วัตถุที่มีการเคลื่อนที่แนวโค้งมีลักษณะอย่างไร

จากรูป   เมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง  ซึ่งเป็นการตกแบบเสรี  วัตถุจะเคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง  g  ความเร็วของวัตถุในแนวดิ่งที่ตำแหน่ง  A,B,C  จึงไม่เท่ากัน  เราสามารถหาความเร็วในแนวดิ่ง  ที่ตำแหน่ง  B  คือ  ได้จากสมการv = u + at และเนื่องจากความเร็วในตอนเริ่มต้นการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเป็นศูนย์  จึงได้

        การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (simple harmonic motion) เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุกลับไปมาซ้ำทางเดิมผ่าน ตำแหน่งสมดุลโดยมีขนาดของการกระจัดสูงสุดคงตัว เรียกว่า แอมพลิจูด ช่วงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ครบหนึ่ง รอบเรียกว่า คาบ T และจำนวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา เรียกว่า ความถี่ f การเคลื่อนที่ของรถทดลองมวล m ที่ติดกับปลายลวดสปริงที่มีค่าคงตัว k จะเป็นการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่าง ง่าย โดยความเร่งมีขนาดแปรผันตรงกับขนาดของการกระจัด แต่มีทิศทางตรงข้าม หรือ 𝑎 𝑘 𝑚 𝑥 และการแกว่ง ของลูกตุ้ม อย่างง่าย โดยความเร่งของลูกตุ้มแปรผันตรงกับการกระจัดและมีทิศทางตรงข้ามกัน หรือ 𝑎 𝑙 𝑥 และคาบการแกว่ง ของลูกตุ้มอย่างง่าย 2𝜋 𝑙

    {\displaystyle a} {\displaystyle b}เป็นค่าคงที่ สมการนี้เป็นสมการพาราโบลา ดังนั้นเส้นทางการเคลื่อนที่ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จึงเป็นรูปพาราโบลา ถ้าทราบตำแหน่ง (x,y) ของโพรเจกไทล์ ก็จะทราบการกระจัด

สวัสดีค่ะน้องๆ ม.4 ทุกคน การสอบปลายภาคใกล้เข้ามาแล้ว เป็นยังไงบ้างคะ เตรียมตัวพร้อมแล้วหรือยัง วันนี้พี่บิวมีฟิตเพิ่มเกรดฟิสิกส์ ม.ปลาย เรื่อง การเคลื่อนที่แบบต่างๆ มาฝากน้องๆ ซึ่งพี่บิวจะมีสรุปสูตร และมีโจทย์สำหรับการเคลื่อนที่แต่ละแบบให้น้องๆ ด้วย ว่าแล้วมาดูกันเลยค่ะ ว่ามีการเคลื่อนที่แบบไหนบ้าง

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ 

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ หรือการเคลื่อนที่วิถีโค้ง เป็นการเคลื่อนที่ของแนวราบ และแนวระดับไปพร้อมๆ กัน โดยที่แกน x จะมีความเร็วคงที่ เช่น การขว้างลูกบอลออกไปข้างหน้า (แกน x) แต่เนื่องจากมีแรงโน้มถ่วงของโลก ดึงให้ลูกบอลตกลงมา (แกน y) จึงทำให้วิถีของลูกบอลพุ่งออกไปตรงๆ และโค้งลงมาด้วยพร้อมๆ กัน

วัตถุที่มีการเคลื่อนที่แนวโค้งมีลักษณะอย่างไร

ภาพการขว้างลูกบอล จากคอร์สเก่งฟิสิกส์ ม.4 เทอม 1

การคำนวณการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ คือการคำนวณ แกน x , แกน y แยกกัน จากสูตร

วัตถุที่มีการเคลื่อนที่แนวโค้งมีลักษณะอย่างไร

ตัวอย่างโจทย์

วัตถุที่มีการเคลื่อนที่แนวโค้งมีลักษณะอย่างไร

การเคลื่อนที่แบบวงกลม

การเคลื่อนที่แบบวงกลมแบบอัตราเร็วคงตัว หรือ แบบวงกลมสม่ำเสมอ การที่วัตถุจะเคลื่อนที่เป็นวงกลมได้นั้น คือ วัตถุมีแรงสู่ศูนย์กลาง ทำให้วัตุมีการเปลี่ยนทิศของความเร็ว ตัวอย่างที่พบได้ในชีวิตประจำวัน เช่น การเลี้ยวโค้งของรถ รถไฟเหาะ เป็นต้น

วัตถุที่มีการเคลื่อนที่แนวโค้งมีลักษณะอย่างไร

ภาพการหมุนของลูกตุ้ม จากคอร์สเก่งฟิสิกส์ ม.4 เทอม 1

โดยการคำนวณจะใช้สูตรดังนี้

วัตถุที่มีการเคลื่อนที่แนวโค้งมีลักษณะอย่างไร

ตัวอย่างโจทย์

วัตถุที่มีการเคลื่อนที่แนวโค้งมีลักษณะอย่างไร

การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก คือ การเคลื่อนที่แบบกลับไปกลับมาซ้ำที่จุดเดิม โดยผ่านจุดสมดุล เช่น การแกว่งลูกต้ม การสั่นของสปริง 

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ และวงกลม เป็นการเคลื่อนที่รูปแบบหนึ่งของวัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นโดยมีการเคลื่อนที่ไปพร้อมกันทั้ง 2 มิติ

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ (Projectile Motion)  คือ การเคลื่อนที่ของวัตถุในวิถีโค้ง ซึ่งประกอบด้วยการเคลื่อนที่ในแนวระดับจากแรงกระทำต่อวัตถุและการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งจากอิทธิพลของแรงดึงดูดโลก ซึ่งก่อให้เกิดการเคลื่อนที่ของวัตถุอย่างอิสระไปพร้อมกันในทั้ง 2 มิติ เช่น การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ถูกขว้างออกไปในอากาศ หรือการยิงลูกธนูไปยังเป้าหมาย

ลักษณะทั่วไปของ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์

  • มีแนวการเคลื่อนที่วิถีโค้งแบบ “พาราโบลา” (Parabola)
  • มีการกระจัดใน 2 ลักษณะเกิดขึ้นที่ในเวลาเดียวกันและเป็นอิสระต่อกันคือ การกระจัดในแนวระดับ คือ การเคลื่อนที่ของวัตถุภายใต้ความเร็วคงที่ในแนวราบ วัตถุต้องมีความเร็วเริ่มต้นหรือได้รับแรงกระทำจากภายนอก และการกระจัดในแนวดิ่ง คือ การเคลื่อนที่ของวัตถุภายใต้ความเร่งคงที่ จากแรงโน้มถ่วงของโลก เช่นเดียวกับการตกอย่างเสรีของวัตถุในอากาศ
  • วัตถุใช้เวลาในการเคลื่อนที่ทั้งในแนวระดับและในแนวดิ่งเท่ากัน

    วัตถุที่มีการเคลื่อนที่แนวโค้งมีลักษณะอย่างไร
    วัตถุที่มีการเคลื่อนที่แนวโค้งมีลักษณะอย่างไร

    ข้อเท็จจริงจากการทดลอง

    การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ประกอบด้วยการเคลื่อนที่ในระดับและแนวดิ่งที่เป็นอิสระต่อกัน ซึ่งมีความหมายว่าความเร็วเริ่มต้นในแนวระดับ ไม่มีผลต่อการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งแต่อย่างใด หากทำการทดลองโดยการปล่อยวัตถุตกลงสู่พื้นในแนวดิ่งและขว้างวัตถุออกไปในแนวระนาบ ณ ที่ระดับความสูงเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นการขว้างด้วยแรงกระทำเท่าใด วัตถุดังกล่าวจะตกถึงพื้นพร้อมกันเสมอ 

    ดังนั้น จึงสามารถสรุปได้ว่า การเคลื่อนที่ของวัตถุแบบโพรเจกไทล์ เกิดขึ้นจากแรงดึงดูดของโลกเพียงแรงเดียว โดยมีขนาดของความเร็วเริ่มต้นและมุมกระทบที่ส่งผลต่อระยะทางการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวระดับ

    การเคลื่อนที่แบบวงกลม (Circular Motion) คือ การเคลื่อนที่ 2 มิติ ในอีกลักษณะหนึ่งของวัตถุ โดยมีรูปแบบการเคลื่อนที่เป็นวงกลมรอบจุดศูนย์กลาง จากแรงกระทำภายนอกที่ดึงดูดวัตถุเข้าหาศูนย์กลางของวงกลม จึงทำให้วัตถุซึ่งกำลังเคลื่อนที่ในแนวตรงมีการหักเหของทิศทางเป็นวงกลมในลักษณะเท่า ๆ กันรอบศูนย์กลาง เช่น การโคจรของดวงจันทร์หรือดาวเทียมรอบโลก

    วัตถุที่มีการเคลื่อนที่แนวโค้งมีลักษณะอย่างไร
    วัตถุที่มีการเคลื่อนที่แนวโค้งมีลักษณะอย่างไร

    ลักษณะทั่วไปของการเคลื่อนที่แบบวงกลม

    • มีทิศทางของแรงกระทำหรือความเร่งของวัตถุที่เปลี่ยนแปลงไปตลอดการเคลื่อนที่ โดยแรงดังกล่าวจะมีทิศตั้งฉากกับแนวการเคลื่อนที่ของวัตถุหรือมีทิศอยู่ในแนวรัศมีของวงกลมที่วัตถุเคลื่อนที่ตลอดเวลา
    • การเคลื่อนที่แบบวงกลมสม่ำเสมอ (Uniform Circular Motion) คือ การเคลื่อนที่แบบวงกลมที่มีอัตราเร็วคงที่และสม่ำเสมอ แต่มีทิศทางการเคลื่อนที่ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อย
    • แรงกระทำต่อวัตถุที่มีทิศทางเข้าหาศูนย์กลางของแนววงกลมเรียกว่า “แรงสู่ศูนย์กลาง” (Centripetal Force) 
    • โดยทั่วไป วัตถุที่เคลื่อนที่เป็นวงกลมจะเกิดความเร่ง 2 แนว คือ ความเร่งแนวเส้นสัมผัสวงกลมและความเร่งแนวรัศมีหรือความเร่งสู่ศูนย์กลาง แต่ถ้าหากวัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ เช่น การเคลื่อนที่เป็นวงกลมในแนวระนาบจะเกิดความเร่งสู่ศูนย์กลางเพียงแนวเดียว
    • ลักษณะเฉพาะของการเคลื่อนที่แบบวงกลม คือ 
      • ระยะเวลาที่วัตถุใช้ในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ เรียกว่า “คาบ” (Period) ใช้สัญลักษณ์ “T” มีหน่วยเป็นวินาทีต่อรอบหรือวินาที
      • จำนวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ใน 1 หน่วยเวลา เรียกว่า “ความถี่” (Frequency) ใช้สัญลักษณ์ “f” มีหน่วยเป็นรอบต่อวินาที หรือ เฮิรตซ์ (Hz)
      • อัตราเร็วเชิงมุม (ω) คือ อัตราส่วนของมุมที่วัตถุเคลื่อนที่เบี่ยงเบนไปจากแนวเดิม หรือ มุมที่รัศมีกวาดไปได้ใน 1 วินาทีมีหน่วยเป็นเรเดียนต่อวินาที
      • อัตราเร็วเชิงเส้น (v) คือ ระยะทางหรือความยาวของเส้นโค้งที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในเวลา 1 วินาที มีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที

    วัตถุที่มีการเคลื่อนที่แนวโค้งมีลักษณะอย่างไร
    วัตถุที่มีการเคลื่อนที่แนวโค้งมีลักษณะอย่างไร

    สืบค้นและเรียบเรียง
    คัดคณัฐ ชื่นวงศ์อรุณ

    ข้อมูลอ้างอิง

    สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) – https://www.scimath.org/lesson-physics/item/9414-2018-11-14-08-28-11

    ลักษณะที่สําคัญของการเคลื่อนที่วิถีโค้งคืออะไร

    การเคลื่อนที่แบบวิถีโค้ง คือการเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีแรงกระท าท ามุมใดๆ กับความเร็วโดยมุมกระท า นั้นไม่คงที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จะได้ลักษณะการเคลื่อนที่เป็นโค้งพาราโบลาซึ่งมีการขจัดเกิดขึ้น 2 แนว พร้อมกันคือ แนวราบและแนวดิ่งดังนั้นความเร็วขณะใดๆของการเคลื่อนที่จะต้องประกอบด้วยความเร็ว 2 แนว คือ แนวราบ ( VX ) และ ...

    การเคลื่อนที่แบบวิถีโค้งมีอะไรบ้าง

    การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ หรือการเคลื่อนที่วิถีโค้ง เป็นการเคลื่อนที่ของแนวราบ และแนวระดับไปพร้อมๆ กัน โดยที่แกน x จะมีความเร็วคงที่ เช่น การขว้างลูกบอลออกไปข้างหน้า (แกน x) แต่เนื่องจากมีแรงโน้มถ่วงของโลก ดึงให้ลูกบอลตกลงมา (แกน y) จึงทำให้วิถีของลูกบอลพุ่งออกไปตรงๆ และโค้งลงมาด้วยพร้อมๆ กัน

    การที่วัตถุมีการเคลื่อนที่ในลักษณะวิถีโค้งเกิดจากสาเหตุใด

    การเคลื่อนที่แบบวิถีโค้ง คือการเคลื่อนที่ของวตัถุที่มีแรงกระทำ ทำมุมใดๆกับความเร็วโดยมุมกระทำนั้นไม่คงที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จะได้ลักษณะการเคลื่อนที่เป็นโค้งพาราโบลาซึ่งมีการขจัดเกิดขึ้น 2 แนว พร้อมกันคือ แนวราบและแนวดิ่ง ดังนั้นความเร็วขณะใดๆของการเคลื่อนที่จะต้องประกอบด้วยความเร็ว 2 แนว คือ แนวราบ ( VX ) และแนว ...

    การเคลื่อนที่แนวดิ่งมีลักษณะอย่างไร

    เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกอย่างอิสระภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลกเพียงแรงเดียว การเคลื่อนที่ลักษณะนี้จะไม่คิดแรงต้านของอากาศ