วัดที่สร้างขนาบกรุงธนบุรีทั้ง 2 ข้างได้แก่วัดอะไรบ้าง

พระราชวังเดิม
วัดที่สร้างขนาบกรุงธนบุรีทั้ง 2 ข้างได้แก่วัดอะไรบ้าง

ท้องพระโรง พระราชวังเดิม

วัดที่สร้างขนาบกรุงธนบุรีทั้ง 2 ข้างได้แก่วัดอะไรบ้าง
ชื่อเดิมพระราชวังหลวง
ชื่ออื่นพระราชวังกรุงธนบุรี
ข้อมูลทั่วไป
สถานะเปลี่ยนสภาพ
ประเภทพระราชวัง
สถาปัตยกรรมไทย, อื่น ๆ
ที่ตั้งแขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่
เมือง
วัดที่สร้างขนาบกรุงธนบุรีทั้ง 2 ข้างได้แก่วัดอะไรบ้าง
 
กรุงเทพมหานคร
ประเทศ
วัดที่สร้างขนาบกรุงธนบุรีทั้ง 2 ข้างได้แก่วัดอะไรบ้าง
 
ไทย
เริ่มสร้างพ.ศ. 2310
เจ้าของกองทัพเรือไทย
เว็บไซต์
wangdermpalace.org
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของกองบัญชาการกองทัพเรือ

พระราชวังกรุงธนบุรี หรือ พระราชวังเดิม เป็นพระราชวังหลวงในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณปากคลองบางกอกใหญ่ ภายในกองบัญชาการกองทัพเรือ ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ในเขตที่เคยเป็นที่ตั้งของป้อมวิไชยเยนทร์ ที่สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ตำแหน่งของพระราชวังเดิมเป็นจุดสำคัญทางยุทธศาสตร์ สามารถสังเกตการณ์ได้ในระยะไกล อีกทั้งยังใกล้กับเส้นทางคมนาคม และเส้นทางการเดินทัพที่สำคัญ

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้ทรงโปรดให้สร้างพระราชวังนี้ขึ้นในปี พ.ศ. 2310 ภายหลังจากที่ทรงกอบกู้เอกราชให้ชาติไทย เพื่อใช้เป็นที่ประทับและว่าราชการ เมื่อทรงสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี พร้อมกับปรับปรุงป้อมวิไชยเยนทร์ และเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นป้อมวิไชยประสิทธิ์

เดิมพระราชวังแห่งนี้มีอาณาเขต ตั้งแต่ป้อมวิไชยประสิทธิ์ขึ้นมาจนถึงคลองเหนือวัดอรุณราชวราราม (คลองนครบาล) และวัดท้ายตลาด (วัดโมลีโลกยาราม) เข้าไปในเขตพระราชวังเดิม ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จขึ้นครองราชย์สมบัติ ได้ทรงย้ายราชธานีมาอยู่ฝั่งพระนคร โดยสร้างพระบรมมหาราชวังขึ้นเป็นที่ประทับ พระราชวังกรุงธนบุรีจึงได้ชื่อว่า "พระราชวังเดิม" ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา[1]

พระราชวังเดิมในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์[แก้]

ครั้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ทรงกำหนดเขตวังให้แคบกว่าเดิม โดยให้วัดทั้งสองที่กล่าวแล้วคือ วัดอรุณราชวราราม (วัดแจ้ง) และวัดโมลีโลกยาราม (วัดท้ายตลาด) อยู่ภายนอกพระราชวัง และ นอกจากนี้ทรงแต่งตั้งพระราชวงศ์ชั้นสูงที่ได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยมาประทับที่นี่ อันเนื่องจากเห็นว่าพระราชวังนี้มีความสำคัญทางด้านทำเลที่ตั้ง ได้แก่ [2]

  • สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงธิเบศรบดินทร์ พระโอรสในกรมพระเทพสุดาวดี ประทับอยู่จนสิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2328
  • พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) ประทับอยู่ขณะทรงพระอิสริยยศเป็น (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าฉิม กรมหลวงอิศรสุนทร) วังหน้าในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) จนกระทั่งเสด็จขึ้นครองราชย์สมบัติในปี พ.ศ. 2352
  • สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรี พระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ ประทับอยู่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) จนสิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2365
  • พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) ประทับอยู่ขณะทรงพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามงกุฎในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) จนกระทั่งผนวชเมื่อ พ.ศ. 2368
  • พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ประทับอยู่ขณะทรงพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฑามณี ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) จนกระทั่งทรงพิธีบวรราชาภิเษก และเสด็จไปประทับที่วังหน้าใน พ.ศ. 2394 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4)
  • กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ประทับอยู่ตั้งแต่ทรงพระประสูติ กระทั่งเสด็จไปประทับที่วังใหม่ที่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างพระราชทาน
  • พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท ประทับอยู่ตั้งแต่ พ.ศ. 2394 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) จนสิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2414
  • สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ ประทับอยู่ขณะทรงพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ตั้งแต่ พ.ศ. 2424 จนสิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2443

มาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) หลังจากสมเด็จพระบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ สิ้นพระชนม์ ได้พระราชทานพระราชวังเดิมให้เป็นที่ตั้งของโรงเรียนนายเรือ ตามคำกราบบังคมทูลขอพระราชทานจากนายพลเรือตรี พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ เมื่อ พ.ศ. 2449 หลังจากโรงเรียนนายเรือย้ายออกไปอยู่สัตหีบ และย้ายมาอยู่ที่สมุทรปราการ กองทัพเรือจึงได้ใช้ พระราชวังเดิมแห่งนี้เป็นที่ตั้งกองบัญชาการกองทัพเรือ[3]

สถานที่สำคัญบริเวณพระราชวังกรุงธนบุรี[แก้]

วัดที่สร้างขนาบกรุงธนบุรีทั้ง 2 ข้างได้แก่วัดอะไรบ้าง

ตำหนักเก๋งสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ตำหนักที่ประทับของพระบรมวงศานุวงค์ชั้นสูงที่มีรูปแบบสถาปัตยกรรมเป็นแบบตะวันตกหลังแรกๆ ที่สร้างขึ้นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์[4]

  • อาคารท้องพระโรง
  • อาคารตำหนักเก๋งคู่หลังใหญ่
  • อาคารเก๋งคู่หลังเล็ก
  • อาคารตำหนักเก๋งสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว
  • ป้อมวิไชยประสิทธิ์
  • อาคารเรือนเขียว
  • ศาลศีรษะปลาวาฬ

ศาลพระเจ้าตากสิน พระราชวังเดิม[แก้]

พระบรมรูปขนาดเท่าพระองค์จริงภายในศาล

ศาลพระเจ้าตากสินในพระราชวังเดิม มีมาตั้งแต่สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี สมัยแรกเป็นแต่เพียงศาลพระภูมิสมัยรัชกาลที่ 4 ได้มีการสร้างบูรณะพระราชวังเดิมของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี สมัยรัชกาลที่ 5 เรียกว่า "ศาลพระเจ้าตาก" ภายในศาลพระเจ้าตาก ประดิษฐานเป็นพระบรมรูปสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ลักษณะประทับยืนทรงพระแสดงดาบ ขนาดเท่าองค์จริง พระบรมรูปประทับนั่งขนาดสูงประมาณ 1 ฟุต 1 องค์ และเทวรูปจีนแกะสลักด้วยไม้ปิดทองอีก 1 องค์ มีปืนโบราณพร้อมฐาน 2 กระบอกประดับเชิงบันไดชั้นล่าง

อ้างอิง[แก้]

  1. พระราชวังเดิม
  2. อรวรรณ ทรัพย์พลอย. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนิท ปราชญ์ผู้เป็นกำลังของแผ่นดิน. กรุงเทพมหานคร : สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2552. 352 หน้า. ISBN 978-974-341-578-4
  3. ข่าวกองทัพเรือ ประจำวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
  4. โบราณสถานในพระราชวังเดิม, เว็บไซด์:wangdermpalace.org/ .สืบค้นเมื่อ 19/12/2561

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

วัดที่สร้างขนาบกรุงธนบุรีทั้ง 2 ข้างได้แก่วัดอะไรบ้าง
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ:
พระราชวังเดิม
  • พระราชวังเดิม Archived 2008-07-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากเว็บไซต์ มูลนิธิอนุรักษ์โบราณสถานในพระราชวังเดิม
  • แผนที่และภาพถ่ายทางอากาศของ พระราชวังเดิม
    • ภาพถ่ายดาวเทียมจากวิกิแมเปีย หรือกูเกิลแมปส์
    • แผนที่จากลองดูแมป หรือเฮียวีโก
    • ภาพถ่ายทางอากาศจากเทอร์ราเซิร์ฟเวอร์

พิกัดภูมิศาสตร์: 13°44′33″N 100°29′23″E / 13.74254°N 100.489749°E

วัดที่สร้างขนาบกรุงธนบุรีทั้ง 2 ข้างได้แก่วัดอะไรบ้าง
รายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย

พระราชวัง

พระบรมมหาราชวัง • พระราชวังกรุงธนบุรี • พระราชวังจันทน์ • พระราชวังจันทรเกษม • พระราชวังดุสิต • พระราชวังท้ายพิกุล • พระราชวังนันทอุทยาน • พระนารายณ์ราชนิเวศน์ • พระราชวังบนเขาสัตนาถ • พระราชวังบวรสถานพิมุข • พระราชวังบวรสถานมงคล • พระราชวังบางปะอิน • พระราชวังโบราณ อยุธยา • พระราชวังปฐมนคร • พระราชวังปทุมวัน • พระราชวังพญาไท • พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน • พระราชวังเมืองสมุทรปราการ • พระราชวังรัตนรังสรรค์ • พระรามราชนิเวศน์ • พระราชวังริมน้ำเมืองราชบุรี • พระราชวังสนามจันทร์ • พระราชวังสราญรมย์ • พระราชวังสวนหลวง • พระบวรราชวังสีทา

วัง

วังไกลกังวล • วังเกษมสันต์ • วังขาว • วังเขียว • วังคลังสินค้า • วังคลองตลาด • วังคลองเตย • วังคันธวาส • วังจักรพงษ์ • วังจันทรเกษม • วังชิดลม • วังไชยา • วังดินสอ • วังตรอกสาเก • วังตลาดน้อย • วังถนนพระอาทิตย์ • วังทวีวัฒนา • วังท่าพระ • วังท่าพายัพ • วังท้ายหับเผย • วังเทวะเวสม์ • วังเทเวศร์ • วังนฤมล • วังนางเลิ้ง • วังบางขุนพรหม • วังบางคอแหลม • วังบางพลู • วังบ้านดอกไม้ • วังบ้านปูน • วังบ้านหม้อ • วังบูรพาภิรมย์ • วังประมวญ • วังปากคลองตลาด • วังปารุสกวัน • พระกรุณานิเวศน์ • วังพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ • วังพระอาทิตย์ • วังเพชรบุรี • วังเพ็ชรบูรณ์ • วังโพธิยายรด • วังมหานาค • บ้านมะลิวัลย์ • วังมังคละ • วังไม้ • วังรพีพัฒน์ • วังรังสิต • วังรัตนาภา • วังราชทัต • วังริมคลองภาษีเจริญ • วังริมป้อมพระสุเมรุ • วังรื่นฤดี • วังลดาวัลย์ • วังละโว้ • วังลักษมีวิลาศ • วังวรจักร • วังวรดิศ • วังวรวรรณ • วังวัชรีวงศ์ • วังวาริชเวสม์ • วังวิทยุ • วังวินด์เซอร์ • วังศุโขทัย • วังสงัด • วังสรรพสาตรศุภกิจ • วังสระปทุม • วังสะพานขาว • วังสะพานช้างโรงสี • วังสะพานเสี้ยว • วังสามเสน • วังสามยอด • วังสวนบ้านแก้ว • วังสวนปาริจฉัตก์ • วังสวนผักกาด • วังสวนมังคุด • วังสวนสุนันทา

พระตำหนัก

พระตำหนักกว๊านพะเยา • พระตำหนักกองบิน 41 • พระตำหนักเกาะสีชัง • พระตำหนักเขาค้อ • พระตำหนักเขาน้อย • พระตำหนักเขียว • พระตำหนักประทับแรมเขื่อนห้วยเสนง • พระตำหนักเขื่อนห้วยหลวง • พระตำหนักคลองหอยโข่ง • พระตำหนักคำหยาด • พระตำหนักจักรีบงกช • พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน • พระตำหนักดอยตุง • พระตำหนักดาราภิรมย์ • พระตำหนักในพระราชวังดุสิต • ตำหนักตะพานเกลือ • ตำหนักทอง • พระตำหนักทะเลน้อย • พระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ • ตำหนักทิพย์ • พระตำหนักทิพย์พิมาน • พระตำหนักทุ่งกระมัง • เรือนทูลกระหม่อมมหิดลประทาน • พระตำหนักธงน้อย • พระตำหนักธารเกษม • พระตำหนักนนทบุรี • ตำหนักประถม-นนทบุรี • พระตำหนักประทับแรมอำเภอปากพนัง • พระตำหนักปางตอง • พระตำหนักพัชราลัย • พระตำหนักพิมานมาศ • พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ • พระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ • พระตำหนักภูพิมาน • พระตำหนักภูฟ้า • พระตำหนักภูหลวง • พระตำหนักมหาราช-พระตำหนักราชินี • พระตำหนักม่อนจ๊อกป๊อก • พระตำหนักเมืองนคร • พระตำหนักระยอง • พระตำหนักริมน้ำน่าน • พระตำหนักริมผา • พระตำหนักเลอดิส • พระตำหนักเวียงเหล็ก • พระตำหนักสวนรื่นฤดี • พระตำหนักสระยอ • พระตำหนัก 3 จั่ว • พระตำหนักสิริยาลัย • พระตำหนักสุขทาลัย • พระตำหนักหนองประจักษ์ • พระตำหนักหาดเจ้าสำราญ • พระตำหนักอรอาสน์ • พระตำหนักอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ • พระตำหนักไอยรา • พระตำหนักเอื้องเงิน

เรือนรับรอง

เรือนรับรองที่ประทับกองบิน 23 • เรือนรับรองที่ประทับเขื่อนจุฬาภรณ์ • เรือนรับรองที่ประทับเขื่อนบางลาง • เรือนรับรองที่ประทับเขื่อนภูมิพล • เรือนรับรองที่ประทับเขื่อนรัชชประภา • เรือนรับรองที่ประทับเขื่อนวชิราลงกรณ์ • เรือนรับรองที่ประทับเขื่อนศรีนครินทร์ • เรือนรับรองที่ประทับเขื่อนสิริกิติ์ • เรือนรับรองที่ประทับเขื่อนสิรินธร • เรือนรับรองที่ประทับเขื่อนอุบลรัตน์ • เรือนรับรองที่ประทับค่ายกาวิละ • อาคารที่ประทับรับรองบ่อน้ำมันฝาง • เรือนประทับรับรอง (บ้านขุนดง/บ้านขุนไพร/บ้านสิมิลัน) • เรือนที่ประทับโป่งแดง • เรือนพลับพลาเขาดอกไม้ • เรือนรับรองที่ประทับภูฝอยลม • เรือนรับรองที่ประทับภูเรือ • เรือนรับรองที่ประทับสำนักชลประทานที่ 1 • เรือนรับรองที่ประทับสำนักชลประทานที่ 6 • เรือนรับรองเหมืองผาแดง • เรือนรับรองที่ประทับแหลมหางนาค • เรือนที่ประทับอ่าวดงตาล

พลับพลาที่ประทับ

พลับพลาที่ประทับรัชกาลที่ 7 • พลับพลาที่ประทับทรงงานที่อุทยานแห่งชาติภูผายล • พลับพลาที่ประทับและศาลาเฉลิมพระเกียรติแหลมผักเบี้ย

สถานที่อื่น

พระจุฑาธุชราชฐาน • อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี

พิพิธภัณฑ์ในกรุงเทพมหานคร

หอศิลป /
การแสดง

  • หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
  • หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ศิลป์ พีระศรี อนุสรณ์
  • พิพิธภัณฑ์บ้านจิตรกร กวี อังคาร กัลยาณพงศ์
  • พิพิธภัณฑ์พุทธศิลปะ
  • ศูนย์ประติมากรรมกรุงเทพฯ
  • หอศิลป์จามจุรี
  • พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป
  • หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร
  • หอศิลป์กรุงไทย
  • พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย
  • เรือนบรรเลง
  • พิพิธภัณฑ์กามาวิจิตรา
  • พิพิธภัณฑ์ภาพจิตรกรรม 3 มิติ กรุงเทพฯ
  • บ้านเขียวอันยุมัน

วัดที่สร้างขนาบกรุงธนบุรีทั้ง 2 ข้างได้แก่วัดอะไรบ้าง

ผ้า

  • พิพิธภัณฑ์ผ้า ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
  • พิพิธภัณฑ์จักรเย็บผ้า
  • พิพิธภัณฑ์สิ่งทอพื้นเมือง
  • สำนักพิพิธภัณฑ์และวัฒนธรรมการเกษตร
  • สปัน แกลเลอรี่ (ศูนย์สปันอารยวัฒนศิลป์)
  • พิพิธภัณฑ์ผ้าสะสม ติลลิกี แอนด์ กิบบินส์
  • พิพิธภัณฑ์มหาราชานุสรณ์ ร.4
  • บริการสารนิเทศเฉพาะสาขา ชนเผ่าไท-กะได

ประวัติศาสตร์ /
โบราณคดี /
บุคคล

  • พิพิธภัณฑ์กรมที่ดิน
  • พิพิธภัณฑ์การศึกษาไทย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
  • พิพิธภัณฑ์และห้องปฏิบัติการเรื่องราวก่อนประวัติศาสตร์ สุด แสงวิเชียร
  • หอประวัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • พิพิธภัณฑ์หนังสือพิมพ์ไทย
  • พิพิธภัณฑ์โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย
  • พิพิธภัณฑ์และจดหมายเหตุรัฐสภา
  • พิพิธภัณฑ์แรงงานไทย
  • พิพิธภัณฑ์การกระจายเสียงและหอจดหมายเหตุ
  • หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • พิพิธภัณฑ์การฝึกหัดครูไทย
  • หอเกียรติภูมิรถไฟ
  • พิพิธภัณฑ์เครื่องเล่นกระบอกเสียงและหีบเสียงไทย
  • ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศรีปทุม
  • หอไทยนิทัศน์
  • หอประวัติและพิพิธภัณฑ์ ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์
  • หอประวัติมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  • พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
  • หอประวัติศาสตร์เกียรติยศแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ 14 ตุลา
  • หอประวัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • พิพิธภัณฑ์ธงชาติไทย
  • มิวเซียมสยาม
  • พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
  • พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ช้างต้น
  • หอเกียรติภูมินายกรัฐมนตรี
  • พิพิธภัณฑ์เฉลิมพระนคร
  • หอประวัติกรมวิชาการเกษตร
  • พิพิธภัณฑ์ประวัติการพยาบาลไทย
  • ศูนย์ประวัติศาสตร์เยาวราช
  • นิทรรศน์รัตนโกสินทร์
  • พิพิธบางลำพู
  • พิพิธภัณฑ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ศูนย์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเกริก
  • นิทรรศการถาวรเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย และวิวัฒนาการคณะรัฐมนตรี
  • พิพิธภัณฑ์และห้องสมุด บ้านจิรายุ-พูนทรัพย์
  • ห้องอนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์
  • พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
  • อุทยานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
  • หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ
  • พิพิธภัณฑ์เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
  • หอรัชมงคล สวนหลวง ร.9
  • หอประวัติกรมวิชาการเกษตร
  • พิพิธภัณฑ์สตางค์ มงคลสุข
  • ห้องแห่งแรงบันดาลใจ ปรีดี พนมยงค์
  • พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งพระเกจิอาจารย์ วัดกระทุ่มเสือปลา
  • พิพิธภัณฑ์เพื่อการศึกษาโรงเรียนเทพศิรินทร์
  • สถาบันคึกฤทธิ์
  • เรือนบรรเลง
  • หอประวัติหลวงสำรวจพฤกษาลัย (นายสมบูรณ์ ณ ถลาง)
  • ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • พิพิธภัณฑ์กรุงเทพประกันภัย

การแพทย์ /
สาธารณสุข

  • พิพิธภัณฑ์ห้างขายยาเบอร์ลิน
  • พิพิธภัณฑ์การแพทย์ศิริราช
    • พิพิธภัณฑ์พยาธิวิทยาเอลลิส
    • พิพิธภัณฑ์กายวิภาค-คองดอน
    • พิพิธภัณฑ์ปรสิตวิทยา
    • พิพิธภัณฑ์นิติเวชศาสตร์สงกรานต์ นิยมเสน
  • พิพิธภัณฑ์สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
  • พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์การแพทย์ไทย อวย เกตุสิงห์
  • พิพิธภัณฑ์การแพทย์ทหารบก
  • พิพิธภัณฑ์สมุนไพร
  • พิพิธภัณฑ์เภสัชกรรมไทย
  • พิพิธภัณฑ์กายวิภาคศาสตร์ทางสัตวแพทย์
  • พิพิธภัณฑ์พยาธิวิทยา
  • พิพิธภัณฑ์วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก
  • พิพิธภัณฑ์กุมารศัลยศาสตร์
  • พิพิธภัณฑสถานวาจวิทยาวัฑฒน์
  • พิพิธภัณฑ์สภากาชาดไทย
  • พิพิธภัณฑ์ประวัติการพยาบาลไทย
  • พิพิธภัณฑ์ร่างกายมนุษย์
  • พิพิธภัณฑ์ศิริราชพิมุขสถาน
  • หอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์รามาธิบดี
  • พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้การประปาไทย
  • พิพิธภัณฑ์สัมผัส
  • สิรินธรทันตพิพิธ
  • ศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ

กฎหมาย /
ราชทัณฑ์

  • พิพิธภัณฑ์ตำรวจ วังปารุสกวัน
  • พิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์
  • พิพิธภัณฑ์อัยการไทย
  • พิพิธภัณฑ์ศาลไทย
  • พิพิธภัณฑ์ศาลปกครอง
  • พิพิธภัณฑ์ต้านโกง

วิทยาศาสตร์ /
ธรรมชาติวิทยา

  • หอประวัติอุทกศาสตร์ไทย
  • พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพ
  • ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (ท้องฟ้าจำลอง)
  • พิพิธภัณฑ์ภายในโรงเรียนเซนต์คาเบรียล
  • พิพิธภัณฑ์ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี
  • พิพิธภัณฑ์สมุนไพร
  • พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • พิพิธภัณฑ์อัญมณีและเครื่องประดับ
  • พิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง Bio-Geo Path
  • พิพิธภัณฑ์ไลเคน
  • พิพิธภัณฑ์กายวิภาคศาสตร์ทางสัตวแพทย์
  • พิพิธภัณฑ์มด
  • พิพิธภัณฑ์สัตววิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาประมง
  • สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำจืดกรุงเทพมหานคร
  • พิพิธภัณฑ์พืชสิรินธร
  • อุทยานผีเสื้อและแมลง กรุงเทพฯ
  • พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา กรุงรัตนโกสินทร์
  • พิพิธภัณฑ์เปลือกหอย กรุงเทพฯ
  • พิพิธภัณฑ์ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
  • พิพิธภัณฑ์และอุทยานแมลง 60 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้อุตุนิยมวิทยา

การเงิน /
ธนาคาร

  • พิพิธภัณฑ์กรมสรรพากร
  • พิพิธภัณฑ์ธนาคารกสิกรไทย
  • พิพิธภัณฑ์ธนาคารไทย
  • พิพิธภัณฑ์ธนาคารออมสิน
  • ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์
  • พิพิธภัณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย
  • พิพิธภัณฑ์เหรียญกษาปณานุรักษ์
  • ศูนย์การเรียนรู้ธนาคารแห่งประเทศไทย
  • พิพิธภัณฑ์ทองคำห้างทองตั้งโต๊ะกัง

การสื่อสาร /
ไปรษณีย์

  • พิพิธภัณฑ์ตราไปรษณียากร
  • ไปรษณียาคาร
  • พิพิธภัณฑ์สื่อสาธารณะ

งานอนุรักษ์
สถาปัตยกรรม /
อาคารประวัติศาสตร์

  • พิพิธภัณฑ์พระที่นั่งวิมานเมฆและพิพิธภัณฑ์ในพระราชวังสวนดุสิต
  • พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนิน
  • พิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด
  • พิพิธภัณฑ์บ้านจิม ทอมป์สัน
  • พิพิธภัณฑ์ปราสาท
  • พิพิธภัณฑ์บ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • ตึกถาวรวัตถุ
  • พิพิธภัณฑ์สักทอง
  • เรือนไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • พิพิธภัณฑ์บ้านคุณหลวงฤทธิ์ณรงค์รอน
  • พิพิธภัณฑ์เรือนคำเที่ยง
  • บ้านเขียวอันยุมัน
  • บ้านอาจารย์ฝรั่ง
  • พระราชวังเดิม
  • พิพิธภัณฑ์สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
  • พิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก
  • บ้านเก่าเล่าเรื่อง ชุมชนเมืองเจริญไชย
  • บ้านซอยสวนพลู
  • พิพิธภัณฑ์วังวรดิศ
  • พิพิธภัณฑ์สุนทรภู่
  • พิพิธภัณฑ์สุริยานุวัตรเพื่อการพัฒนาประเทศ
  • พิพิธภัณฑ์สมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า
  • พิพิธภัณฑ์บ้านนักเขียน ส.บุญเสนอ
  • บ้านปาร์คนายเลิศ
  • บ้านศรีบูรพา
  • พิพิธภัณฑ์อาคารที่ประทับประชาธิปกศักดิเดชน์

การทหาร /
สงคราม

  • พิพิธภัณฑ์กองทัพบกเฉลิมพระเกียรติ
  • พิพิธภัณฑ์กรมการขนส่งทหารบก
  • พิพิธภัณฑ์กรมการทหารสื่อสาร
  • พิพิธภัณฑ์กรมสารวัตรทหารบก
  • พิพิธภัณฑ์กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก
  • พิพิธภัณฑ์หน่วยบัญชาการป้องกันภัยทางอากาศ
  • พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศและการบินแห่งชาติ
  • พิพิธภัณฑ์นักศึกษาวิชาทหาร
  • พิพิธภัณฑ์ทหารสรรพาวุธ กรมสรรพาวุธทหารบก
  • พิพิธภัณฑ์เสรีไทยอนุสรณ์
  • พิพิธภัณฑ์ศาลาว่าการกลาโหม
  • พิพิธภัณฑ์ภักดีภูธร กรมแผนที่ทหาร
  • พิพิธภัณฑ์บ้านขุนศึก
  • พิพิธภัณฑ์อู่เรือหลวงเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา

ศาสนา

  • พิพิธภัณฑ์วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
  • พิพิธภัณฑ์เฉลิมพระเกียรติ หกรอบ ร.9 วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
  • พิพิธภัณฑ์พระ ประยูรภัณฑาคาร
  • พิพิธภัณฑ์พระ กำนันชูชาติ
  • อาคารพิพิธภัณฑ์ ภปร. วัดบวรนิเวศวิหาร
  • พิพิธภัณฑ์พระพุทธรูป 80 ปาง วัดกระทุ่มเสือปลา
  • พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ วัดเบญจมบพิตร
  • พิพิธภัณฑ์พระพุทธศาสนา
  • พิพิธภัณฑ์พุทธธรรม พระบรมสารีริกธาตุ
  • พิพิธภัณฑ์พระบรมธาตุ
  • ศูนย์วัฒนธรรมอิสลามแห่งประเทศไทย

วิถีชีวิต

  • ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมมอญ บางกระดี่
  • พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานครในแต่ละเขตของกรุงเทพฯ
  • พิพิธภัณฑ์ภูมิปัญญาพื้นบ้าน โรงเรียนคลองพิทยาลงกรณ์
  • พิพิธภัณฑ์เรือไทย โรงเรียนมีนประสาทวิทยา
  • พิพิธภัณฑ์ตลาดน้ำคลองลัดมะยม
  • ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
  • พิพิธภัณฑ์เพื่อการศึกษา วัดหนังราชวรวิหาร
  • พิพิธภัณฑ์แสดงว่าวไทย
  • บ้านพิพิธภัณฑ์
  • พิพิธภัณฑ์เพลงลูกทุ่ง
  • หอไทยนิทัศน์
  • พิพิธภัณฑ์เรือจิ๋วและอู่เรือจิ๋ว
  • พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นชุมชนตรอกข้าวเม่า
  • บ้านหัตถกรรม ศิลป์สร้างสุข
  • บ้านหมอหวาน

อื่น ๆ

  • พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี
  • พิพิธภัณฑ์สุนทร
  • พิพิธภัณฑ์นาฬิกาโบราณ
  • พิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานคร
  • พิพิธภัณฑ์กีฬาแห่งชาติ
  • พิพิธภัณฑ์สินค้าปลอมและเลียนแบบติลลีกี แอนด์กิบบินส์
  • บ้านตุ๊กตาบางกอกดอลล์
  • พิพิธภัณฑ์ วีอาร์ คิงเพา​เวอร์ คอม​เพล็กซ์
  • อุทยานแมวไทยโบราณ
  • พิพิธภัณฑ์ 98
  • พิพิธภัณฑ์เด็กเกียกกาย
  • พิพิธภัณฑ์ของจิ๋วสัญจร
  • แบทแคทมิวเซียม แอนด์ ทอยส์ไทยแลนด์
  • พิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมดอกไม้
  • พิพิธภัณฑ์สถาบันนิด้า
  • พิพิธภัณฑ์สโมสร เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด
  • พิพิธภัณฑ์บ้านบุญบวงสรวง
  • ศูนย์การเรียนรู้รุ่งอรุณของเล่นพื้นบ้าน
  • ศูนย์วัฒนธรรมอาเซียน
  • พิพิธภัณฑ์สุขสะสม
  • พิพิธภัณฑ์กรมทางหลวง
  • พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้การประปาไทย
  • พิพิธภัณฑ์สัมผัส

รายชื่อพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
ข้อมูลโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

เขตบางกอกใหญ่

แขวง

  • วัดท่าพระ
  • วัดอรุณ

วัดที่สร้างขนาบกรุงธนบุรีทั้ง 2 ข้างได้แก่วัดอะไรบ้าง

ประวัติศาสตร์

  • อาณาจักรธนบุรี
  • อำเภอหงสาราม จังหวัดธนบุรี
  • อำเภอบางกอกใหญ่ จังหวัดธนบุรี
  • กิ่งอำเภอบางกอกใหญ่ อำเภอบางยี่ขัน จังหวัดธนบุรี
  • เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร

ภูมิศาสตร์

  • แม่น้ำเจ้าพระยา
  • คลองบางกอกใหญ่
  • คลองบางหลวง
  • คลองมอญ

เศรษฐกิจ
คมนาคม

  • ถนน
    • พาณิชยการธนบุรี
    • จรัญสนิทวงศ์
    • เพชรเกษม
    • รัชดาภิเษก
    • วังเดิม
    • อรุณอมรินทร์
    • อิสรภาพ
  • รายชื่อทางแยก
    • ท่าพระ
    • พาณิชยการธนบุรี
  • รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล
    • ท่าพระ
    • จรัญฯ 13
    • อิสรภาพ
  • เรือด่วนเจ้าพระยา

สังคม
การศึกษา

  • วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม
  • วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี
  • โรงเรียนทวีธาภิเศก
  • โรงเรียนฤทธิณรงค์รอน
  • โรงเรียนวิบูลย์เสรีวิทยา
  • โรงเรียนสายประสิทธิ์วิทยา
  • รายชื่อสถานศึกษา

วัฒนธรรม

  • พระราชวังเดิม
  • วัดเครือวัลย์วรวิหาร
  • วัดไชยฉิมพลี
  • วัดท่าพระ
  • วัดนาคกลาง
  • วัดประดู่ฉิมพลี
  • วัดโมลีโลกยาราม
  • วัดราชสิทธาราม
  • วัดสังข์กระจาย
  • วัดหงส์รัตนาราม
  • วัดใหม่พิเรนทร์
  • วัดอรุณราชวราราม
  • มัสยิดต้นสน

การทหาร

  • กองบัญชาการกองทัพเรือ
  • หอประชุมกองทัพเรือ

วัดที่สร้างขนาบกรุงธนบุรีทั้ง 2 ข้างได้แก่วัดอะไรบ้าง
หมวดหมู่

วัดที่สร้างขนาบกรุงธนบุรีทั้ง 2 ข้างได้แก่วัดอะไรบ้าง
บทความเกี่ยวกับอาคาร หรือ สถานที่สำคัญนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล

กรุงรัตนโกสินทร์มีความเหมาะสมในการเป็นราชธานีของไทยอย่างไรบ้าง

เนื่องจากกรุงรัตนโกสินทร์ตั้งอยู่บริเวณตอนล่างของแม่น้ำเจ้าพระยาและติดกับอ่าวไทย ช่วยให้การค้าและการคมนาคมกับชาวต่างชาติสะดวกมากขึ้น และนำความมั่งคั่งมาสู่กรุงรัตนโกสินทร์ได้ ประกอบกับความเจริญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีการเดินเรือของชาติอื่น ๆ กรุงรัตนโกสินทร์จึงพลอยได้อานิสงส์ความเจริญนี้ด้วย

วัดที่ขนาบข้างกรุงธนบุรีทำให้ขยายเมืองไม่ได้คือข้อใด

3. บริเวณพระราชวังเดิมของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช คับแคบ มีวัดขนาบทั้งสองข้าง คือ วัดแจ้ง (วัดอรุณราชวราราม) กับวัดท้ายตลาด (วัดโมฬีโลกยาราม) ท าให้ยากแก่การขยายพระราชวังให้กว้างออกไป

ราชธานีใหม่ได้สร้างวัดอะไร

ราชธานีใหม่เริ่มสร้าง ในปี พ.ศ.2326-2329 ใช้เววลาสร้างนานถึง 3 ปี มีกำแพงเมืองและคูคลอง รวมถึงป้อมปราการที่มั่นคง และพระมหาราชวัง พระองค์ทรงพยายามจัดผังเมือง ให้มีความคล้ายคลึงกับกรุงศรีอยุธยามากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดหลักของพระนคร คือ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง นอกจากนี้ ยังมีวัด ...

ลักษณะของราชธานีใหม่ในสมัยรัตนโกสินทร์แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่อะไรบ้าง

ส่วนที่เป็นบริเวณพระบรมมหาราชวัง วังหน้า วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) ทุ่งพระเมรุ และสถาน ... .
ส่วนที่เป็นบริเวณที่อยู่อาศัยภายในกำแพงเมือง เริ่มตั้งแต่คูเมืองเดิมไปทาง ทิศตะวันออก จนจดคูเมืองที่ ... .
ส่วนที่เป็นบริเวณที่อยู่อาศัยนอกกำแพงเมือง มีบ้านเรือนตั้งอยู่ริมคลองรอบกรุง เป็นหย่อม ๆ กระจายกันออก.

กรุงรัตนโกสินทร์มีความเหมาะสมในการเป็นราชธานีของไทยอย่างไรบ้าง วัดที่ขนาบข้างกรุงธนบุรีทำให้ขยายเมืองไม่ได้คือข้อใด ราชธานีใหม่ได้สร้างวัดอะไร ลักษณะของราชธานีใหม่ในสมัยรัตนโกสินทร์แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่อะไรบ้าง ข้อดีของการย้ายราชธานีจากกรุงธนบุรีมาเป็นกรุงรัตนโกสินทร์ มีอะไรบ้าง ก่อนที่จะสร้างกรุงเทพมหานคร ได้มีการอพยพชาวจีนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่เดิมไปยังบริเวณที่ใด การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ ม.3 สรุป ราชธานีใหม่มีชื่อเรียกว่าอะไร ใบงานที่1.1เรื่อง การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เพราะเหตุใดรัชกาลที่ 1 จึงทรงเลือกทำเลบริเวณฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นที่ตั้งราชธานีแห่งใหม่