กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

ในแม่น้ำนั้นคลาคล่ำไปด้วยเรือกำปั่น และสำเภาจากชาติต่างๆ อาทิ ฝรั่งเศส อังกฤษ วิลันดา จีน ญี่ปุ่น และไทย สมัยโบราณนั้น พ่อค้าวานิชนักเดินเรือ ออกเดินทางสำรวจพื้นที่ใหม่ๆเพื่อทำการค้าหรือแสวงหาอาณานิคม การเดินทางในสมัยโบราณเมื่อ 400 ปีก่อน มักออกเดินทางด้วยเรือสำเภาขนาดใหญ่ เป็นกองเรือที่ประกอบด้วยเรือสำเภาหลายลำ ต้องเดินเรือตามลมมรสุม ทำให้ต้องออกเรือในช่วงเวลาพร้อมๆกันซึ่งจะช่วยป้องกันภัยจากโจรสลัดได้ดี หากเรือลำใดอัปปางก็ยังมีเรือในกลุ่มช่วยเหลือได้

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

ราชอาณาจักรของไทยในยุคโบราณใช้ทะเลทำมาค้าขายระหว่างประเทศมากกว่าทางบก การค้าทางทะเลนี้นำมาซึ่งความเจริญรุ่งเรืองและมั่งคั่งสู่ราชธานี สำหรับฝรั่งต่างชาติที่เข้ามาสำรวจดินแดนแถบเอเซียใต้ มักใช้การเดินทางในทะเลด้วยเรือสำเภาขนาดใหญ่ซึ่งต่อมากลายเป็นการแผ่อิทธิพลทางการเมืองและการทหาร การล่องเรือสำเภาเพื่อติดต่อทำการค้านั้นนอกจากเข้ามาถึงอยุธยาแล้ว กองเรือฝรั่งยังแล่นใบลงไปถึงปลายแหลมมลายูด้านทิศใต้กับเขมรทางทิศตะวันออกการเดินทางในทะเลด้วยเรือสำเภาในสมัยโบราณนั้นตกอยู่ในความควบคุมของราชสำนักของไทยซึ่งกลายเป็นศูนย์กลางอำนาจของแผ่นดินแหลมทอง แทนที่อาณาจักรต่างๆ ที่เคยรุ่งเรืองอยู่ในบริเวณคาบสมุทรมลายู ซึ่งในยุคนั้นได้สูญเสียอำนาจและตกเป็นประเทศราชของอาณาจักรสุโขทัยและกรุงศรีอยุธยา ฝรั่งนักเดินเรือที่เข้ามาค้าขายและแผ่อำนาจนั้นมีความสามารถในการเดินเรืออ้อมแหลมมลายู และเข้ามาค้าขายโดยตรงกับอาณาจักรไทย ที่มีความรุ่งเรืองอย่างเมืองหลวงอยุธยาได้โดยตรง โดยไม่ต้องผ่านเส้นทางข้ามคาบสมุทร ทำให้ศูนย์กลางการค้าขายในภูมิภาคนี้ตกมาอยู่ที่อยุธยา แม้เมืองจะไม่ได้ติดกับชายทะเลก็ตาม

(ข้อมูลจาก https://pantip.com/topic/37094845)

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี การติดต่อค้าขายกับชาวต่างประเทศ มีความเจริญรุ่งเรืองมาก ทำให้ราชสำนักของอยุธยามีความจำเป็นต้องมีเรือเดินทะเลขนาดใหญ่ เช่น เรือสำเภาและเรือกำปั่น ไว้สำหรับลำเลียงสินค้า มีอู่ต่อเรือหลวงอยู่เป็นจำนวนมาก เฉพาะที่ท้ายบ้านท่าเสือข้ามแห่งเดียว มีอู่ต่อเรือสำเภาและเรือกำปั่นหลวงถึง 18 อู่ โดยมีนายช่างเป็นชาวจีนหรือฝรั่ง ส่วนกรรมกรในอู่ต่อเรือนั้น ใช้นักโทษเป็นหลัก

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

สำหรับเรือเล็ก เรือน้อย ที่ใช้กันในหมู่แทบประชาชนนั้นแทบไม่ต้องกล่าวถึง บาทหลวงชาวฝรั่งเศสบันทึกเอาไว้ด้วยความตื่นตาว่า “ ในแม่น้ำลำคลองเต็มไปด้วยเรือ จะไปไหนต่อไหนก็แน่นไปหมด จนไม่สารถแหวกทางผ่านกันไปได้ หากไม่ชำนาญ ทั้งที่เรือแน่นขนัดจอแจเช่นนี้ ก็ไม่ปรากฏว่ามีอุบัติเหตุขึ้นแต่อย่างใด ซึ่งเป็นเรื่องน่าอัศจรรย์ยิ่ง ”

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

เมื่อศูนย์กลางอำนาจประเทศอยู่ที่กรุงศรีอยุธยา ซึ่งมีทำเลที่ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่มมีแม่น้ำลำคลองมากมายและมีพาหนะชนิดเดียวเท่านั้นที่ใช้ได้สะดวกคือ เรือ สภาพสิ่งแวดล้อมดังกล่าวทำให้เกิดการค้าขายกับต่างชาติโดยเฉพาะชาติมหาอำนาจทางเรือในทวีปยุโรปอย่างอังกฤษ ฮอลแลนด์ ฝรั่งเศสและโปรตุเกส   

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

การค้าขายกับชาวต่างชาติในสมัยอยุธยาตอนต้น มักทำการค้ากับประเทศในเอเชีย ที่สำคัญได้แก่ จีน อาณาจักรในแหลมมลายู หมู่เกาะชวา และประเทศทางมหาสมุทรอินเดีย เช่น อินเดีย ลังกา เปอร์เซีย และอาหรับ ต่อมาในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง การค้าทางตะวันออกได้แผ่ขยายจากจีนไปเกาหลี ญี่ปุ่น ทางทะเลจีนใต้ขยายจากหมู่เกาะอินโดนีเซียไปยังหมู่เกาะฟิลิปปินส์ และเวียดนาม การค้าส่วนใหญ่เป็นการค้าทางเรือ ใช้เรือสำเภาเป็นพาหนะ เมืองท่าที่สำคัญ คือ กรุงศรีอยุธยา นครศรีธรรมราช สงขลา ปัตตานี มะริด ทวาย ตะนาวศรี และไทรบุรี ส่วนการขนส่งสินค้าจากเมืองท่าทางตะวันตกมายังกรุงศรีอยุธยา และจากกรุงศรีอยุธยาไปเมืองท่าทางตะวันตกใช้เส้นทางบก เพื่อจะได้ไม่ต้องอ้อมแหลมมลายู

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

ชาติตะวันตกเริ่มเข้ามาติดต่อค้าขายกับกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (พ.ศ. 2060) โดยโปรตุเกสเป็นชาติแรก แต่การค้ากับชาติตะวันตกเริ่มขึ้นอย่างจริงจังและกว้างขวางในรัชสมัยสมเด็จพระเอกทศรถเป็นต้นไป สำหรับการทำมาค้าขายกับต่างชาติโดยเฉพาะชาตินักเดินเรือจากยุโรปในช่วงที่ถือว่าเจริญรุ่งเรืองมากที่สุดก็คือในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เมื่อพ่อค้าชาวตะวันตกเข้ามาติดต่อค้าขายกับกรุงศรีอยุธยานั้น สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ทรงให้การต้อนรับชาวตะวันตกอย่างดี กล่าวคือ ทรงอนุญาตให้โปรตุเกสตั้งบ้านเรือน ห้างร้าน ค้าขายและเผยแพร่คริสต์ศาสนาได้ พวกโปรตุเกสก็ตอบแทนโดยช่วยจัดหาปืน กระสุนดินดำให้ และยังเข้ารับราชการในกองอาสาปืนไฟถึง 300 คน

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

ในบรรดาพ่อค้าตะวันตกที่เข้ามาติดต่อ ค้าขายกับกรุงศรีอยุธยาในช่วงเวลานั้น พ่อค้าฮอลันดาหรือฮอลแลนด์มีอิทธิพลมากที่สุด การค้าของชาติตะวันตกเจริญรุ่งเรืองขึ้นโดยลำดับจนถึงรัชสมัยพระเจ้าทรงธรรม (พ.ศ. 2165) จึงซบเซาลง ห้างของบริษัทอินเดียตะวันออกของฮอลันดา และบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษถึงกับปิดกิจการลงในปี พ.ศ. 2165 และ พ.ศ. 2167 ตามลำดับ

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

จนถึงรัชสมัยพระเจ้าปราสาททองจึงได้มีการฟื้นฟูการค้ากับชาติตะวันตกขึ้นอีกครั้ง ในห้วงเวลานนั้น กรุงศรีอยุธยายอมอนุญาตให้ฮอลันดาผูกขาดการค้าสินค้า 2 ประเภท คือ หนังกวางและไม้ฝาง ฮอลันดากลายเป็นชาติที่มีอิทธิพลต่อเศรษฐกิจของกรุงศรีอยุธยา ทั้งยังเข้าคุมการค้าระหว่างกรุงศรีอยุธยากับญี่ปุ่นอีก ทำให้กรุงศรีอยุธยาไม่ได้รับประโยชน์จากการค้าเท่าที่ควร สมเด็จพระเจ้าปราสาททองจึงทรงหาทางแก้ไข โดยการหาตลาดใหม่ทางอินเดีย แถบชายฝั่งโคโรแมนเดิล และเมืองกัลกัตตา นอกจากนั้นยังทรงบัญญัติประเภทของสินค้าต้องห้ามเพิ่มเติม (สินค้าต้องห้ามคือ สินค้าที่ต้องซื้อขายผ่านพระคลังสินค้าของรัฐบาล)

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ฮอลันดาพยายามบีบบังคับกรุงศรีอยุธยาในเรื่องการค้ากับญี่ปุ่นจนกลายเป็นกรณีพิพาทขึ้น แต่ในที่สุดก็ยุติลงด้วยการทำสนธิสัญญา 11 สิงหาคม พ.ศ. 2207

การค้ากับต่างประเทศในสมัยกรุงศรีอยุธยาเริ่มเสื่อมโทรมลง เมื่อสิ้นรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมเด็จพระเพทราชาทรงขับไล่ชาวตะวันตกรวมทั้งพ่อค้าฝรั่งเศสออกไป ส่วนพ่อค้าอังกฤษ และฮอลันดาไม่ค่อยได้ติดต่อค้าขายกับกรุงศรีอยุธยามาตั้งแต่ฝรั่งเศสเข้ามามีอิทธิพล ดังนั้นการค้ากับต่างประเทศจึงเสื่อมโทรมลง

สินค้าขาเข้าที่กรุงศรีอยุธยาต้องการมี 2 ประเภท คือ สินค้าที่เกี่ยวกับความมั่นคงปลอดภัยของอาณาจักร ได้แก่ พวกอาวุธปืนกระสุนดินดำ และสินค้าที่ทางรัฐบาลพิจารณาเห็นว่า จะทำกำไร ได้แก่ ผ้าไหม ผ้าแพร ผ้าลาย เครื่องถ้วยชาม และเครื่องกระเบื้อง ผู้ซื้อสินค้าเหล่านี้ คือ พระมหากษัตริย์ เจ้านาย และขุนนาง

สินค้าออก สินค้าออกของราชอาณาจักรอยุธยาขายผ่านพระคลังสินค้า ทั้งนี้เพราะสินค้าพื้นเมืองบางชนิดเป็นที่ต้องการของชาวต่างประเทศมาก หากปล่อยให้ซื้อขายกันโดยเสรีเกรงว่าของเหล่านั้นจะหมดสิ้นไป ไม่มีใช้ในราชการบ้านเมือง จึงกำหนดให้เป็นสินค้าต้องห้าม ต้องซื้อขายผ่านพระคลังสินค้า เช่น ไม้กฤษณา นอแรด ดีบุก งาช้าง ไม้จันทน์ ไม้หอม และไม้ฝาง เป็นต้น สินค้าต้องห้ามนี้เพิ่มประเภทขึ้นโดยลำดับ เช่น ในสมัยพระเจ้าปราสาททอง สินค้าต้องห้าม เช่น ดินประสิว ตะกั่ว ฝาง หมากสง หนังสัตว์ เนื้อไม้ งาช้าง ดีบุก ไม้หอม เป็นต้น

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

ประมาณ ศ.ต.ที่ 14-17 ชาติในยุโรปที่มีเรือพาณิชย์ เรือรบ เรือสินค้า ปรากฏเด่นชัดคือ สเปน รองลงมาคือ โปรตุเกส อิตาลี อังกฤษ ฝรั่งเศส เรือเดินทะเลหรือเรือสำเภาโบราญในสมัยนั้นมีความก้าวหน้ามาก จากขนาดที่ใหญ่โต พื้นที่ใช้สอยมากขึ้น สามารถแล่นอยู่ในทะเลกลางมหาสมุทรได้นานหลายเดือน ยุคนี้จึงเป็นยุคแห่งการค้นพบมีนักสำรวจที่มีชื่อเสียงหลายคนในยุคนี้ เช่น เจิ้ง เหอ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส เป็นต้น

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

ลักษณะเรือของนักเดินทางส่วนใหญ่เรียกว่าเรือสำเภาพาณิชย์หรือเรือสำเภารบ มีเสาใบเรือ 1-3 หรือแม้แต่ 4 เสา ใช้ลมแทนการใช้พายกับลม เป็นเหตุให้เรือแล่นได้ค่อนข้างช้า แต่เรือสำเภาโบราณของฝรั่งนั้นมีข้อดีคือแล่นไปได้ไกลและมีท้องเรือหลายชั้นใช้เก็บเสบียงและเป็นที่พักของลูกเรือ แต่ที่พักในท้องเรือจะอึดอัดและร้อนมาก ส่วนมากเป็นแค่ลูกเรือ หรือไม่ก็ทาสในเรือจะอาศัยอยู่ในบริเวณนี้ สำหรับกัปตันจะได้อยู่ห้องที่ดีกว่านี้นั้นคือท้ายเรือ เรือสำเภาฝรั่งในสมัยกรุงศรีอยุธยาส่วนใหญ่จะติดปืนใหญ่ (ยุคแรกๆ) บริเวณด้านข้างของเรือ (ซ้าย-ขวา) ส่วนใหญ่เรือสำเภาทุกลำจะติดตั้งอาวุธไม่ว่าจะเป็นเรือสำเภาขนส่งสินค้าหรือเรือสำเภาพาณิชย์ เพื่อป้องกันตัวจากศัตรูและโจรสลัด ซึ่งมีค่อนชุกชมในมหาสมุทร

เรือสำเภาในสมัยโบราณ ในยามสงครามใช้สำหรับการรบทางทะเล ในยามปกติก็ใช้แล่นใบเพื่อทำการค้ากับชาติต่างๆทั่วโลก โดยแบ่งลักษณะเรือออกเป็น 2 ประเภท อย่างกว้าง ๆ คือ

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

เรือตะวันออก ได้แก่ เรือสำเภาจีน หรือเรือแบบจีน

เรือตะวันตก ได้แก่ เรือกำปั่นแบบฝรั่ง คำว่า “กำปั่น” ซึ่งหมายถึง เรือเดินทะเลแบบฝรั่ง

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

เรือชนิดบริก (Brig) เป็นเรือ 2 เสา ทั้งสองเสาใช้ใบตามขวาง และมีใบใหญ่ที่กาฟ์ฟ

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

เรือชนิดบาร์ก (Bargue) เป็นเรือสำเภา 3 เสาหน้าและเสาใหญ่ใช้ใบตามขวาง เสาหลังใช้ใบตามยาว

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

เรือชนิดสกูเนอร์ (Schooner) เป็นเรือ 2 เสา แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ เรือบรรทุกสินค้า และแบบเรือยอชท์ สำหรับท่องเที่ยว

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

เรือสำเภาฝรั่งที่พี่หมื่นเดินทางไปประเทศฝรั่งเศส เป็นเรือขนาดใหญ่ มีลักษณะสวยงาม มีเสาและใบมากกว่า 3 เสา ตั้งบนเรือ และเสาใบจิ๊บอยู่หน้าเรืออีก 1 เสา โดยมีรูปแกะสลักเทพเจ้าแห่งท้องน้ำอยู่หน้าเรือด้านหน้า เพื่อคอยปกป้องรักษาเรือจากพายุและคลื่นยักษ์ หรือตามภาษาของชาวบ้านของไทยเราเรียกว่า “แม่ย่านางเรือ” เรือสำเภาฝรั่งเศสนี้เดิมเป็นทั้งเรือรบและเรือพาณิชย์ นักเดินเรือยุโรปใช้เรือสำเภาแบบนี้แสวงหาทวีปใหม่ๆเพื่อทำการค้าหรือยึดครองเป็นอาณานิคม ตัวเรือสร้างด้วยไม้เนื้อแข็ง มีขนาดที่ใหญ่โตพอสมควรและมีชั้นต่างๆถึง 5 ชั้นตั้งแต่ชั้นดาดฟ้าไปจนถึงกระดูกงูหรือชั้นล่างสุดที่ใช้เก็บถังใส่ไวน์ อาหารแห้งรวมถึงอุปกรณ์เดินเรือพวกเชือกและไม้สำหรับซ่อทแซมเรือ

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

ความยาวโดยรวมของเรือประมาณ 65 เมตร ความยาวลำตัว 44.27 เมตร กว้าง 11.20 เมตร ความสูงโดยรวม 54 เมตร น้ำหนัก 1,260 ตัน ใช้ต้นโอ๊กจากป่าในฝรั่งเศสประมาณ 2000 ต้น แปรรูปเป็นไม้ 400,000 ชิ้นไม้  และโลหะ (ชิ้นส่วนของไม้ที่หนาเกิน 50 ซม. ) เชือกบนเรือมีความยาวรวม 25 กิโลเมตร สำหรับเชือกที่ใช้งานบนเรือ ทำจากเส้นใยปอมนิลาฟิลิปปินส์  มีรอกสำหรับการใช้งานต่างๆ จำนวนกว่า 1,000 รอก (มีรอกถึง 40 ชนิดที่แตกต่างกัน)  ความสูงของเสากระโดงประมาณ 56.5 เมตร  ปืน 26 กระบอกบริเวณกาบซ้ายและขวา ปืน 8 กระบอกบนสะพานเดินเรือ น้ำหนักรวมของปืนประมาณ  58 ตัน  น้ำหนักรวมของสัมภาระต่างๆประมาณ 17-20 ตัน

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

"ทวนหัว" ที่เห็นในเรือสำเภา เป็นส่วนที่ใช้ในการบังคับเรือของเรือทางยุโรป เนื่องจากเรือสำเภาของยุโรปนั้น มีความยาวมาก การบังคับทิศทางด้วยหางเสืออาจยังไม่เพียงพอ จึงต้องใช้การช่วยบังคับทิศทางด้วยแรงลม จึงต้องมี "ทวนหัว" ไว้สำหรับรับการขึงใบเรือด้านหน้า ในเรือสำเภาจีน ไม่จำเป็นต้องมี เพราะใช้การบังคับทิศทางด้วยหางเสือ และใบด้านท้ายก็เพียงพอ อีกนัยหนึ่ง เรือยุโรปที่มี "ทวนหัว" อาจใช้เพื่อการสงคราม โดยใช้ทวนหัวเข้าไล่ทิ่มแทงเรือของข้าศึก ให้เสียหาย มีทั้งทวนหัวเหนือน้ำ และใต้น้ำ

อ้างอิงข้อมูลของ พลณศักดิ์ ทรัพย์บางยาง 
https://www.facebook.com/ponnasak/posts/1691667977565878

360 ปีล่วงมาเเล้ว ราชสำนักกรุงศรีอยุธยา โดยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงส่งคณะราชทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีกับพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ของฝรั่งเศส ที่สมัยนั้นเป็นมหาอำนาจผู้ยิ่งใหญ่ มีออกพระวิสุทธสุนทร (ปาน) เป็นราชทูต ออกหลวงกัลยาราชไมตรี(ฉ่ำ) เป็นอุปทูต ออกขุนศรีวิสารวาจา เป็นตรีทูต นับว่าเป็นคณะทูตชุดที่ 3 ที่ไปฝรั่งเศส ซึ่งก่อนหน้านั้นคือชุดที่ 1เรือล่มตายเรียบเป็นผีเฝ้าทะเลทั้งชุด ชุดที่ 2 ไปถึงก็จริง เเต่ไปเเบบเสี่ยงตายไร้พาสปอร์ตเข้าเมืองอย่างถูกต้อง

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

การเดินทางไปฝรั่งเศสคราวนั้นต้องไปด้วยเรือเพียงทางเดียว ไม่มีเครื่องบินคองคอร์ดหรือการบินไทย เเบบทันใจไวด่วนหรือรักคุณเท่าฟ้า หรือเรือไททานิคเเสนหรูหราเเต่จูบภูเขาน้ำเเข็งจนจมใต้มหาสมุทร ไม่ต้องขอวีซ่าเเละทำพาสปอร์ตตรวจคนเข้าเมืองเเต่อย่างใด นึกภาพดูเเล้วต้องเสี่ยงตายทุกรูปแบบ ต้องอดทน อดกลั้น ต้องเจอกับอากาศหนาวเเสบไส้ แบบที่คนไทยไม่เคยเจอมาก่อน ถ้าใจไม่ถึงจริง..ตายสถานเดียว..!!

คณะทูตออกจากกรุงศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2228 จากเเม่น้ำเจ้าพระยาออกอ่าวไทย เลี้ยวชมเกาะสิงคโปร์ ผ่านช่องเเคบมะละกา เเล่นฝ่าลมสู่ทะเลอันดามันตัดไปอ้อมเเหลมกู๊ดโฮป ทวีปแอฟริกา วิ่งย้อนขึ้นไปสเปน โปรตุเกส ขึ้นฝั่งที่เมืองเเบรสต์ ฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2229

ใช้เวลาเดินทางรอนเเรมกินนอนอยู่บนเรือเกือบ 7 เดือน ขึ้นจากเรือเดินทางบกด้วยรถม้าต่ออีก 600 กม.จนถึงพระราชวังเเวร์ซายส์ เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2229 เพื่อถวายพระราชสาสน์เเด่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 จนได้รับความสำเร็จยกย่องชื่นชมอย่างงดงาม..

ความเป็นอัจฉริยะทางฝีปากการเจรจาของท่านปาน เป็นที่เลื่องลือจนได้สมญานาม" ราชทูตลิ้นทอง" เป็นคนเเรก นับเป็นครั้งเเรกที่พระมหากษัตริย์จากซีกโลกตะวันออก เเต่งตั้งคณะราชทูตไปยังซีกโลกตะวันตกได้สำเร็จ เเบบมีชีวิตรอดปลอดภัยทั้งขาไปเเละขากลับ มีการทำเหรียญที่ระลึกเเละเขียนรูปเหตุการณ์ครั้งนั้นบันทึกไว้เป็นประจักษ์พยานให้คนรุ่นหลังได้สืบค้นจนทุกวันนี้...

ตอนขากลับมาเมืองไทย ราชสำนักฝรั่งเศสส่งมองสิเออเดอ ลาลูแบร์ เป็นราชทูตนั่งเรืออัญเชิญพระราชสาสน์มาเยือนไทยบ้าง พร้อมนายพลเดฟาร์จ เเละทหารหน่วยรบพิเศษ 600 กว่าคน พร้อมอาวุธปืนทันสมัยเพื่อหวังจะมายึดพี่ไทยจ๋า เเต่ดันเกิดใจเสาะคิดถึงลูกเมียที่บ้านเลยป่วยไข้เเพ้อากาศล้มตายบนเรือจนต้องโยนศพให้ฉลามงาบ ระหว่างเดินทางมา 100 กว่าคน เหลือมาดูหน้าบรรดาออเจ้าราวๆ 400 คนได้ ท้ายที่สุดในเหตุการณ์ครั้งนั้น ก็หนีตายกลับไปฝรั่งเศสเเบบชอกช้ำ

คุณพี่ลาลูแบร์เเกจดบันทึกเรื่องราวบรรยากาศบ้านเมืองเราไว้เป็นซีรีย์ยาวตามที่เห็นไว้ละเอียดยิบตลอดเวลา 3 เดือนที่อยู่เมืองไทย ชนิดที่เรียกได้ว่าเป็นงานวิจัยสยามประเทศที่ดีเยี่ยมที่สุด.. ในขณะที่พี่ไทยเรา ไม่ได้จดอะไรไว้เลย พร้อมกับบรรดานายทหารเเละบาทหลวงคนสำคัญที่มาด้วยกันอีกหลายคน เรียกว่า จดหมายเหตุ เเล้วนำกลับไปตีพิมพ์เผยเเพร่ที่ฝรั่งเศส

ด้วยเหตุนี้เราจึงรู้เรื่องราวจากจดหมายเหตุ ตลอดทั้งเอกสารการบันทึกที่เกิดขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชให้ผู้สนใจประวัติศาสตร์ทำการสืบค้นคว้าวิจัยได้มากที่สุดกว่ารัชสมัยใดของยุคกรุงศรีอยุธยา

หยาด ชาติพยัคฆ์

ชีวิตในเรือสำเภาในสมัยโบราณนั้นไม่ได้สุขสบาย เนื่องจากความคับแคบและจำนวนของคนบนเรือ ไม่มีความเป็นส่วนตัว สภาพบนเรือสำเภาโบราณนั้นค่อนข้างสกปรก จากลมฟ้าอากาศที่แปรปรวนทำให้ลูกเรือต้องทำงานหนัก และอาจเกิดโรคระบาด สภาพบนเรือสำเภาในอดีตเมื่อกว่า 300-400 ปีก่อนไม่ได้สวยงามเหมือนเรือเดินสมุทรในปัจจุบัน อย่างนี้เกิดได้ทั้งในยามสงบหรือในยามที่มีการสู้รบกันทางเรือ ชีวิตในเรือสำเภาที่บาทหลวงเดอ ชัวซีย์ เขียนบันทึกการเดินทางนี้ มีคณะขุนนางสยามที่เดินทางไปสืบข่าวเรื่องทูตสยามคณะแรกที่หายไประหว่างเดินทางไปฝรั่งเศส (เรือล่มที่เกาะดามากัสการ์) ได้อาศัยเดินทางกลับมาสยามด้วย

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

ภายในเรือโดยทั่วไปมืด แสงสว่างลอดลงไปถึงชั้นล่างๆได้น้อย ยิ่งตอนที่ทะเลมีคลื่นลมแรง ต้องปิดช่องยิงปืนใหญ่ยิ่งทำให้มืดยิ่งขึ้น การจุดไฟเพื่อให้ความสว่างเป็นเรื่องต้องห้ามเพราะกลัวว่าจะเกิดไฟไหม้ขึ้นซึ่งเป็นความกลัวอย่างฝังใจของชาวเรือยุคโบราณ

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

ปกติเรือบรรทุกสิ่งของได้จำกัด แต่ละชั้นภายในเรือมีความสูงจากพื้นสู่เพดานน้อยกว่า 1.65 เมตร เป็นเหตุให้ลูกเรือต้องก้มหัวเมื่ออยู่ใต้ท้องเรือ จำนวนคนในเรือขึ้นกับจำนวนปืนเรือ คือจะมีจำนวนประมาณสิบเท่าของปืน เช่นถ้าเรือสำเภาติดอาวุธหากมีปืน 74 กระบอก จะมีคนประจำเรือประมาณ 700 คน เรือสำเภาที่มีความยาว 63 เมตร กว้าง 16 เมตร มีปืน 118 กระบอก จะมีคนประจำเรือประมาณ 1,100 คน ในจำนวนนี้มีนายทหารเรือที่เป็นฝ่ายอำนวยการประมาณยี่สิบกว่าคน ซึ่งรวมนายทหารอนุศาสนาจารย์และศัลยแพทย์ทหารแล้ว ลูกเรือที่เป็นพวกปากเรือ พลประจำปืน กลาสี อาศัยอยู่ในชั้นต่างๆใต้ดาดฟ้าเรือสามชั้น แถมยังต้องอยู่ร่วมกับบรรดาสัตว์ต่างๆ เช่นม้า วัว หมู รวมทั้งพวกสัตว์ปีก เสบียงอาหาร เชือกเรือ หีบหรือลังใส่สิ่งของ ปืนใหญ่และกระสุน

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

ผู้บังการเรือหรือที่เรียกกันว่ากัปตันเรือเป็นเพียงคนเดียวเท่านั้นที่มีห้องหับส่วนตัวซึ่งจะอยู่บริเวณด้านท้ายเรือ นายทหารนอกนั้นจะมีห้องเล็กๆซึ่งคับแคบมากน้อยต่างกันไป ห้องเหล่านี้จะถูกกั้นด้วยฉากผ้าใบตายตัวหรือฉากเลื่อนได้ ห้องใหญ่สุดมีขนาด 9 ตารางเมตร เล็กสุดมีขนาดกว้าง 1.35 เมตร ยาว 1.80 เมตรหรือ ขนาด 2.4 ตารางเมตร 

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

ลูกเรือจะนอนพักบนเปลญวนซึ่งผูกเบียดเสียดกัน เปลนอนเหล่านี้กระจายอยู่ทั่วไปในเรือ เปลหนึ่งปาก สำหรับลูกเรือสองคน คือเมื่อคนหนึ่งนอนขณะที่อีกคนตื่นและทำงานหรืออยู่ยาม จะมีก็เฉพาะนายยามบางคนเท่านั้นได้สิทธินอนเดี่ยว หัวและท้ายเปลจะขึงด้วยไม้ให้มีขนาดใหญ่กว่าร่างคนนอนเพียงเล็กน้อยเท่านั้น แต่ว่าไปแล้วเจเปลญวนสามารถเก็บพับได้ง่ายเมื่อเกิดความวุ่นวายหรือเมื่อมีคำสั่งประจำสถานีรบ นอกจากนี้เปลที่ผูกไว้ยังช่วยลดอาการโคลง และอาการโยนตัวของเรือ ข้อดีอีกอย่างหนึ่งก็คือ แม้จะทำให้ลูกเรือติดเหา ติดหมัด ติดตัวโลน แต่เปลก็ช่วยให้ลูกเรือไม่ถูกสัตว์จอมแทะอย่างหนู กัดหู กัดนิ้วเท้า และหนักกว่านั้นคือกัดที่ตา

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

อาหารถือเป็นส่วนหนึ่งของเงินเดือนของพวกลูกเรือ อาหารปันส่วนถูกกำหนดไว้สำหรับผู้ทำงานที่ต้องใช้แรงงานหนัก ต้องการอาหารที่ให้พลังงานสูง แม้ว่าปริมาณอาหารในเรือสำเภาพานิชย์จะสมบูรณ์ แต่เรื่องคุณภาพของอาหารกลับย่ำแย่มักเน่าบูด ให้สารอาหารไม่เพียงพอ ขาดวิตามิน อาหารบนเรือสำเภาของฝรั่งประกอบด้วยขนมปังหรือไม่ก็บีสกิต (ขนมปังที่มีลักษณะ แห้งแข็งและแบน ต้องอบถึงสองครั้ง เพื่อเก็บไว้กินได้นานๆ) อาหารที่เก็บสำรองไว้กินระหว่างเดินทางยังประกอบด้วย ผักแห้งผักดอง อาหารหมักเกลือหรือของเค็มต่างๆซึ่งเก็บไว้นานมากน้อยต่างกันไป เช่น ปลาเค็มเก็บได้หนึ่งเดือน เนื้อเค็มสองเดือน หมูเค็มปีครึ่ง เครื่องปรุงรสต่างๆ เช่น น้ำส้มสายชู กะหล่ำปลีดองสำหรับกินกับพวกของเค็ม นอกจากนี้ก็มีของดอง ของแช่อิ่ม มัสตาร์ด พริก และพริกไทย

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

ส่วนอาหารสดพวกเนื้อ ผักผลไม้สด จะถูกบริโภคหมดไปอย่างรวดเร็วหลังจากออกเรือและจะถูกเก็บสำรองไว้ตอนเรือเข้าเทียบท่า ถ้าการเดินทางนั้นต้องใช้เวลายาวนานเป็นปีๆ พวกนักเดินเรือสำเภามักนำสัตว์มีชีวิตลงเรือไปด้วย วิธีนี้ขัดกับเรื่องของสุขอนามัยบนเรือแต่ทำให้แก้ปัญหาเรื่องอาหารสดได้ บริเวณพื้นที่ยกสูงแถวๆท้ายเรือจะใช้เป็นที่อยู่ของพวกสัตว์ปีก (ในกรง) เช่น เป็ด ห่าน ไก่งวง แต่จะไม่มีการนำไก่ลงเรือ เพราะไก่มักตายจากอาการเมาเรือ สัตว์ปีกเหล่านี้เป็นอาหารของคณะนายทหารประจำเรือ และเป็นที่มาของ “ซุปไก่” อาหารบำรุงกำลังอันลือชื่อสำหรับผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บด้วย แต่ถ้าการเดินทางยิ่งยาวนานเท่าใด สัตว์เหล่านี้จะหงอยตายได้มากเท่านั้น

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

แหล่งแคลอรี่หรือพลังงานที่สำคัญอีกส่วนหนึ่งมาจากแอลกอฮอล์ คนประจำเรือจะได้รับไวน์ 1 ลิตรต่อคนต่อวัน และอาจตบท้ายด้วยบรั่นดีอีกหน่อยหนึ่งเป็นรางวัล ในกรณีที่มีการสู้รบทางทะเล การให้เหล้ากับลูกเรือถือเป็นการกระตุ้นให้มีจิตใจฮึกเหิม หรือเพื่อให้ฟื้นจากการบาดเจ็บเร็วขึ้น พวกกลาสีนั้นชอบดื่มและดื่มหนักมีการซุกซ่อนเหล้าเถื่อน ขึ้นมาบนเรืออย่างแนบเนียน พวกติดเหล้าหรือพวกแอลกอฮอลีสซึ่ม สร้างปัญหามาก ทำให้เกิดการทะเลาะวิวาท กบฏ การขัดคำสั่ง และอุบัติเหตุต่างๆ

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

ศัตรูตัวฉกาจที่ไม่อาจจะหลีกเลี่ยงได้ของเสบียงอาหารในเรือคือน้ำเค็มที่รั่วเข้ามา การเดินเรือระยะทางไกลๆเสบียงอาหารมักจะเน่าเสีย ไม่ว่าจะเป็นพวกเนื้อสัตว์ที่หมักเกลือไว้หรือผักต่างๆ พวกบีสกิตที่เก็บรักษาไว้บนพื้นไม้สน ถึงจะมีผ้าใบและแผ่นเหล็กคลุมถึงสองชั้นเพื่อป้องกันหนูก็เปราะบางแตกหักง่าย ยิ่งถ้าอบมาไม่ดีแล้วจะเสียได้ง่าย เป็นรา และป่นเป็นผง จนต้องใช้เป็นอาหารของพวกสัตว์ปีกที่นำลงเรือไปด้วย ส่วนพวกแป้งทำขนมปังนั้นมักมีตัวมอด ไข่และตัวอ่อนแมลงกินแป้ง นอกจากปัญหาเหล่านี้แล้วพวกจัดส่งอาหารให้กับเรือยังเล่นไม่ซื่อ เอากระดูกสัตว์ใส่ลงไปที่ก้นถังไม้ซึ่งบรรจุเนื้อหมักเกลือเพื่อเพิ่มน้ำหนักให้กับถังเสบียง

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

เรือแต่ละลำมีขีดความสามารถในการปฏิบัติการทางทะเลอย่างน้อย 3 เดือน (คือสามารถอยู่ในทะเล โดยไม่ต้องแวะเมืองท่าเพื่อรับการส่งกำลังบำรุงในด้านอาหารและน้ำจืด น่ะครับ...ผู้เขียน) แต่ทั้งนี้อาจจะมากหรือน้อยกว่านั้นขึ้นอยู่กับจำนวนถังบรรจุน้ำจืดที่เรือสามารถนำไปได้ น้ำในถังไม้เหล่านี้พอไม่กี่วันมัน ก็ส่งกลิ่นน่ารังเกียจอันเกิดจากสลายตัวของเกลือซัลเฟตในน้ำ ซึ่งเมื่อมาถูกกับเนื้อไม้ก็จะกลายเป็นสารกำมะถัน ในที่ที่มีอากาศถ่ายเทได้ดีสารกำมะถันจะกลับมาเป็นเกลือซัลเฟตอีก วงรอบปฏิกิริยาทางเคมีนี้จะเกิดซ้ำหลายรอบ ตามประเพณีชาวเรือถือว่าน้ำต้อง”เน่า”อย่างนี้ถึงสามครั้งจึงจะดื่มได้ ถึงกับพูดกันเสมอ ว่าน้ำจะเหมาะแก่การดื่มในห้วงท้ายของการเดินทางมากกว่าตอนเริ่มต้น

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

แผนที่ทะเลในสมัยนั้นไม่ค่อยถูกต้องชัดเจน บางระวางก็ไม่ได้ลงแนวปะการังเอาไว้หรือถ้าลงไว้ก็เพียงคร่าวๆไม่ถูกต้องตรงต่อความเป็นจริง อันตรายในการเดินเรือมีมากขึ้นจากความยุ่งยากในการกำหนดที่หมายในทะเล ด้วยขาดเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ที่แม่นยำในการคำนวณหาเส้นแวง ในช่วง 25 ปีหลังของศตวรรษที่ 18 การคิดค้นนาฬิกาจับเวลาได้แก้ปัญหานี้ได้ แต่อุปกรณ์นี้ก็มีราคาสูงมาก ฝรั่งเศสได้นำมาใช้ในเรือเมื่อศตวรรษที่ 19  การใช้ความรู้ด้านดาราศาสตร์ในการกำหนดจุดที่อยู่ของเรือในแผนที่ใช้กันมากที่สุดแม้จะไม่ค่อยเที่ยงตรงมากนัก และอาจทำให้เกิดความผิดพลาดเป็นอันตรายได้

(อ้างอิงข้อมูลจาก สุพัตรา ปัญญาบุตร  http://supattrapanyabut.blogspot.com/2013/09/the-imperia-powers.html)

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

บทบาทของฝรั่งเศสในอาณานิคมเอเชียนั้นแตกต่างจากอังกฤษ ฝรั่งเศสสูญเสียอำนาจจักรวรรดินิยมของตนให้แก่อังกฤษในช่วงปลายศตวรรษที่ 18 ดังนั้นจึงมีพื้นฐานสำหรับการขยายดินแดนเข้ามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้งในแง่ของภูมิศาสตร์และการพาณิชย์น้อยกว่าอังกฤษ ลัทธิจักรวรรดินิยมของฝรั่งถูกกระตุ้นโดยความต้องการด้านชาตินิยมเพื่อแข่งขันกับคู่ปรับคืออังกฤษ และได้รับการสนับสนุนทางปัญญา โดยแนวคิดเกี่ยวกับความยิ่งใหญ่เหนือกว่าชาติอื่นของวัฒนธรรมฝรั่งเศส และขบวนการพิเศษของ "mission civilisatrice" หรือ ขบวนการหล่อหลอมชนพื้นเมืองให้มีความอารยะโดยผ่านการซึมซับรับเอาวัฒนธรรมของชาติฝรั่งเศสเข้าไปอย่างกลมกลืนแทบไม่รู้สึกตัว ดังนั้น ข้ออ้างโดยตรงของฝรั่งเศสในการขยายอิทธิพลเข้าสู่อินโดจีนก็คือการปกป้องคณะมิชชั่นนารีฝรั่งเศสที่เข้าไปเผยแพร่ศาสนาในพื้นที่เอเซียตะวันออกเฉียงใต้

กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน

กรุงศรีอยุธยานำเข้าสินค้าใดจากจีน

พระมหากษัตริย์และขุนนางมีสำเภาค้าขายกับต่างประเทศ ส่วนมากมีชาวจีนรับจ้างเป็นนายเรือและลูกเรือ สินค้าส่งออกของอยุธยาคือผลิตผลทางการเกษตรเครื่องสังคโลก และผลิตผลจากป่า เช่น งาช้าง หนังสัตว์ ไม้ เครื่องเทศ และแร่ธาตุต่างๆ เป็นต้น

อยุธยามีความสัมพันธ์กับจีนในรูปแบบใด

1. จีน ดำเนินความสัมพันธ์กับจีนในระบบบรรณาการหรือจิ้มก้อง พระมหากษัตริย์จึงส่งคณะทูตและเครื่องบรรณาการไปจีน เพื่อให้จีนรับรองในฐานะของพระมหากษัตริย์ อยุธยาใช้ความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการเพื่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจเป็นหลัก โดยการส่งบรรณาการให้แก่จีนนั้น ถือเป็นการเปิดช่องทางการค้า

กรุงศรีอยุธยามีความสัมพันธ์กับประเทศใดบ้าง

ร่คริสต์ศาสนาด้วยโดยประเทศต่าง อาณาจักรอยุธยาได้แก่ 1. ประเทศโปรตุเกสเข้ามาในพ.ศ.2054 2 2. ประเทศสเปนเข้ามาในพ.ศ.2141ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช 3. ประเทศฮอลันดาเข้ามาในพ.ศ.2147ในสมัยตอนปลายของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช 4. ประเทศอังกฤษ เข้ามาในพ.ศ.2155สมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม 5. .ศ.2205สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

กรุงศรีอยุธยาทำการค้าด้วยวิธีการใด

1) การค้าภายในประเทศ - ระบบแลกเปลี่ยนโดยตรง คือ การเอาสินค้ามาแลกเปลี่ยนกันโดยตรง - ระบบแลกเปลี่ยนด้วยเงินตรา คือ การซื้อขายกันอย่างทุกวันนี้ คือการนำสินค้าไปแลกเปลี่ยนเป็นเงินตราก่อน (การขาย) เมื่อต้องการสิ่งใดก็นำเงินตรานั้นแลกมา (การซื้อ)

กรุงศรีอยุธยานำเข้าสินค้าใดจากจีน อยุธยามีความสัมพันธ์กับจีนในรูปแบบใด กรุงศรีอยุธยามีความสัมพันธ์กับประเทศใดบ้าง กรุงศรีอยุธยาทำการค้าด้วยวิธีการใด หน่วยงานสำคัญที่ทำหน้าที่ในการติดต่อค้าขายกับต่างชาติ คือหน่วยงานใด ความสัมพันธ์ของอยุธยากับประเทศใดมีลักษณะของการผูกมิตร และเชื่อมสัมพันธไมตรี ชาวต่างชาติที่เข้ามาค้าขายกับอาณาจักรอยุธยา ได้แก่ ชาติตะวันตกที่เข้ามาติดต่อค้าขายกับอยุธยาเป็นชาติแรก คือชาติใด หน่วยงานสําคัญที่ทําหน้าที่ในการติดต่อค้าขายกับต่างชาติ คือหน่วยงานใด การค้าในสมัยอยุธยามีลักษณะอย่างไร ความสัมพันธ์ระหว่างอยุธยากับจีน ชื่อการค้าของไทยในสมัยต่างๆได้แก่