป็นอีกหนึ่งสมาชิกผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มอาเซียน เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ตามปฏิญญากรุงเทพ

การเรียงลำดับประเทศสมาชิกอาเซียนที่เข้ามาเพิ่มเติมภายหลังการก่อตั้งอาเซียน ข้อใดถูกต้อง

8. ประเทศสิงคโปร์ (Singapore)

ประเทศสิงคโปร์ เข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียนในฐานะผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มอาเซียนเช่นกัน เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ตามปฏิญญากรุงเทพ

การเรียงลำดับประเทศสมาชิกอาเซียนที่เข้ามาเพิ่มเติมภายหลังการก่อตั้งอาเซียน ข้อใดถูกต้อง

9. ประเทศไทย (Thailand)

ประเทศไทย นอกจากจะเป็นสมาชิก 5 ชาติแรกและเป็นผู้ร่วมก่อตั้งอาเซียนแล้ว ยังเป็นเจ้าภาพในการลงนามเพื่อสร้างข้อตกลงในการสร้างกลุ่มอาเซียนขึ้นมาด้วย โดยการลงนามนี้เรียกว่า ปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) ซึ่งลงนามกันเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ที่พระราชวังสราญรมย์ โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกก่อตั้ง 5 ทั้งประเทศ ดังนั้นจึงสามารถกล่าวได้ว่ากรุงเทพคือบ้านเกิดของอาเซียน

การเรียงลำดับประเทศสมาชิกอาเซียนที่เข้ามาเพิ่มเติมภายหลังการก่อตั้งอาเซียน ข้อใดถูกต้อง

10. ประเทศเวียดนาม (Vietnam)

ประเทศเวีดนาม เข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียนเป็นลำดับที่ 7 เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538

การเรียงลำดับประเทศสมาชิกอาเซียนที่เข้ามาเพิ่มเติมภายหลังการก่อตั้งอาเซียน ข้อใดถูกต้อง

1.ความเป็นมาและวัตถุประสงค์

  • สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 (ค.ศ. 1967) ณ กรุงเทพฯ เป็นองค์กรความร่วมมือระดับภูมิภาค โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและความมั่นคงทางการเมือง การเจริญเติบโตทางการค้าและทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการพัฒนาทางสังคมของประเทศสมาชิก แรกเริ่ม อาเซียนประกอบด้วย 5 ประเทศคือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ต่อมาได้ขยายจำนวนประเทศสมาชิกเป็น 10 ประเทศทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  • อาเซียนมีพัฒนาการต่อเนื่องมาเป็นลำดับ โดยเริ่มต้นจากความร่วมมือด้านความมั่นคงเป็นส่วนใหญ่ แต่หลังจากภูมิภาคอาเซียนมีความมั่นคงทางการเมืองมากขึ้น จึงเปลี่ยนความสนใจมาเน้นที่เรื่องเศรษฐกิจ และเป็นที่มาของการจัดตั้ง "ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน" (ASEAN Economic Community: AEC) ในปี 2560 โดยขนาดเศรษฐกิจของอาเซียนรวมกันใหญ่เป็นอันดับที่ 5 ของโลก มีประชากร 642.1 ล้านคน
  • ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะช่วยให้การทำธุรกิจและการลงทุนร่วมกันภายในอาเซียนสะดวกมากขึ้นด้วยต้นทุนที่ถูกลง ขณะที่การนำจุดแข็งด้านเศรษฐกิจของแต่ละประเทศมาส่งเสริมซึ่งกันและกันจะทำให้ผลิตภาพ (Productivity) ของทุกประเทศสมาชิกอาเซียนดีขึ้น

    นอกจากนี้ การค้าชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้านยังถือเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของจังหวัดที่อยู่ตามแนวชายแดนอีกด้วย และอาเซียนยังถือเป็นตลาดส่งออกใหญ่ที่สุดของไทย คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 1 ใน 4 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด

2.บทบาทของธนาคารแห่งประเทศไทย

     กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้รับผิดชอบหลักด้านความร่วมมือทางการเงินและระบบสอดส่องดูแลเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกในภูมิภาค โดยดำเนินการภายใต้การประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและผู้ว่าการธนาคารกลางอาเซียน (ASEAN Finance Ministers' and Central Bank Governors Meeting – AFMGM) ซึ่ง ธปท. มีบทบาทส่งเสริมและผลักดันการรวมกลุ่มเป็นประชาคมเศรษฐกิจในส่วนของการส่งเสริมความร่วมมือทางการเงิน โดยมีเป้าหมาย 3 ด้าน ได้แก่ การส่งเสริมการรวมกลุ่มในภาคการเงิน (Integration) การส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนเข้าถึงบริการทางการเงินได้ดี และมีประสิทธิภาพมากขึ้น (Inclusion) และการส่งเสริมเสถียรภาพทางการเงินในประชาคมอาเซียน (Stability) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับระบบการเงินของทุกประเทศสมาชิก

     การรวมกลุ่มทางการเงินมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องในหลายด้านผ่านการดำเนินงานของคณะทำงานต่างๆ ดังภาพ ซึ่งในส่วนที่ ธปท. เกี่ยวข้อง ครอบคลุมการเปิดเสรีการเคลื่อนย้ายเงินทุน การพัฒนาตลาดทุนภูมิภาค การพัฒนาระบบชำระเงิน การเข้าถึงบริการทางการเงิน การเปิดเสรีภาคบริการทางการเงิน ตลอดจนการเปิดโอกาสให้สถาบันการเงินในประเทศหนึ่งสามารถเข้าไปทำธุรกิจในอีกประเทศได้ง่ายและสะดวกขึ้น ตามกรอบความร่วมมือเปิดเสรีในภาคธนาคาร "Qualified ASEAN Bank (QAB)" ซึ่งเป็นการเจรจาทวิภาคีตามความสมัครใจและความพร้อมของประเทศสมาชิกเป็นคู่ ๆ ไป เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทยกับธนาคารกลางมาเลเซียที่ได้เจรจาเสร็จแล้ว

     นอกจากการรวมกลุ่มทางการเงินแล้ว ธนาคารกลางอาเซียนยังมีความร่วมมือในการจัดตั้งกลไกให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศสมาชิกที่ประสบปัญหาขาดสภาพคล่อง โดยได้ลงนามในสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราอาเซียน (ASEAN Swap Arrangement – ASA) เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2520 (ค.ศ. 1977) สัญญาดังกล่าวมีอายุ 2 ปีและได้รับการต่ออายุมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีวงเงินความช่วยเหลือรวม 2 พันล้านเหรียญ สรอ.

     เมื่อปี 2562 ไทยรับหน้าที่เป็นประธานอาเซียนภายใต้แนวคิดหลัก “ร่วมมือ ร่วมใจ ก้าวไกล ยั่งยืน” (Advancing Partnership for Sustainability) ที่มุ่งหวังให้อาเซียนร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดบนพื้นฐานการได้รับประโยชน์ร่วมกัน
เพื่อก้าวไปข้างหน้าสู่ความยั่งยืนในทุกภาคส่วน และภาคการเงิน ได้เน้นการทำงานที่สอดคล้องกับแนวคิดหลักดังกล่าวใน
3 ด้าน ได้แก่
1) ความเชื่อมโยง (Connectivity) เพื่อสนับสนุนการรวมกลุ่มทางการเงินและส่งเสริมให้การบริการทางการเงินมีความเชื่อมโยงกันมากขึ้น ทำให้ภาคเอกชนสามารถทำธุรกรรมทางการเงินต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดย ธปท. มีการดำเนินการที่สำคัญ คือ การผลักดันการใช้เงินสกุลท้องถิ่น และการส่งเสริมการพัฒนาบริการชำระเงินระหว่างประเทศ

2) ความยั่งยืน (Sustainability) เพื่อให้สถาบันการเงินและตลาดตราสารต่างๆ ที่เป็นตัวกลางทางการเงิน ทำหน้าที่ในการจัดสรรเงินทุนไปสู่ภาคธุรกิจโดยเน้นการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและสังคมในระยะยาวมากกว่าผลตอบแทนในระยะสั้น โดย ธปท. จะผลักดัน Sustainable Finance เป็นวาระหลักของอาเซียนและยกระดับความตระหนักรู้เรื่อง Sustainable Banking

3) การสร้างภูมิคุ้มกัน (Resilience) เพื่อให้ระบบการเงินของภูมิภาคมีเสถียรภาพและปลอดภัย โดย ธปท. จะมุ่งเน้นการพัฒนากรอบความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ในภาคการเงิน ให้ประเทศสมาชิกอาเซียนมีเครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลทางไซเบอร์ในภาคการเงินที่มีประสิทธิภาพ และพัฒนาความรู้ด้าน Cybersecurity ของบุคลากรทางการเงินของอาเซียน

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

ทีมความร่วมมือระหว่างประเทศ 1-2 ฝ่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ

สายสื่อสารและความสัมพันธ์องค์กร
โทร. 0-2283-6184 หรือ 0-2283-5168

e-mail:

เรียงลําดับประเทศสมาชิกอาเซียนที่เข้ามาเพิ่มเติมภายหลังการก่อตั้งอาเซียนข้อใดถูกต้อง

อาเซียนได้ขยายสมาชิกภาพขึ้นมาเป็นลำดับ โดยบรูไนดารุสซาลามได้เข้าเป็นสมาชิกเป็นประเทศที่ 6 เมื่อปี 2527 และภายหลังเมื่อประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่เหลืออีก 4 ประเทศ คือ เวียดนาม สปป. ลาว เมียนมา และกัมพูชา ได้ทะยอยกันเข้าเป็นสมาชิกจนครบ 10 ประเทศ เมื่อปี 2542 นับเป็นก้าวสำคัญที่ไทยได้มีบทบาทเชื่อมโยงประเทศที่ตั้ง ...

ประเทศใดเป็นประเทศที่เข้าเป็นสมาชิกอาเซียนลำดับหลังสุด

๕. ประเทศที่เข้าเป็นสมาชิกล่าสุดของอาเซียนคือ ? กัมพูชา เข้าเมื่อ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๒ (ค.ศ. ๑๙๙๙) ๖. ดอกไม้ประจำชาติของประเทศกัมพูชาคือดอกอะไร ดอกลำดวน

สมาชิกที่ก่อตั้งอาเซียนมีประเทศใดบ้าง

สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ “อาเซียน” ถือกำเนิดขึ้นในเช้าวันอังคารที่ 8 สิงหาคม 2510 เวลา 10.50 ภายในห้องโถงใหญ่ของพระราชวังสราญรมย์ ที่ทำการของกระทรวงการต่างประเทศ ถูกบันทึกไว้ผ่านภาพการลงนามของผู้นำ 5 ประเทศผู้ก่อตั้งอาเซียน ได้แก่ ประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และประเทศไทย หลังจากนั้น ...

5ประเทศก่อตั้งอาเซียนอะไรบ้าง

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 (ค.ศ. 1967) ณ กรุงเทพฯ เป็นองค์กรความร่วมมือระดับภูมิภาค โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและความมั่นคงทางการเมือง การเจริญเติบโตทางการค้าและทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการพัฒนาทางสังคมของประเทศสมาชิก แรกเริ่ม อาเซียนประกอบด้วย 5 ...

เรียงลําดับประเทศสมาชิกอาเซียนที่เข้ามาเพิ่มเติมภายหลังการก่อตั้งอาเซียนข้อใดถูกต้อง ประเทศใดเป็นประเทศที่เข้าเป็นสมาชิกอาเซียนลำดับหลังสุด สมาชิกที่ก่อตั้งอาเซียนมีประเทศใดบ้าง 5ประเทศก่อตั้งอาเซียนอะไรบ้าง ปัญหาหรืออุปสรรคสำคัญต่อการรวมเป็นหนึ่งเดียวกันทางเศรษฐกิจของอาเซียน คืออะไร การเรียงลำดับผู้ผลิตน้ำมันรายใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ข้อใดถูกต้อง ประเทศคู่เจรจาที่ริเริ่มการจัดตั้งเขตการค้าเสรีกับอาเซียน คือประเทศใด กฎบัตรอาเซียน ข้อใดจัดอยู่ในประเทศคู่เจรจาของอาเซียน “asean +3” ประเทศที่ก่อตั้งอาเซียน 5 ประเทศแรก ประเทศสมาชิกที่ก่อตั้งอาเซียน มีประเทศใดบ้าง