จบ ช่างไฟฟ้า เรียนต่อ อะไรได้บ้าง

สาขาวิชาช่างไฟฟ้า ผลิตกำลังคนที่มีความรู้และทักษะในระดับเทคนิค สามารถปฏิบัติงานที่ใช้เทคนิคควบคุมการทำงาน มีคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและกิจนิสัยที่เหมาะสมในการทำงาน สอดคล้องกับความต้องการทางสังคม ชุมชน และสถานประกอบการ สามารถประกอบอาชีพอิสระและพัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้าทางวิชาการ และวิชาชีพ

1. ชื่อหลักสูตร

                ชื่อภาษาไทย         :  หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาช่างไฟฟ้า
             ชื่อภาษาอังกฤษ      : Diploma in Electrical Technology

2. ชื่อปริญญา

                ชื่อเต็มภาษาไทย         :  ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาช่างไฟฟ้า
                ชื่อย่อภาษาไทย          :  ปวส.สาขาวิชาช่างไฟฟ้า
                ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ     :  Diploma in Electrical Technology
                ชื่อย่อภาษาไทย          :  Dip.in Electrical Technology

3. จำนวนหน่วยกิจที่เรียนตลอดหลักสูตร

                จำนวนหน่วยกิจรวมตลอดหลักสูตร     84 หน่วยกิต

4. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  • ช่างเทคนิคติดตั้งระบบไฟฟ้าในอาคาร และโรงงานอุตสาหกรรม
  • นักออกแบบระบบไฟฟ้าในอาคาร และเครื่องจักรกลไฟฟ้า
  • นักวิเคราะห์ และซ่อมบำรุงอุปกรณ์ไฟฟ้าในงานอุตสาหกรรม
  • ช่างเทคนิคควบคุมระบบเครื่องจักรในงานอุตสาหกรรม
  • ช่างทดสอบอุปกรณ์ และเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า

5. ปรัชญาและความสำคัญ

                ผลิตกำลังคนที่มีความรู้และทักษะในระดับเทคนิค สามารถปฏิบัติงานที่ใช้เทคนิคควบคุมการทำงาน มีคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและกิจนิสัยที่เหมาะสมในการทำงาน สอดคล้องกับความต้องการทางสังคม ชุมชน และสถานประกอบการ สามารถประกอบอาชีพอิสระและพัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้าทางวิชาการ และวิชาชีพ

6. วัตถุประสงค์

  • เพื่อผลิตผู้สำเร็จการศึกษาที่มีคุณสมบัติ
    • เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษามีความรู้ความสามารถปฏิบัติการเชิงวิชาการ ในด้าน วงจรไฟฟ้าและเครื่องมือวัดไฟฟ้า การควบคุมและติดตั้งระบบไฟฟ้า เครื่องกลไฟฟ้า ระบบควบคุมในอุตสาหกรรมและอิเล็กทรอนิกส์
    • เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษามีความรู้ความสามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ช่างเทคนิคหรือผู้ช่วยวิศวกร ในการควบคุมระบบไฟฟ้า และการควบคุมด้วยอิเล็กทรอนิกส์กำลัง การควบคุมงาน การประสานงานและติดตามผลงานเพื่อเสนอต่อหัวหน้าหน่วยงานหรือผู้บริหาร
    • เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษามีความรู้ความสามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม การตรวจซ่อม บำรุงรักษาเครื่องจักรและเครื่องมืออุปกรณ์ไฟฟ้า ทั้งภาครัฐและเอกชน การประกอบกิจการส่วนบุคคล
    • เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษามีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์กิจนิสัย สามารถใช้เทคโนโลยีในการค้นคว้า ปรับปรุงตนเองให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ และการแสดงออกในเจตคติที่ดีต่อการปฏิบัติวิชาชีพ
    • เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย มีความซื่อสัตย์สุจริต อดทน ขยันมั่นเพียร ตรงต่อเวลา สำนึกในจรรยาบรรณวิชาชีพของตนเสมอ รับผิดชอบต่อหน้าที่ สังคมและประเทศชาติ

7. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

  • แผน ก เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาวิชาช่างไฟฟ้า สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาช่างเครื่องมือวัด สาขาวิชาช่างไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง
  • แผน ข เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่า

8. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

  • ให้เป็นไปตามระเบียบการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย หรือการคัดเลือกตามวิธีการอื่นที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยกำหนด

    วิศวกรไฟฟ้าคือผู้ที่ประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เพื่อแก้ปัญหาทางวิศวกรรมไฟฟ้าอย่างสมเหตุสมผลทางเศรษฐศาสตร์ งานของวิศวกรไฟฟ้าจึงเกี่ยวข้องกับการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใหม่ ๆ และเชื่อมโยงกับการประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรมนอกจากนี้งานของวิศวกรไฟฟ้ายังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการออกแบบ วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ รวมทั้งการทดสอบผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน งานของวิศวกรรมไฟฟ้ายังมีโอกาสเกี่ยวข้องกับโรงงานอุตสาหกรรมในการดูแลระบบไฟฟ้าและกระบวนการผลิต ซึ่งต้องใช้การวิเคราะห์ทั้งทางด้านวิศวกรรม การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม

    จบปวส.ช่างไฟฟ้าทำงานอะไรได้บ้าง

    4. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา.
    ช่างเทคนิคติดตั้งระบบไฟฟ้าในอาคาร และโรงงานอุตสาหกรรม.
    นักออกแบบระบบไฟฟ้าในอาคาร และเครื่องจักรกลไฟฟ้า.
    นักวิเคราะห์ และซ่อมบำรุงอุปกรณ์ไฟฟ้าในงานอุตสาหกรรม.
    ช่างเทคนิคควบคุมระบบเครื่องจักรในงานอุตสาหกรรม.
    ช่างทดสอบอุปกรณ์ และเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า.

    ช่างไฟฟ้า ต้องเรียนจบอะไร

    สำหรับเส้นทางอาชีพช่างไฟฟ้าก็ถือว่าไม่ซับซ้อน โดยหลังจากเรียนจบระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แล้วเลือกเรียนต่อในระดับ ปวช. สาขาช่างไฟฟ้า ก็สามารถประกอบอาชีพไฟฟ้าได้แล้ว จากนั้นถ้าเรียนต่อในระดับ ปวส. สาขาช่างไฟฟ้า ก็สามารถหางานได้หลากหลายมากยิ่งขึ้น เช่น พนักงานตรวจซ่อมประจำโรงงาน, พนักงานการไฟฟ้าของรัฐวิสาหกิจ หรือ จะ ...

    จบไฟฟ้าทํางานอะไร

    ตำแหน่งงาน เช่น ช่างไฟฟ้า ช่างเขียนแบบ โฟร์แมน วิศวกรไฟฟ้า วิศวกรออกแบบ หรือ Design Engineer. - งานไฟฟ้ากลุ่มอุตสาหกรรมสินค้าอุปโภคและบริโภค เช่น ผลิตสินค้าอุปโภคและบริโภคต่างๆ ตำแหน่งงาน เช่น ช่างไฟฟ้าหรือช่างซ่อมบำรุง วิศวกรไฟฟ้าหรือวิศวกรซ่อมบำรุง

    เรียนช่างไฟฟ้ากี่ปีจบ

    จบ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปวส สาขาช่างไฟฟ้า เรียน ต่อ ปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ เรียน 3 ปีต่อเนื่อง หรือ เทียบโอน ขึ้นอยู่กับ วิชา ที่ เทียบโอน ได้ จาก โรงเรียน วิทยาลัย เดิม จบ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปวส สาขาช่างไฟฟ้า ต้องขยันเพิ่ม เพราะ พื้นฐาน สายสามัญ ไม่แน่น