พันธมิตรของไทยมีประเทศอะไรบ้าง

     ����ú! ����-���-��� ��;ѹ��Եâͧ���
�����Ѱ ��Ѻ�ѹ��� 14-15 ����Ҿѹ�� ˹�� 16

��.���� ��⪤��� *
Facebook.com/pornchokchai

          ����Ҷ֧�ѹ��������ҧ�� ����¹�ѹ�֡���ŧ facebook ���������ѹ��� 8 �ԧ�Ҥ� �շ������ ���ѹ���ʶҹ��ó�Ѳ���Ҩ��֧��� (���) ʧ�������� Ό � �����Ѱ�ͧ��ҹ�ٹФ�Ѻ
          ����繤��ºҧ�������ҡ����ºء����»���ҷ�Ҿ����������ú�Ѻ������ᵡ�ѡ���� ��������ǡ��Ŵ� ���й�蹤�ͤ����ԺѵԷ����Դ��鹡Ѻ����������й�Ӽ���´�������� ��Ш�������仨�������¡��������ѡ���仺ء�ִ���ǵ ��ѧ�ҡ����µ͹����٨Ф����������˹����о�������������!
          �����Ѵ��������ҧ�������ԧ����ѵ���ʵ�����ҹҹ���� ���ഹ�Ѻ�������� �ѧ��ɡѺ������� �õ��ʡѺ�໹ ������͹�¡Ѻ���� ��� �������������ѹ���ҧ�ѹ������Ѻ���������ª����ѹ��Сѹ����鹰ҹ�ͧ�ǤԴ Win - Win �����ҧ��ҹ�ѹ��
          ���ͧ�����������֡˹Һҧ����ǡѺ��������ѹ�������ҧ������ҡ�ѡ��͡��Ѻ ����ʴ������Դ���㹰ҹз���令�ء��աѺ���������ҹ���Һ�ҧ㹰ҹм������Ǫҭ��ҹ��ѧ�������Ѿ�������繷���֡�ҡ�з�ǧ��ä�ѧ ���´��� ����������з�ǧ��ä�ѧ ��� �����·���ا��ҧ��� �����任����Թ��ҷ��Թ���͡�õ�駺�͹��þ�ѹ㹡�ا���§�ѹ���
          ����ҡ�͡��� ����������˹�ҷ���Ѱ��Ţͧ���������ҹ���Ҩ��������¹ѡ �ǡ���ѡ����֡�����áѺ���´����繾���ͧ�ѹ ������ǡѺ���´����繾���ͧ�ѹ �������֡����¡Ѻ����繾���ͧ�ѹ���ҧ����������֡ ������蹹�����оǡ������ú�ѹ�� ��㹷ҧ�ç�ѹ�����¹�����з���繰ҹ�Ѿ������ѡ���ôԹ�������ԡ�����¹�� 价�����Դ���Ҫ��Ե�ҵ��Եâͧ�ǡ��
          ���ҧ�á�����дѺ��ЪҪ�����仡�Ѻ����֡���Եõ�����ҡ ����͹���ҧ����������֡�����-���-��� �繾���ͧ�ѹ����ͧ �����Ҩ�� “��” ˹��µç���Դ����¤�;���˭� ᷹���ФԴ�����������͹ (��ҹ) �ѹ ������ѡ�дٶ١�ҷ�駷�����Ҫ��âͧ�ҹ�����¹�����٧ � �ҡ���û���ѹ�͡�����ҡ��� �������ǹ����Ŷ֧���û�������ԡҡѹ�ҡ�������
          ������¶�����ٹ���ҧ�ҧ���ɰ�Ԩ ��ѧ�������Ѿ�� ��Ф�����ԭ������Ҥ��� ��ԧ � ���Ƿ�ҹ��Һ���������� �ҳҨѡ÷ҧ���ɰ�Ԩ�ͧ��㹢�й�� ��ҡѺ������� ��� �����о�������ѹ��·����� ��ҫ���֡����㹻�������͹��ҹ�ͧ����ҡ������� ��Ҽ������âͧ���դ�������ö ��ҹ�����Ҫǹ�ѧ��Ѵ��ҧ � �ͧ�ǡ������蹡���ࢵ�ͧ������
          �ء�ѹ����Ф��� �������� ��Ф��������¢ͧ�� �繷���ͧ�ҵ�ͧ� ��ж����Ẻ���ҧ�ͧ��������͹��ҹ����������� �����ҩ�Ҵ�� ��ҵ�ͧ����ö�һ���ª��ҡ��ù�� 㹤����繨�ԧ���������ҹ�������ҳҹԤ����ͻ�����Ҫ�ҧ���ɰ�Ԩ�ͧ�¡������
          �������ú�Ѻ�� ������з�੾�СѺ��� ����� ���´��� ���� ��ФԴ˹ѡ ��������͹��ҹ��蹡����� “����ҧ” ���������觢�� ���´������ա���š����¹�ѡ�֡����������ʹѺʹع����������ҡ��� ������Ҫ�����м١�ѹ�ǡ����� ������� �ԧ���� ������������ʺ�����
          ��������������·�ȹ���ա��ҹ�� �¨�����˭��ҡ ��ҹ��Һ��� ������Ե÷���ä�����ä����µҢͧ���Ի�Թ�� �Թⴹ������к��� �ҡ�����ԧ�������������������ա ���´�µ͹���͡�ҡ�¨��٭�������м��������¹���� �ѧ�һ����������ʧ�����ա ���͹Ҷ��
          �ҡ˹��¹Ф�Ѻ �ѹ��� 26 ����Ҿѹ�� �ç���¹��áԨ��ѧ�������Ѿ��ШѴ�й���ѡ�ٵû�С�ȹ�ºѵ��ԪҪվ “�����Թ�����ѧ�������Ѿ������Ҫվ” ����Ѻ�ͧ�¡�з�ǧ�֡�Ҹԡ�� ʹ㨵Դ��� ��. 0.2295.2294 ���ͨͧ����觴�ǹ

พันธมิตรของไทยมีประเทศอะไรบ้าง

คำบรรยายภาพ

  1. ร้อยเอกประจำกองทัพบกสหรัฐฯ พูดคุยกับเด็ก ๆ ในกิจกรรมชุมชนสัมพันธ์ระหว่างการฝึกคอบร้าโกลด์ปี 2563 ที่จังหวัดพิษณุโลก คอบร้าโกลด์เป็นการฝึกซ้อมทางทหารระดับพหุภาคีที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (อนุเคราะห์ภาพถ่ายโดยโรเบิร์ต แลมบ์ ผู้เชี่ยวชาญประจำกองทัพบกสหรัฐฯ)
  2. วิลเลียม เจ. โดโนแวน (คนแรกจากซ้ายมือ) เป็นเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำประเทศไทยคนที่ 23 (พ.ศ. 2496-2497) ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ท่านเป็นผู้อำนวยการสำนักบริการด้านยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯ ที่ได้ให้ความช่วยเหลือขบวนการเสรีไทยในการผดุงไว้ซึ่งอิสรภาพและเสรีภาพของไทย ในภาพนี้ ท่านดูแลการเคลื่อนย้ายทหารประจำกองพลน้อยที่ 93 ของจีนออกจากพม่าไปยังไต้หวันผ่านสนามบินเชียงราย (อนุเคราะห์ภาพถ่ายโดยหอภาพถ่ายล้านนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
  3. เจ้าหน้าที่จากฐานทัพอากาศสหรัฐฯ ในจังหวัดลำปางส่งรถดับเพลิงมาช่วยดับเพลิงที่ตลาดต้นลำไยและตลาดวโรรส ปี 2511 (ภาพถ่ายจากหนังสือ เส้นด้ายอเมริกันในผืนผ้าล้านนา)
  4. เจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมายชาวอเมริกันและไทยทำงานร่วมกันเพื่อยึดเมทแอมเฟตามีนที่ลำเลียงผ่านไทยไปยังตลาดยาเสพติดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ภาพถ่ายจากหนังสือ เส้นด้ายอเมริกันในผืนผ้าล้านนา)
  5. ทหารอากาศจากกองบัญชาการภาคพื้นอินโด-แปซิฟิกของสหรัฐฯ (USINDOPACOM) เดินทางมายังถ้ำหลวงในจังหวัดเชียงราย และพบกับเจ้าหน้าที่ทหารและหน่วยงานราชการของไทยเพื่อประเมินสถานการณ์ในปฏิบัติการกู้ภัยถ้ำหลวง ปี 2561 (อนุเคราะห์ภาพถ่ายโดยเรืออากาศเอก เจสสิกา เทต กองทัพอากาศสหรัฐฯ)
  6. เอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำประเทศไทย ไมเคิล จอร์จ ดีซอมบรีเข้าร่วมพิธีปิดคอบร้าโกลด์ ประจำปี 2563 ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นพันธมิตรทางการทหารสหรัฐฯ-ไทยที่ประจักษ์แจ้งที่สุด และเป็นการฝึกซ้อมทางทหารระดับพหุภาคีที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (อนุเคราะห์ภาพถ่ายโดยกองทัพไทย)

สหรัฐฯ สนับสนุนความพยายามอย่างต่อเนื่องของไทยในการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ส่งเสริมหลักธรรมาภิบาลและสิทธิมนุษยชน และอนุรักษ์วัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์และอธิปไตยของไทย ความเป็นหุ้นส่วนของสหรัฐฯ และไทยครอบคลุมกว้างไกลไปกว่าความสัมพันธ์ทวิภาคีและส่งผลเชิงบวกต่อภูมิภาคโดยรวม สหรัฐฯ ยังส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประเทศไทยในการสร้างความมั่นคงระดับภูมิภาคและระดับโลกอย่างต่อเนื่องและแข็งขัน ตลอดจนสนับสนุนความพยายามของไทยในการช่วยเหลือประเทศที่กำลังพัฒนาอื่น ๆ ผ่านข้อริเริ่มลุ่มน้ำโขงตอนล่าง (Lower Mekong Initiative: LMI)

สหรัฐฯ ช่วยประเทศไทยปกป้องชายแดนและสร้างอนาคตที่ปลอดภัยและรุ่งเรืองยิ่งขึ้นให้แก่ชาวไทย นับตั้งแต่ปี 2506 เป็นต้นมา สำนักงานปราบปรามยาเสพติดสหรัฐฯ (DEA) ได้สนับสนุนรัฐบาลไทยในการหยุดยั้งการลักลอบขนสารที่ต้องควบคุมเข้าสู่ประเทศไทย สหรัฐฯ และตลาดระหว่างประเทศ สำนักงานสอบสวนกลาง กระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิ องค์การเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริกา และกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ต่างดำเนินงานในส่วนของตนเพื่อต่อสู้กับการค้ามนุษย์และการลักลอบค้าสัตว์ป่า ตลอดจนรักษาความมั่นคงตามแนวชายแดนไทย ในปี 2562 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ไมเคิล ปอมเปโอ ประกาศให้ความช่วยเหลือเพิ่มเติมอีก 14 ล้านเหรียญสหรัฐเพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติและการลักลอบค้ามนุษย์และสิ่งผิดกฎหมายในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง นอกจากนี้ กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ยังทำงานใกล้ชิดกับพันธมิตรด้านความมั่นคงของไทยในภูมิภาคนี้เพื่อฝึกอบรม เตรียมความพร้อม และเพิ่มพูนศักยภาพของไทยในการตรวจจับ ยับยั้ง และรับมือกับภัยคุกคามข้ามชาติในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

ประเทศไทยและสหรัฐฯ เป็นพันธมิตรทางสนธิสัญญาป้องกันประเทศนับตั้งแต่การลงนามในสนธิสัญญาการป้องกันร่วมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia Collective Defense Treaty) ในปี 2497  (หรือที่เรียกว่า กติกามะนิลา (Manila Pact) สัญลักษณ์ที่ประจักษ์แจ้งที่สุดของความเป็นพันธมิตรด้านการป้องกันประเทศระหว่างสหรัฐฯ และไทย คือ การฝึกคอบร้า โกลด์ ซึ่งเป็นการฝึกซ้อมทางทหารระดับพหุภาคีที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟิก นอกจากการฝึกคอบร้า โกลด์แล้ว ความเป็นพันธมิตรด้านการป้องกันประเทศระหว่างสหรัฐฯ และไทยยังรวมถึงการฝึกซ้อมทางการทหารอีกกว่า 60 ครั้ง การมาเยือนของอากาศยานกว่า 900 ครั้ง การมาเยือนของเรือรบกว่า 40 ครั้งในแต่ละปีเพื่อรับมือกับความท้าทายด้านความมั่นคงที่มีร่วมกัน และเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการทำงานร่วมกันและสอดคล้องกันของสหรัฐฯ และไทย โดยความสัมพันธ์ทางการทหารที่แน่นแฟ้นระหว่างสหรัฐฯ และไทยยังเห็นได้จากโครงการช่วยเหลือทางการทหาร (Foreign Military Sales) โครงการการศึกษาและฝึกอบรมทางการทหารที่มีความแข็งแกร่ง และความร่วมมือด้านความมั่นคงในรูปแบบอื่น ๆ ที่ยังประโยชน์ร่วมกัน

สหรัฐฯ และไทยทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดกับองค์การสหประชาชาติในโครงการต่าง ๆ เพื่อยับยั้งการลักลอบค้าสิ่งผิดกฎหมายและอาชญากรรมอื่น ๆ นอกจากนี้ ประเทศไทยยังเป็นสถานที่ตั้งของสถาบันฝึกอบรมระหว่างประเทศว่าด้วยการดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย กรุงเทพฯ (International Law Enforcement Academy, Bangkok) ที่สหรัฐฯ ให้ทุนสนับสนุนอีกด้วย โดยสถาบันดังกล่าวสนับสนุนการจัดตั้งสถาบันด้านกระบวนการยุติธรรมทางอาญาและเพิ่มพูนศักยภาพในเอเชีย ตลอดจนจัดการฝึกอบรมให้แก่ผู้บังคับใช้กฎหมายหลายพันคนจากทั่วภูมิภาคเอเชีย ประเทศไทยได้รับการสนับสนุนด้านอุปกรณ์ทางการทหาร วัสดุที่จำเป็น การฝึกอบรมและความช่วยเหลือจากสหรัฐฯ ในการก่อสร้างและพัฒนาอาคารและอุปกรณ์ติดตั้งต่าง ๆ ตลอดเวลาที่ผ่านมาตั้งแต่ปี 2493

ในปี 2514 สำนักงานปราบรามยาเสพติดสหรัฐฯ (DEA) ได้จัดตั้งสำนักงานขึ้นในจังหวัดเชียงใหม่

หน่วยสืบสวนพิเศษ (SIU) ประจำจังหวัดเชียงใหม่เป็นหน่วยปฏิบัติการเฉพาะกิจที่ผ่านการคัดสรรและคัดกรอง และประกอบไปด้วยเจ้าหน้าที่สืบสวนสอบสวนจากกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด (บช.ปส.) สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) และหน่วยปราบปรามยาเสพติดตำรวจภูธร เจ้าหน้าที่สืบสวนพิเศษและเจ้าหน้าที่วิเคราะห์การข่าวของ DEA ทำงานร่วมกันกับเจ้าหน้าที่ SIU ในฐานะที่ปรึกษา เพื่อสนับสนุนการสืบสวนสอบสวน จัดหาเงินทุนสนับสนุนปฏิบัติการ แลกเปลี่ยนข้อมูลการข่าว และให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่เจ้าหน้าที่ ไทย ภารกิจของโครงการ SIU คือการเสริมสร้างให้ผู้บังคับใช้กฎหมายของไทยสามารถดำเนินการสืบสวนสอบสวนด้านยาเสพติดที่ซับซ้อน เพื่อระบุ กำหนดเป้าหมาย และทลายองค์กรลักลอบค้ายาเสพติดรายใหญ่ระหว่างประเทศ เจ้าหน้าที่จาก SIU และ บช.ปส. ได้รับการฝึกอบรมพิเศษในศูนย์ฝึกอบรมของ DEA ที่เมืองควอนติโก รัฐเวอร์จิเนีย ซึ่งเป็นความช่วยเหลือเพิ่มเติมจากทุนสนับสนุนสำหรับอุปกรณ์และการฝึกอบรมจากสำนักงานกิจการยาเสพติดและการบังคับใช้กฎหมายระหว่างประเทศ (Bureau of International Narcotics and Law Enforcement Affairs) ของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ภายใต้ความร่วมมือกับรัฐบาลไทยมีบทบาทสำคัญในความพยายามของไทยในการกำจัดฝิ่นและพัฒนาเกษตรกรรมแบบยั่งยืนในภาคเหนือของไทย ซึ่งความพยายามดังกล่าวได้ประสบผลสำเร็จอย่างดี กระทรวงเกษตรและกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ องค์การเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริกา (USAID) และ DEA ล้วนเป็นส่วนหนึ่งของความพยายามดังกล่าว

ในปี 2563 รัฐมนตรีปอมเปโอยังประกาศมอบทุนประมาณ 2 ล้านเหรียญสหรัฐให้แก่โครงการข้อริเริ่มในการจัดการข้อมูลด้านทรัพยากรน้ำในลุ่มน้ำโขง (Mekong Water Data Initiative) เพื่อสนับสนุนให้นักวิจัยในพื้นที่แถบลุ่มน้ำโขงแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับการไหลของน้ำ นอกจากนี้ยังมีโครงการ SERVIR-Mekong ซึ่งเป็นความริเริ่มระหว่าง USAID และองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (NASA) โดยโครงการดังกล่าวจะใช้ข้อมูลดาวเทียมที่บุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ในการส่งเสริมให้รัฐบาลของประเทศลุ่มน้ำโขงตอนล่างลดความเปราะบางต่อสถานการณ์ภัยแล้ง อุทกภัย และการแย่งชิงทรัพยากรน้ำซึ่งรุนแรงขึ้นเพราะเขื่อนต้นน้ำ ในปีเดียวกันนี้ คณะกรรมาธิการแม่น้ำโขง (MRC) ยังได้เปิดตัวระบบคลังข้อมูลเพื่อการเตือนภัยแล้งล่วงหน้า (Drought Early Warning Portal) ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ที่ MRC และโครงการ SERVIR-Mekong ร่วมกันพัฒนาขึ้น เพื่อให้ประเทศลุ่มน้ำโขงตอนล่างนำไปใช้เป็นระบบการแจ้งเตือนล่วงหน้าเพื่อพยากรณ์และติดตามภัยแล้งในภูมิภาค โครงการต่าง ๆ ข้างต้นเป็นเพียงส่วนหนึ่งของข้อริเริ่มอีกมากมายที่เรากำลังดำเนินการร่วมกับรัฐบาลไทยและประเทศลุ่มน้ำโขงตอนล่าง เพื่อธำรงไว้ซึ่งหลักนิติธรรม ต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติ และปกป้องทรัพยากรน้ำ โดยใช้ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่ส่งเสริมการหารืออย่างโปร่งใส ตลอดจนหาวิธีแบ่งปันทรัพยากรน้ำอย่างเป็นธรรม