การอ่านโน้ตแบบ “Sight Reading” มีความหมายอย่างไร

เมื่อคุณเริ่มเรียนวิธีการเล่นเปียโน และวิธีอ่านโน้ตดนตรี การสอนเล่นเปียโนคุณอาจจะเจอปัญหาในการอ่าน และจำโน้ตเปียโนเหล่านั้นเล็กน้อย คุณควรจำโน้ตเหล่านี้ให้ได้ เพราะมันจะไม่ได้บอกคุณแค่ระดับเสียงของโน้ตเท่านั้น แต่ยังบอกจังหวะอีกด้วย นี่คือ 6 วิธีในการอ่าน และจำโน้ตเปียโนที่ดีที่สุด

ใช้อุปกรณ์ช่วยในการจำ 

มีอุปกรณ์ช่วยในการจำมากมายที่คุณสามารถใช้ได้ วิธีที่ง่ายที่สุดในการจำโน้ตเปียโนคือ การใช้คำย่อ (Acronyms) คุณสามารถจำโน้ตกุญแจซอล (G Clef/Trebel Clef) และกุญแจฟา (F Clef/Bass Clef) ได้โดยการใช้คำย่อ 

กุญแจซอล (G Clef/Trebel Clef) จะแสดงถึงโน้ตที่มือขวาของคุณต้องเล่น

• ท่องว่า Every Good Boy Deserves Food แทนโน้ตจากล่างขึ้นบน คือ E G B D และ F

• ท่องว่า FACE แทนโน้ตจากล่างขึ้นบน คือ F A C E 

กุญแจฟา (F Clef/Bass Clef) จะแสดงถึงโน้ตที่มือซ้ายของคุณต้องเล่น 

• ท่องว่า All Cows Eat Grass แทนโน้ตจากล่างขึ้นบน คือ A C E G

• ท่องว่า Good Boys Do Fine Always แทนโน้ตจากล่างขึ้นบน คือ G B D F A 

วิธีอื่นในการสอนอ่านโน้ตเปียโนคือการใช้ซอฟแวร์ ซึ่งสามารถใช้งานได้ทั้งบน PC และ Mac ซอฟแวร์นี้จะช่วยสอนวิธีการอ่านโน้ต รวมไปถึงทำความเข้าใจจังหวะ คอร์ด บันไดเสียง และลำดับคอร์ด (chord progressions) แถมยังเป็นอุปกรณ์ที่ใช้งานได้ง่ายเวลาที่อยากจะเรียนเปียโนด้วยตัวเองได้

โพลิโฟนี (Polyphony) อาจจะดูน่าสับสนในตอนแรก มือซ้าย และมือขวาของคุณให้ความรู้สึกเหมือนว่ากำลังเล่นเพลงคนละเพลงกัน แต่ถ้าคุณลองปรับเพลงไปตามเข็มนาฬิกา มันจะช่วยทำให้คุณรู้คอร์ดทั้งหมดของทั้งกุญแจฟา และกุญแจซอล จากนั้นคุณจะสามารถอ่านโน้ตได้ตามแนวตั้ง หรือแบบโพลิโฟนีนั่นเอง

อ่านโน้ตแล้วลองเล่นเพลงเลย 
การอ่านโน้ตแล้วลองเล่นเพลงเลยโดยที่ไม่มีการซ้อมมาก่อน (Sight reading) เป็นวิธีที่ดีที่สุดวิธีหนึ่งที่จะทำตัวเองให้คุ้นเคยกับระดับเสียงของตัวโน้ต (note pitches) และจังหวะ (rhythm) อันดับแรก ให้เริ่มด้วยการนับจังหวะ 4/4 ซึ่งหมายความว่าจะมีอยู่ 4 จังหวะตลอดเพลง และ 1 จังหวะมีค่า ¼ ของตัวโน้ต จากนั้นให้ดูที่สัญลักษณ์กุญแจว่าเป็นชาร์ป หรือแฟลต แล้วให้ฝึกไล่ระดับเสียงสูงขึ้น และต่ำลง เคาะจังหวะด้วยเครื่องเมโทรนอม (metronome) หรือเครื่องเคาะจังหวะ ระวังเวลาที่เปลี่ยนคีย์ ค่อย ๆ เล่นช้า ๆ เบา ๆ เช็กอุปกรณ์ทุกอย่าง ฯลฯ เริ่มร้องเมื่อคุณพร้อม 

หารูปแบบการเล่น 

คอร์ด อาร์เปจโจ (arpeggios) เสียงประสาน และบันไดเสียง เป็นรูปแบบที่พบได้บ่อยในทางดนตรี ดังนั้นคุณไม่จำเป็นต้องอ่านทุก ๆ โน้ตทุกตัวเพื่อที่จะเล่นเปียโนเป็น 

ฝึกหูของคุณ 

ทักษะที่สำคัญคือการฟังโน้ตที่คุณได้ยินให้ออก มันจะยิ่งง่ายมากขึ้นหากคุณพยายามฝึกการฟัง ลองเล่นเปียโนโดยที่ไม่ดู และควรทราบว่าแต่ละคีย์นั้นควรมีเสียงเป็นอย่างไร 

ฝึกมือของคุณ

สุดท้าย พยายามใช้สายตา หู และมือของคุณด้วยกัน คุณควรจำตำแหน่งของโน้ตบนเปียโน และต้องรู้ว่าโน้ตตัวนั้นเสียงเป็นอย่างไร และมีหน้าตาอย่างไรซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญมาก

คําว่า Sight-Reading นั้น ในความหมายด้านดนตรีหมายถึง การบรรเลงบทเพลงหรือบทฝึกโดยผู้บรรเลงไม่เคยซ้อมมาก่อน และต้องพยายามบรรเลงอย่างถูกต้องหรือใกล้เคียงกับข้อกําหนดในบทเพลงนั้นให้มากที่สุด โดยเฉพาะเรื่องจังหวะ ระดับเสียงและความดังเบา การSight-Reading ให้ได้อย่างแม่นยําถูกต้องนั้นนอกจากที่ผู้เล่นต้องมีทักษะการบรรเลงเครื่องดนตรีแล้ว จะต้องเข้าใจความหมายของดนตรีที่บรรเลงเป็นอย่างดี จึงจะสามารถสื่อสารบทเพลงนั้นให้ผู้ฟังเข้าใจได้ การ Sight-Reading นั้น มักจะนํามาเป็นส่วนหนึ่งของบทใช้ทดสอบทางดนตรี ทั้งการสอบเข้าเรียนดนตรีในระดับสูง การสอบวัดระดับทาง ดนตรีหรือการทดสอบเข้าเป็นสมาชิกในวงดุริยางค์ทั้งระดับสมัครเล่นและอาชีพ ฉะนั้นการ Sight-Reading จึงเป็นความสําคัญที่นักดนตรีต้องฝึกฝนให้ชํานาญ การ Sight-Reading ที่ดีนั้น ต้องการการฝึกซ้อมและประสบการณ์ ผู้ที่มีความสามารถในการ Sight-Reading จะได้เปรียบมากเพราะ สามารถเล่นเพลงร่วมกับผู้อื่นได้โดยง่าย การ Sight-Reading นี้ นับเป็นอุปกรณ์อันสําคัญของ นักดนตรีที่ทําให้ศึกษาบทเพลงต่างๆ ได้เร็วหลาก หลายและประหยัดเวลาในการฝึกหัด ปัญหาที่พบโดยทั่วไปทางด้านการ Sight-Reading ของนักเรียนไทยคือไม่เข้าใจการ Sight Reading อย่างถูกวิธี โดยไม่สามารถบรรเลงให้ ต่อเนื่อง ให้ความสําคัญกับระดับเสียงมากกว่าการ บรรเลงที่ต่อเนื่อง จึงเกิดการสะดุดและติดขัด Sight-Reading นั้น สามารถฝึกฝนจากการเรียนปฏิบัติ เครื่องดนตรี โดยผู้สอนให้นักเรียนฝึก Sight-Reading จากบทเพลงที่มีระดับความยากง่าย และ ซับซ้อนที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน อย่างเป็นประจําและต่อเนื่อง การสอน Sight-Reading ควรมีสอดแทรกอยู่ให้เป็นส่วนหนึ่งของการ เรียนดนตรีตั้งแต่เริ่มต้น ผู้สอนควรให้ความสําคัญของการ Sight-Reading แก่นักเรียน เพราะจะเกิด ผลดีทั้งแก่ผู้เรียนและผู้สอนในเวลาเดียวกัน เมื่อ นักเรียนมีความสามารถในการ Sight-Read ดีขึ้น ก็จะสามารถเรียนรู้บทเพลงได้ด้วยตัวเอง อีกทั้งจะ สนุกกับการเล่นดนตรีร่วมกับผู้อื่น ผู้สอนสามารถมุ่งเน้นการสอนไปสู่เนื้อหาของ "ดนตรี" ลดเวลา การแก้ไขข้อผิดพลาดจากมาตรฐานการบรรเลง ด้านจังหวะและระดับเสียงของนักเรียนได้เป็นอย่างดี

เอาล่ะ หลังจากลองๆ ทดสอบดูจนเป็นที่น่าพอใจ ก็เลยตกลงปลงใจซื้อ sightreadingfactory.com เรียกว่าระบบค่อนข้างน่าประทับใจครับ เพราะสามารถกำหนดความยากของโน้ตเพลงได้ เรียกว่าอยากฝึกอะไรเป็นการเฉพาะก็เลือกเอาตามใจฉันเลย

การอ่านโน้ตแบบ Sight Reading” มีความหมายอย่างไร
กำหนดความกว้างของโน้ตเองก็ได้


อยากใส่จังหวะอะไรลงไปในโน้ตก็ใส่ได้เลยตามใจ                           
เลือก Time Signature เองก็ได้ด้วย

นอกจากนี้ยังสามารถเลือก Key Signature เองก็ได้ (แต่น่าเสียดายที่ฟีเจอร์เลือกตัวโน้ตกับเลือกความกว้างของโน้ตยังไม่มีให้ใช้สำหรับเปียโน)

การอ่านโน๊ตแบบ Sight Reading คืออะไร

การอ่านโน้ตแบบSight readingคืออะไร answer choices. การอ่านโน้ตโดยมีผู้บอกทำนองในการบรรเลง การอ่านโน้ตตามผู้อำนวยเพลง (Conductor)

โน๊ตในข้อใดอ่านว่าที

แบบฝึกทักษะ เรื่องทฤษฎีดนตรีสากล 3. การเรียกชื่อตัวโน้ต การเรียกชื่อตัวโน้ตสากลที่นิยมมี 2 ระบบ ได้เเก่ 3.1 ระบบโซฟา (So-Fa system) ใช้เรียกตัวโน้ต เรียงล าดับ จากเสียงต่าไป เสียงสูง ดังนี้โด (Do) เร (Re) มี(Mi) ฟา (Fa) ซอล (Sol) ลา (La) ที(Ti)

ตัวโน้ตที่มีความยาวของเสียงมากที่สุด คือ ตัวโน้ตตัวใด

ตัวกลม (Whole Note) มีอัตราความยาวของเสียงยาวที่สุด ตัวขาว (Haft Note) มีอัตราความยาวของเสียงเป็นครึ่งหนึ่งของตัวกลม

โน้ตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 8 ตัว มีค่าเท่ากับโน้ตตัวดำกี่ตัว

จะเห็นได้ว่า โน้ต ตัวขาว มีค่าเท่ากับ ½ ของโน้ต ตัวกลม โน้ต ตัวดำ มีค่าเท่ากับ ¼ ของโน้ต ตัวกลม โน้ต ตัวเขบ็ต 1 ชั้น มีค่าเท่ากับ 1/8 ของโน้ต ตัวกลม โน้ต ตัวเขบ็ต 2 ชั้น มีค่าเท่ากับ 1/16 ของโน้ต ตัวกลม หรือ 1 ตัวกลม = 2 ตัวขาว = 4 ตัวดำ = 8 ตัวเขบ็ต 1 ชั้น = 16 ตัวเขบ็ต 2 ชั้น