ตัวแปรภาษาโปรแกรมมี 2 ประเภท ประกอบด้วยอะไรบ้าง

ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator)

Posted on July 31, 2013 by surangsh3638

  การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผู้เขียนโปรแกรมหรือที่เรียกว่าโปรแกรมเมอร์นั้น จะเลือกใช้ภาษาให้เหมาะสมกับลักษณะงานและความถนัด ของผู้เขียนโปรแกรม โปรแกรมที่เขียนขึ้นหรือที่เรียกว่าโปรแกรมต้นฉบับ จึงมีลักษณะโครงสร้างของภาษาที่แตกต่างกันออกไป ในการทำงานของคอมพิวเตอร์นั้น คอมพิวเตอร์จะไม่สามารถเข้าใจภาษาที่ใก้ลเคียงกับภาษามนุษย์ที่เรียกว่า ภาษาระดับสูง เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะรับข้อมูลที่เป็นสัญญาณไฟฟ้าซึ่งแทนด้วยเลขฐานสอง (0 หรือ 1) หรือที่เรียกว่า ภาษาเครื่อง เท่านั้น ดังนั้นในการสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน จึงจำเป็นจะต้องมีตัวกลางที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นนักแปลภาษา โปรแกรมที่นำมาใช้เรียกว่าโปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทำหน้าที่แปลภาษาระดับสูงที่เป็นโปรแกรมต้นฉบับ ให้อยู่ในรูปของโปรแกรมเรียกใช้งานที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจและสามารถทำงานได้ ตัวแปลภาษาสามารถแบ่งตามลักษณะการทำงานได้เป็น 3 ประเภท
     1. คอมไพเลอร์ (Compiler)
         เป็นตัวแปลภาษาระดับสูง เช่น ภาษาปาสคาล ภาษาโคบอลและภาษาฟอร์แทรกให้เป็นภาษาเครื่อง การทำงานจะใช้หลักการแปลโปรแกรมต้นฉบับ ทั้งโปรแกรมเรียกใช้งาน ซึ่งจะถูกบันทึกไว้ในลักษณะของแฟ้มข้อมูลหรือไฟล์ เมื่อต้องการเรียกใช้งานโปรแกรมก็สามารถเรียกจากไฟล์เรียกใช้งาน โดยไม่ต้องทำการแปลหรือคอมไพล์อีก ทำให้การทำงานเป็นไปอย่างรวดเร็ว ขณะที่คอมไพล์โปรแกรมต้นฉบับที่เขียนขึ้นด้วยภาษาระดับสูง คอมไพเลอร์จะตรวจสอบโครงสร้างไวยากรณ์ของคำสั่งและข้อมูลที่จะใช้ในการคำนวณ และเปรียบเทียบต่อจากนั้นคอมไพเลอร์จะสร้างรายการข้อผิดพลาดของโปรแกรม (Program listing) เพื่อใช้เก็บโปรแกรมต้นฉบับและคำสั่งที่เขียนไม่ถูกต้องตามกฏ หรือโครงสร้างของภาษานั้น ๆ ไฟล์นั้นมีประโยชน์ในการช่วยโปรแกรมเมอร์ในการแก้ไขโปรแกรม (debug)
     2. อินเตอร์พรีเตอร์ (interpreter)
         เป็นตัวแปลระดับสูงเช่นเดียวกับคอมไพเลอร์แต่จะแปลพร้อมกับทำงานตามคำสั่งทีละคำสั่งตลอดไปทั้งโปรแกรม ทำให้การแก้ไขโปรแกรมกระทำได้ง่าย และรวดเร็ว การแปลโดยใช้อินเตอร์พรีเตอร์จะไม่สร้างโปรแกรมเรียกใช้งาน ดังนั้นจะต้องทำการแลใหม่ทุกครั้งที่มีการเรียกใช้งาน ตัวอย่างภาษาที่ใช้ตัวแปลอินเตอร์พรีเตอร์ เช่น ภาษาเบสิก (BASIC)
     3. แอสเซมเบลอ (assembler) 
         เป็นตัวแปลภาษาแอสเซมบลี (assembly) ซึ่งเป็นภาษาระดับต่ำให้เป็นภาษาเครื่อง

ตัวแปรภาษาโปรแกรมมี 2 ประเภท ประกอบด้วยอะไรบ้าง

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

Like Loading...

Related

This entry was posted in Uncategorized by surangsh3638. Bookmark the permalink.

1. คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็นตัวแปลภาษาสำหรับภาษา C, C++, Pascal การทำงานก็คือจะตรวจสอบความผิดพลาดของโค้ดคำสั่งตั้งแต่ต้นจนจบก่อน หรือเรียกว่าการคอมไพล์ ถ้าไม่มีข้อผิดพลาดก็จะทำการแปลโค้ดคำสั่งของเราให้เป็นไฟล์นามสกุล .obj (object file) จากนั้นก็ทำการแปลไฟล์ .obj ให้เป็นไบนารีไฟล์ .exe เพื่อทำงานต่อไป

2. อินเตอร์พรีเตอร์ (Interperter) จะทำงานเป็นบรรทัดต่อบรรทัด คือ อ่านโค้ดคำสั่งมาบรรทัดหนึ่งแล้วก็ทำงานให้ผลออกมาเลย

                โปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming) การเขียนโปรแกรมในปัจจุบันได้ถูกจัดแบ่งออกเป็น โปรแกรมประเภทโครงสร้าง ซึ่งจะมีรูปแบบของคำสั่งแต่บะคำสั่งอย่างชัดเจน และจะต้องเขียนตามรูปแบบคำสั่งอย่างถูกต้อง ตามโครงสร้างภาษานั้นๆ ต่อมาได้พัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์ที่ทำให้สามารถเรียนรู้ได้รวดเร็ว ซึ่งเรียกว่า “การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ(Object Oriented Programming)” หรือ เรียกว่า “โอโอพี (OOP)”

โดยมี ……………………………………… เป็นประธานการประชุม …………………………………….. ผู้เข้าร่วมประชุม ……………………………………… ผู้เข้าร่วมประชุม เริ่มการประชุม เวลา 9.00 น.

ระเบียบวาระที่ 1. เรื่องการขอเปิดบัญชีธนาคาร ของบริษัท/ ห้างหุ้นส่วนจำกัด ประธาน ได้กล่าวแถลงต่อที่ประชุมว่า การที่เชิญประชุมครั้งนี้ก็เพื่อให้ที่ประชุม พิจารณาเรื่อง การขอเปิดบัญชีเงินฝาก ของบริษัท /ห้างหุ้นส่วนจำกัด เพื่อความสะดวกและคล่องตัวในการดำเนินกิจการของบริษัท / ห้างหุ้นส่วนจำกัด โดยประธานเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาการเปิด – บัญชีออมทรัพย์ กับ ธนาคารกสิกรไทย จก (มหาชน) สาขา …………………………………………………… ที่ประชุมได้พิจารณาแล้วลงมติเป็นเอกฉันท์ให้ บริษัท/ห้างหุ้นส่วนจำกัด ดำเนินการได้ตามที่ประธานเสนอ

ระเบียบวาระที่ 2. แต่งตั้งผู้กระทำการแทนบริษัท / ห้างหุ้นส่วนจำกัด โดยมีเงื่อนไขการลงนาม เบิก ถอน คือ ………………………………………………………………….. พร้อมประทับตราสำคัญของบริษัท/ห้างหุ้นส่วนจำกัด และ เป็นผู้กระทำการ ในธุรกรรมทุกอย่างกับธนาคาร ตามระเบียบวาระที่ 1 ที่ประชุมพิจารณาแล้วมีมติเป็นเอกฉันท์ตามที่มีผู้เสนอ

ระเบียบวาระที่ 3. เรื่องอื่น ๆ ไม่มี ปิดประชุม เวลา 10.00 น.

(ลงชื่อ) …………………………………………………………. ประธานการประชุม
(………………………………………………………….)
(ลงชื่อ) …………………………………………………………. ผู้เข้าร่วมประชุม
(………………………………………………………….)
(ลงชื่อ) …………………………………………………………. ผู้เข้าร่วมประชุม
(………………………………………………………….)

เอกสารประกอบ ?

เอกสารประกอบการเปิดบัญชีธนาคาร และรายละเอียดของแต่ละธนาคาร ?
หนังสือรับรอง (อายุไม่เกิน 1 เดือน) นำตัวจริงไปด้วย
ตรายางบริษัท
บัตรประชาชน + ทะเบียนบ้านของกรรมการ
บัตรประชาชน + ทะเบียนบ้าน ของหุ้นส่วน(ในกรณีที่หุ้นส่วนถือหุ้นเกิน 20 %)
รายงานการประชุมเปิดบัญชีธนาคาร
*** หากหุ้นส่วนถือหุ้นเกิน 20% ต้องนำผู้ถือหุ้นไปด้วย
*** เอกสารประกอบการเปิดบัญชีธนาคารและรายละเอียด เป็นไปตามเงื่อนไขของแต่ละธนาคาร

ตัวแปรภาษาโปรแกรมมี 2 ประเภท ประกอบด้วยอะไรบ้าง

รายงานการประชุมเปิดบัญชีธนาคารดาวน์โหลด

รายงานการประชุม

บริษัท / ห้างหุ้นส่วนจำกัด……………………………………….

ประชุมครั้งที่ 1 / 25xx

เมื่อวันที่ 1 มกราคม 25xx เวลา 9.00 – 10.00 น.

ประชุม ณ สำนักงานเลขที่ ……………………………………………………………………………..

มีผู้เป็นหุ้นส่วนมาเข้าร่วมประชุมดังนี้

1. ……………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………….

โดยมี ……………………………………… เป็นประธานการประชุม …………………………………….. ผู้เข้าร่วมประชุม ……………………………………… ผู้เข้าร่วมประชุม เริ่มการประชุม เวลา 9.00 น.

ระเบียบวาระที่ 1. เรื่องการขอเปิดบัญชีธนาคาร ของบริษัท/ ห้างหุ้นส่วนจำกัด ประธาน ได้กล่าวแถลงต่อที่ประชุมว่า การที่เชิญประชุมครั้งนี้ก็เพื่อให้ที่ประชุม พิจารณาเรื่อง การขอเปิดบัญชีเงินฝาก ของบริษัท /ห้างหุ้นส่วนจำกัด เพื่อความสะดวกและคล่องตัวในการดำเนินกิจการของบริษัท / ห้างหุ้นส่วนจำกัด โดยประธานเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาการเปิด – บัญชีออมทรัพย์ กับ ธนาคารกสิกรไทย จก (มหาชน) สาขา …………………………………………………… ที่ประชุมได้พิจารณาแล้วลงมติเป็นเอกฉันท์ให้ บริษัท/ห้างหุ้นส่วนจำกัด ดำเนินการได้ตามที่ประธานเสนอ

ระเบียบวาระที่ 2. แต่งตั้งผู้กระทำการแทนบริษัท / ห้างหุ้นส่วนจำกัด โดยมีเงื่อนไขการลงนาม เบิก ถอน คือ ………………………………………………………………….. พร้อมประทับตราสำคัญของบริษัท/ห้างหุ้นส่วนจำกัด และ เป็นผู้กระทำการ ในธุรกรรมทุกอย่างกับธนาคาร ตามระเบียบวาระที่ 1 ที่ประชุมพิจารณาแล้วมีมติเป็นเอกฉันท์ตามที่มีผู้เสนอ

ระเบียบวาระที่ 3. เรื่องอื่น ๆ ไม่มี ปิดประชุม เวลา 10.00 น.

(ลงชื่อ) …………………………………………………………. ประธานการประชุม

           (………………………………………………………….)

(ลงชื่อ) …………………………………………………………. ผู้เข้าร่วมประชุม

           (………………………………………………………….)

(ลงชื่อ) …………………………………………………………. ผู้เข้าร่วมประชุม

           (………………………………………………………….) 

ตัวแปรภาษาโปรแกรมมี 2 ประเภท ประกอบด้วยอะไรบ้าง

เอกสารประกอบการเปิดบัญชี

1. เวลาที่ประชุม ถ้าจะไปเปิดบัญชีในวันที่จดทะเบียนจัดตั้ง เวลาที่ประชุมต้อง หลังจากจดทะเบียนเสร็จ

2. จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม ควรจะเท่ากับจำนวนผู้ถือหุ้น

3. การแต่งตั้งผู้กระทำการแทนบริษัทฯ จะเป็นใครก็ได้ กี่คนก็ได้ แต่ตอนไปติดต่อกับธนาคาร ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคนต้องไปพร้อมกันที่ธนาคาร

ตัวแปลภาษาโปรแกรม มี 2 ประเภทคือข้อใด *

ตัวแปลภาษามี 2 ประเภท คือ คอมไพเลอร์ (Compiler) และอินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter)

ภาษาโปรแกรมมีกี่ประเภทอะไรบ้าง

ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งได้เป็น 3 ระดับ คือ ภาษาเครื่อง (Machine Language) ภาษาระดับต่ำ (Low Level Language) และภาษาระดับสูง (High Level Language)

ตัวแปรภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คืออะไร

ตัวแปรเป็นคำนิยามที่ใช้ได้กับหลายภาษา เช่น c#, c++, python , php เป็นต้น โดยหลักการทำงานของแต่ละภาษาก็คือตัวแปรมีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลโดยจะมีทั้งข้อมูลที่เป็นตัวเลขหรือตัวอักษรโดยที่ข้อมูลนั้นจะมีค่ามากกว่า 1 ข้อมูลก็ได้ขึ้นอยู่กับชนิดของตัวแปรและภาษาที่ใช้งานและส่วนของช่วงถัดไปของบทความจะเป็นการยกตัวอย่างการใช้ตัวแปร ...

ภาษาโปรแกรมมิ่ง มีอะไรบ้าง

10 ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาแรงในปี 2022.
Python. ... .
JavaScript. ... .
C/C++ ... .
Kotlin. ... .
Swift. ... .
MATLAB. ... .
Java. ... .
R Language..