ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ประกอบด้วยอะไรบ้าง

ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่มีมากกว่าสองขั้วไฟฟ้า(ขาหรือลีดส์) เมื่อนำขาของชิ้นส่วนหลายชนิดมาบัดกรีเข้าด้วยกันบนแผงวงจรพิมพ์จะสร้างเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (วงจรย่อย) ที่มีฟังก์ชันที่เฉพาะเจาะจง (เช่นเครื่องขยายสัญญาณ, เครื่องรับสัญญาณวิทยุหรือ oscillator) ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์พื้นฐานอาจจะถูกเก็บในบรรจุภัณฑ์แยกชนิดกัน หรือจัดเรียงเป็นแถวหรือเครือข่ายของส่วนประกอบที่เหมือนกันหรือผสมกันภายในแพคเกจเช่นวงจรรวมเซมิคอนดักเตอร์, แผงวงจรไฟฟ้าไฮบริดหรืออุปกรณ์ฟิล์มหนา. รายการของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ต่อไปนี้ มุ่งเน้นไปที่ชิ้นส่วนที่แยกเป็นเอกเทศโดยถือว่าแพคเกจที่พูดถึงเป็นชิ้นส่วนเอกเทศตามนัยของมันเอง ในบทความนี้ คำว่าชิ้นส่วนและอุปกรณ์ มีความหมายเหมือนกัน

เนื้อหา

  • 1 การจัดหมวดหมู่
  • 2 อุปกรณ์ แอคทีฟ
    • 2.1 สารกึ่งตัวนำ
      • 2.1.1 ไดโอด
      • 2.1.2 ทรานซิสเตอร์
      • 2.1.3 แผงวงจรรวม
      • 2.1.4 อุปกรณ์ Optoelectronic
    • 2.2 เทคโนโลยีจอแสดงผล
    • 2.3 หลอดสูญญากาศ (วาล์ว)
    • 2.4 อุปกรณ์ discharge
    • 2.5 แหล่งพลังงาน
  • 3 อุปกรณ์ พาสซีฟ
    • 3.1 ตัวต้านทาน
    • 3.2 ตัวเก็บประจุ
    • 3.3 อุปกรณ์เหนี่ยวนำแม่เหล็ก (Inductor)
    • 3.4 เมมริสเตอร์
    • 3.5 เครือข่าย
    • 3.6 ทรานสดิวเซอร์, ตัวเซ็นเซอร์, ตัวตรวจจับ
    • 3.7 เสาอากาศ
    • 3.8 ส่วนประกอบ, โมดูล
  • 4 เครื่องกลไฟฟ้า
    • 4.1 อุปกรณ์ piezoelectric คริสตัล resonators
    • 4.2 ขั้วไฟฟ้าและหัวต่อ
    • 4.3 สายเคเบิล
    • 4.4 สวิตซ์
    • 4.5 อุปกรณ์ป้องกัน
    • 4.6 ส่วนประกอบเครื่องกล
  • 5 สัญลักษณ์มาตรฐาน
  • 6 ดูเพิ่ม
  • 7 อ้างอิง

การจัดหมวดหมู่

ชิ้นส่วนหนึ่งชิ้นอาจจำแนกเป็นพาสซีฟ, หรือแอคทีฟหรือกลไกอิเล็กตรอน

  • อุปกรณ์กลไกอิเล็กตรอนหมายถึงอุปกรณ์ที่ทำงานโดยการใช้การเคลื่อนไหว เช่นคริสตัล(สั่นเพื่อผลิตความถี่), สวิทช์(ปิด/เปิด)

อุปกรณ์ แอคทีฟ

สารกึ่งตัวนำ

ไดโอด

ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ในทิศทางเดียว

  • ไดโอด - ให้กระแสไหลผ่านทางเดียว ใช้ทำวงจรเรียงกระแส
  • สก็อตต์กี้ไดโอด, ไดโอดพาหะร้อน - ไดโอดความเร็วสูง เมื่อกระแสไหลมีแรงดันตกคร่อมต่ำ
  • ซีเนอร์ไดโอด - ยอมให้กระแสไหลผ่านในทิศทางย้อนกลับเพื่อให้แรงดันอ้างอิงคงที่
  • ไดโอดลดแรงดันไฟฟ้าชั่วคราว Transient voltage suppression diode (TVS) , Unipolar หรือไบโพลาร์ - ใช้ในการดูดซับ spikes แรงดันสูง
  • วาแรกเตอร์, จูนนิ่งไดโอด, Varicap ไดโอด, ไดโอดความจุแปรได้ - ไดโอดที่มีค่าความเก็บประจุ(capacitance) AC แปรผันตามแรงดันไฟ DC ที่ใช้
  • ไดโอดเปร่งแสง, light-emitting diode (LED) - ไดโอดที่ปล่อยแสงออกมา
  • เลเซอร์ไดโอด - เลเซอร์เซมิคอนดักเตอร์
  • โฟโต้ไดโอด - ให้กระแสผ่านเป็นสัดส่วนกับแสงที่ตกกระทบ
    • โฟโต้ไดโอดถล่มถลาย - โฟโต้ไดโอดที่ผ่านกระแสแบบถล่มถลาย
    • เซลล์แสงอาทิตย์, เซลล์โฟโต้โวลตาอิค(PV cell) - สร้างพลังงานจากแสง
  • ไดแอค (Diode for Alternating Current), Trigger Diode, SIDAC – ใช้จุดชนวน SCR (ตัวเรียงกระแสควบคุมชนิดซิลิคอน)
  • ไดโอดกระแสคงที่
  • เพวเทียคูลเลอร์ Peltier cooler – สารกึ่งตัวนำถ่ายเทความร้อน ใช้แทน heat sink

ทรานซิสเตอร์

ทรานซิสเตอร์ถือว่าเป็นสิ่งประดิษฐ์ของศตวรรษที่ยี่สิบที่ทำให้วงจรอิเล็กทรอนิกส์เปลี่ยนไปตลอดกาล ทรานซิสเตอร์เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำที่ใช้ในการขยายสัญญาณและเปิดปิดสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์และพลังงานไฟฟ้า

  • ทรานซิสเตอร์
    • ทรานซิสเตอร์สองขั้ว (Bipolar Junction Transistor) - ใช้ 2 ขั้วของกระแสคืออิเล็กตรอน(ลบ Negative)และโฮล(บวก Positive) - NPN หรือ PNP
    • โฟโต้ทรานซิสเตอร์ - ทำงานเมื่อถูกแสง
    • ทรานซิสเตอร์ดาร์ลิงตัน - ต่อทรานซิสเตอร์แบบ NPN หรือ แบบ PNP สองตัวคู่กัน
    • โฟโต้ดาร์ลิงตัน - ทำงานด้วยแสง
    • Sziklai pair - เหมือนทรานซิสเตอร์ดาร์ลิงตัน แต่ผสม PNP กับ NPN
  • ทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า (Field-effect Transistor,FET) unipolar ใช้ขั้วเดียว N หรือ P ทำงานเนื่องจากผลของสนามไฟฟ้า
    • JFET (Junction Field-Effect Transistor) – N-CHANNEL or P-CHANNEL
    • MOSFET (Metal Oxide Semiconductor FET)
    • MESFET (MEtal Semiconductor FET)
    • HEMT (High electron mobility transistor)
  • ทายริสเตอร์ ชื่อทั่วไปของ SCR
    • ตัวเรียงกระแสควบคุมชนิดซิลิคอน Silicon-controlled Rectifier (SCR, ชื่อทางการค้า) - ผ่านกระแสเมื่อมีแรงดันไฟฟ้าที่ประตูเพียงพอ
    • TRIAC (triode สำหรับกระแสสลับ) - ทายริสเตอร์สองทิศทาง
    • Unijunction transistor (UJT)
    • Programmable Unijunction transistor (PUT)
    • SIT (Static induction transistor)
    • SITh (Static induction thyristor
  • Composite transistors
    • IGBT (Insulated-gate bipolar transistor)


แผงวงจรรวม

  • ดิจิทัล
  • แอนะล็อก
    • Hall effect sensor - ตรวจจับสนามแม่เหล็ก
    • Current sensor - ตรวจจับกระแสที่ไหลผ่าน

อุปกรณ์ Optoelectronic

  • ออปโตอิเล็กทรอนิกส์
  • Opto-Isolator, Opto-Coupler, Photo-Coupler - Photodiode, BJT, JFET, SCR, TRIAC *Zero-crossing TRIAC, Open collector IC, CMOS IC, solid state relay (SSR)
  • Opto switch, Opto interupter, Optical switch, Optical Interupter, Photo switch, photo Interupter
  • จอแสดงผล LED - จอแสดงผลเจ็ดเซกเมนท์, จอแสดงผลสิบหกเซกเมนท์,จอแสดงผลดอทเมทริกซ์

เทคโนโลยีจอแสดงผล

  • หลอดใส้ (หลอดไฟกระพริบ)
  • จอแสดงผลเรืองแสง (Vacuum fluorescent display, VFD) (อักขระ สร้างล่วงหน้า, 7 เซกเมนท์, ดาวกระจาย)
  • หลอดภาพรังสีคาโทด (Cathode Ray Tube, CRT) (dot matrix scan, รัศมีสแกน (เช่นเรดาร์), การสแกนโดยพลการ (เช่นสโคป)) (ขาวดำและสี)
  • จอแอลซีดี (อักขระสร้างล่วงหน้า, dot matrix) (พาสซีฟ, TFT) (สีหรือขาวดำ)
  • นีออน (เอกเทศ, 7 segment)
  • ไฟแอลอีดี (เอกเทศ, 7 segment, จอแสดงผลดาวกระจาย, dot matrix)
  • ตัวบ่งชี้การกระพือ (แบบตัวเลข, ข้อความพิมพ์ไว้ล่วงหน้า)
  • จอแสดงผลพลาสม่า (dot matrix)

ที่เลิกใช้แล้ว

  • หลอดใส้แสดงตัวเลข 7 segment (minitron)
  • หลอดนิกซื่
  • Dekatron (หลอดเรืองแสง)
  • หลอดตาแมว
  • Penetron (2 สีดูผ่านจอ CRT)

หลอดสูญญากาศ (วาล์ว)

บนพื้นฐานของการนำกระแสผ่านสูญญากาศ (ดูหลอดสูญญากาศ)

  • ไดโอดหรือหลอดเรียงกระแส

หลอดขยาย

  • Triode
  • Tetrode
  • Pentode
  • Hexode
  • Pentagrid
  • Octode
  • Microwave tubes
    • Klystron
    • Magnetron
    • Traveling-wave tube

ตัวตรวจจับแสงหรือปล่อยแสง

  • Phototube or Photodiode – เทียบเท่ากับโฟโต้ไดโอดสารกึ่งตัวนำ
  • Photomultiplier tube – Phototube ที่มี gain ภายใน
  • Cathode ray tube (CRT) หรือจอภาพโทรทัศน์
  • Vacuum fluorescent display (VFD) – จอแสดงผลสมัยใหม่ขนาดเล็กไม่ใช้การสแกน
  • Magic eye tube – จอ CRT ขนาดเล็กนำมาใช้เป็นเครื่องวัดการหาสถานีวิทยุ (ล้าสมัย)
  • X-ray tube – ผลิต x-rays

อุปกรณ์ discharge

  • หลอดระบายแก๊ส

เลิกใช้

  • rectifier ปรอทอาร์ค
  • หลอดควบคุมแรงดันไฟฟ้า
  • หลอดนิกซี่
  • Thyratron
  • Ignitron

แหล่งพลังงาน

แหล่งที่มาของพลังงานไฟฟ้า:

  • แบตเตอรี่ - แบบกรดหรือด่างแอลคาไลน์
  • เซลล์เชื้อเพลิง - เครื่องกำเนิดไฟฟ้าด้วยปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้า
  • แหล่งจ่ายไฟ - ปกติจะต่อเข้ากับสายเมน
  • เซลล์โฟโต้โวลตาอิค - สร้างกระแสไฟฟ้าจากแสง
  • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าจากอุณหภูมิ - สร้างกระแสไฟฟ้าจากการไล่ระดับอุณหภูมิ
  • เครื่องกำเนิดไฟฟ้า - แหล่งพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานกล
  • ความดัน Piezoelectric - สร้างกระแสไฟฟ้าจากแรงกดลงบนสารบางชนิดเช่นคริสตัล
  • Physically carrying electrons - ตัวผลิตไฟฟ้าแบบ Van de Graaff หรือจากแรงเสียดทาน

อุปกรณ์ พาสซีฟ

ตัวต้านทาน

ความต้านทานเป็นสัดส่วนโดยตรงกับแรงดันไฟฟ้า (กฎของโอห์ม) และผกผันกับกระแส

  • ตัวต้านทาน - ค่าคงที่
    • ตัวต้านทานกำลัง - ตัวต้านทานขนาดใหญ่ กระจายความร้อนที่เกิดได้อย่างปลอดภัย
    • SIP หรือ DIP เครือข่ายตัวต้านทาน - อาเรย์ของตัวต้านทานในหนึ่งแพคเกจ
  • ตัวต้านทานที่ปรับค่าได้
    • รีโอสตัท - ตัวต้านทานที่ปรับค่าได้สองขา (มักจะใช้สำหรับงานพลังงานสูง)
    • โปเทนฉิโอมิเตอร์ - ตัวต้านทานปรับค่าได้สามขา (ตัวแบ่งแรงดันปรับค่าได้)
    • โปเทนจิ๋ว (อังกฤษ: trim pot) - โปเทนฉิโอมิเตอร์ขนาดเล็ก มักจะสำหรับการปรับค่าภายในวงจร
  • ตัวสร้างความร้อน (อังกฤษ: heater) - อุปกรณ์ให้ความร้อน
  • ลวดความต้านทาน, ลวด นิโครม - ลวดทำจากวัสดุต้านทานสูงมักจะใช้เป็นอุปกรณ์ที่ให้ความร้อน
  • เทอร์มิสเตอร์ - ตัวต้านทานที่ไวต่ออุณหภูมิ หน้าที่หลักของมันคือเพื่อแสดงการเปลี่ยนแปลงขนาดใหญ่ที่แม่นยำและคาดเดาได้ของความต้านทานไฟฟ้าเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงที่สอดคล้องกันของอุณหภูมิของร่างกาย
  • ฮิวมิสเตอร์ - ความต้านทานเปลี่ยนตามความชื้น
  • วาริสเตอร์ ตัวต้านทานที่เปลี่ยนตามแรงดันไฟฟ้า, Metal Oxide Varistor (MOV) – ผ่านกระแสเมื่อแรงดันมีมากเกินไป

ตัวเก็บประจุ

ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ประกอบด้วยอะไรบ้าง

 

ตัวเก็บประจุที่แตกต่างกันสำหรับวงจรอิเล็กทรอนิกส์

ตัวเก็บประจุจะเก็บและปล่อยประจุไฟฟ้า ใช้สำหรับกรองสายส่งพลังงานไฟฟ้า, ปรับวงจรเรโซแนนซ์, และการปิดกั้นแรงดันไฟฟ้า DC ที่ไหลในวงจร AC และในงานอื่นๆอีกมากมาย

  • ตัวเก็บประจุ
    • ตัวเก็บประจุในวงจรรวม
      • MIS capacitor ทำจากชั้นของโลหะและฉนวนและสารกึ่งตัวนำ (metal+insulator+semiconductor)
      • Trench capacitor
    • ตัวเก็บประจุค่าคงที่
      • Ceramic capacitor
      • Film capacitor
      • Electrolytic capacitor
        • Aluminum electrolytic capacitor
        • Tantalum electrolytic capacitor
        • Niobium electrolytic capacitor
        • Polymer capacitor, OS-CON
      • ตัวเก็บประจุยิ่งยวด (Electric double-layer capacitor)
        • Nanoionic supercapacitor
        • Lithium-ion capacitor
      • Mica capacitor
      • Vacuum capacitor
    • Variable capacitor – สามารถปรับค่า capacitance ได้
      • Tuning capacitor – ใช้ปรับความถี่หาสถานีของวิทยุ หรือปรับความถี่ของวงจรออสซิลเลเตอร์ หรือวงจรปรับแต่งความถี่
      • Trimmer capacitor – ตัวเก็บประจุตัวเล็กๆใช้ในการปรับความถี่ภายในวงจรหลัก
      • Vacuum variable capacitor
    • ตัวเก็บประจุสำหรับการใช้งานพิเศษ
      • Power capacitor
      • Safety capacitor
      • Filter capacitor
      • Light-emitting capacitor
      • Motor capacitor
      • Photoflash capacitor
      • Reservoir capacitor
    • Capacitor network (array)
  • Varicap diode – AC capacitance จะเปลี่ยนตาม DC voltage

อุปกรณ์เหนี่ยวนำแม่เหล็ก (Inductor)

ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ประกอบด้วยอะไรบ้าง

 

ferrite bead ที่ปลายของ Mini USB cable

ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ประกอบด้วยอะไรบ้าง

 

ferrite bead ที่เปลือกหุ้มพลาสติกถูกถอดออก

ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ประกอบด้วยอะไรบ้าง

 

ตัวเหนี่ยวนำ RF ที่พันอยู่บน ferrite bead และ ferrite bead แบบวางบนแผ่น PCB

ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ประกอบด้วยอะไรบ้าง

 

ferrite bead แบบ snap-on/clamp-on หลายแบบ

  • ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้า, ตัวเหนี่ยวนำ เช่น coil, choke
  • ตัวเหนี่ยวนำปรับค่าได้
  • ตัวเหนี่ยวนำอิ่มตัว
  • หม้อแปลงไฟฟ้า
  • ตัวขยายสัญญาณด้วยแม่เหล็ก (แบบห่วงยาง)
  • ferrite impedances, beads
  • มอเตอร์/เครื่องกำเนิดไฟฟ้า
  • Solenoid
  • ลำโพงและไมโครโฟน

เมมริสเตอร์

ส่วนประกอบไฟฟ้าที่ผ่านประจุเป็นสัดส่วนกับแรงแม่เหล็กหรือสนามแม่เหล็ก และมันก็สามารถที่จะจดจำสถานะต้านทานก่อนหน้านี้ มันถึงได้มีชื่อว่าความจำบวกตัวต้านทาน (memory+resistor)

  • Memristor

เครือข่าย

ส่วนประกอบที่ใช้มากกว่าหนึ่งชนิดของอุปกรณ์พาสซีฟ :

  • RC เครือข่าย - รูปแบบ RC วงจรที่ใช้ในการ snubbers
  • LC เครือข่าย - รูปแบบวงจรที่ใช้ในหม้อแปลงปรับได้และตัวกรองการรบกวนจากคลื่นวิทยุ ( RFI)

ทรานสดิวเซอร์, ตัวเซ็นเซอร์, ตัวตรวจจับ

ตัวแปรสัญญาณ แปลงการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพใดๆเป็นสัญญาณทางไฟฟ้าหรือกลับกัน

ตัวเซ็นเซอร์ (หรือตัวตรวจจับ) เป็นทรานสดิวเซอร์ที่ตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมโดยการเปลี่ยนสมบัติทางไฟฟ้​​าหรือโดยการสร้างสัญญาณไฟฟ้า

ทรานสดิวเซอร์ที่อยู่ในรายการต่อไปนี้เป็นชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เดี่ยวๆ (ตรงข้ามกับชุดสมบูรณ์) และเป็นอุปกรณ์พาสซีฟ (ดูอุปกรณ์กึ่งตัวนำและหลอดสำหรับอุปกรณ์แอคทีฟ) เฉพาะที่พบมากที่สุดอยู่ในรายการข้างล่างนี้

ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง

ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์.
3.1 ตัวต้านทาน.
3.2 ตัวเก็บประจุ.
3.3 อุปกรณ์เหนี่ยวนำแม่เหล็ก (Inductor).
3.4 เมมริสเตอร์.
3.5 เครือข่าย.
3.6 ทรานสดิวเซอร์, ตัวเซ็นเซอร์, ตัวตรวจจับ.
3.7 เสาอากาศ.
3.8 ส่วนประกอบ, โมดูล.

แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์มีองค์ประกอบของวัสดุประเภทใด

ส่วนประกอบที่ไม่ใช่โลหะจากซากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ร้อยละ 70 มาจากวัสดุที่ใช้ทำแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนใหญ่ประกอบด้วยเทอร์โมเซตเรซิน (Thermoset Resin) และใยแก้ว (Fiber Glass) ซึ่งเทอร์โมเซตเรซินเป็นวัสดุที่ไม่สามารถนำไปหลอมเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ได้ และการเผาไม่ใช่ทางเลือกในการบำบัดสารกลุ่มนี้ เนื่องจากสารกลุ่มนี้จะ ...

งานอิเล็กทรอนิกส์ มีอะไรบ้าง

แนวทางการประกอบอาชีพ.
ช่างอิเล็กทรอนิกส์.
ช่างซ่อมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ประจำศูนย์ต่างๆ.
ช่างซ่อมมือถือ.
พนักงานรัฐและเอกชน.
เจ้าของกิจการร้านขายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์.
เจ้าของกิจการร้านขายคอมพิวเตอร์.
เจ้าของกิจการร้านคอมพิวเตอร์.
เจ้าของกิจการซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์.

ทรานซิสเตอร์ เป็นชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์มีกี่ขา

ทรานซิสเตอร์เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ โครงสร้างภายในของทรานซิสเตอร์นั้นจะประกอบด้วยสารกึ่งตัวนำ P และ N มาต่อกัน 3 ตัว และมีรอยต่อ 2 รอยต่อมีขา 3 ขา - ขาเบส (Base : B) - ขาอิมิตเตอร์ (Emitter : E) - ขาคอลเล็กเตอร์ (Collector : C)