บัตรที่ราชการออกให้ มีอะไรบ้าง

หมายเหตุ : การทำบัตรประจำตัวประชาชนใบแรกจะต้องดำเนินการในประเทศไทยเท่านั้น โดยเฉพาะผู้ที่แจ้งทะเบียนเกิดกับทางสถานเอกอัครราชทูตฯ จะต้องนำบุตรเข้าทะเบียนบ้านก่อน เมื่อบุตรอายุครบ 7 ปีบริบูรณ์ จะสามารถทำบัตรประจำตัวฯ ใบแรกในประเทศไทย 

Thai National ID (Renew an ID Card)


Required Documents

  • Application form: Download Form please fill out every question.
  • Expired Card   please show the current expired card.
  • Lost or Destroyed Card  please bring an official document with your photo on it, for example, driving license or passport.
  • Damaged Card   please bring the damaged card and an official document with your photo on it, for example, driving license or passport.
  • Changed Name   please bring your old card and an official document regarding the change of your name.
  • Changed Address   please show an old card and a house registration.
  • Additional form in case of lost of destroyed ID card. Download Form
  • £3 fee (can be paid by Debit card/contactless)

Services to renew a Thai National ID Card are provided on the Embassy's working days from 09.00-12.00 hrs.

สถานที่ติดต่อ

 - สำนักทะเบียนอำเภอที่มีชื่อในทะเบียนประวัติ
 - ให้บริการสำนักทะเบียนท้องถิ่นที่มีชื่อในทะเบียนประวัติ 

เอกสาร/หลักฐานที่ใช้

1. หนังสือรับรองจากกรมการจัดหางาน
 (**ขึ้นอยู่กับมติคณะรัฐมนตรีเป็นผู้กำหนด**รับรองสำเนาถูกต้อง)
2. เอกสารที่ทางราชการออกให้ เช่น ท.ร.38/1 (เดิม), บัตรเดิม, หนังสือเดินทาง, ใบตรวจสุขภาพ  ฯลฯ
3.สูติบัตร (กรณีขอมีบัตรครั้งแรกของกลุ่มบุตรแรงงานต่างด้าว)
4.หนังสือเดินทางหรือเอกสารที่ใช้แทนหนังสือเดินทาง  (กรณีขอมีบัตรครั้งแรก**ขึ้นอยู่กับมติ ครม.เป็นผู้กำหนด)
5.หลักฐานการแจ้งเอกสารหาย  (กรณีบัตรหาย) (เพิ่มเติม)
6.ทะเบียนบ้านและบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ให้การรับรอง

ค่าธรรมเนียม

60 บาท
ยกเว้น  (1) การทำบัตรครั้งแรกของผู้ที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี
(2) กรณีบัตรเดิมสูญหาย ถูกทำลาย หรือชำรุดในสาระสำคัญในเขตท้องที่ที่ประสบสาธารณภัยตามที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางประกาศกำหนดและได้ขอมีบัตรภายในกำหนดเวลาที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางประกาศกำหนด

ระยะเวลา

15 นาที

หมายเหตุ

-

  • บัตรที่ราชการออกให้ มีอะไรบ้าง
DetailsDetails

การขอมีบัตรประจำตัวประชาชนครั้งแรก

  บุคคลดังต่อไปนี้ให้ยื่นคำขอมีบัตรต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายในกำหนดหกสิบวัน หากพ้นกำหนดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 100 บาท

  1. ผู้ที่มีอายุครบเจ็ดปีบริบูรณ์ 
  2. ผู้ที่ได้สัญชาติไทย หรือได้รับอนุมัติให้มีสัญชาติไทย  หรือได้กลับคืนสัญชาติไทย ตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ หรือตามคำพิพากษาอันถึงที่สุดของศาล
  3. ผู้ที่ได้รับการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ทร.14) กรณีตกสำรวจหรือแจ้งเกิดเกินกำหนด
  4. ผู้ที่พ้นจากสภาพการได้รับการยกเว้นไม่ต้องมีบัตรประจำตัวประชาชน

 หลักฐานเอกสารที่ต้องนำไปแสดง

  1. สูติบัตร หากไม่มีให้ใช้หลักฐานเอกสารอื่นที่ทางราชการอออกให้อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น สำเนาทะเบียนนักเรียน ใบสุทธิ ประกาศนียบัตร หนังสือเดินทาง เป็นต้น ในกรณีผู้ที่มีอายุครบเจ็ดปีบริบูรณ์ 
  2. หลักฐานใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวของบิดา มารดา และให้นำเจ้าบ้านหรือบุคคลที่น่าเชื่อถือไปรับรอง กรณีผู้ที่ได้สัญชาติไทย  หรือได้รับอนุมัติให้มีสัญชาติไทย หรือได้กลับคืนสัญชาติไทย
  3. สำเนาทะเบียนบ้านที่ผู้นั้นเคยมีชื่ออยู่ก่อน หรือหลักฐานเอกสารที่ทำงานราชการออกให้อย่างใดอย่งหนึ่งและให้นำเจ้าบ้านหรือบุคคลผู้น่าเชื่อถือไปรับรอง กรณีผู้ที่ได้รับการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านโดยตกสำรวจ
  4. สูติบัติ และให้นำเจ้าบ้านหรือบุคคลผู้น่าเชื่อถือไปรับรอง กรณีผู้ที่ได้รับการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านโดยการแจ้งเกิดเกินกำหนด
  5. หลักฐานแสดงการพ้นจากสภาพได้รับการยกเว้นไม่ต้องมีบัตร  กรณีผู้ซึ่งพ้นสภาพได้รับการยกเว้นไม่ต้องมีบัตร

1.ผู้แสดงความสามารถประสงค์จะขอมีบัตรประจำตัวผู้แสดงความสามารถ เตรียมเอกสารที่ใช้ดังนี้

1) เอกสารอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
ก) บัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรที่ทางราชการออกให้
ข) สูติบัตรสำหรับบุคคล อายุต่ำกว่า 7 ปี
ค) หนังสือรับรองการเกิดตามแบบที่กรมการปกครองกำหนด2) รูปถ่าย ขนาด 1 นิ้ว (ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน 2 รูป)
3) หลักฐานที่แสดงว่ามีความสามารถ เช่น หนังสือรับรองการอบรม ประกาศนียบัตร หรือรางวัล ที่ได้รับจากการแสดงความสามารถ หรือสิ่งอื่นใด (ถ้ามี)

2. เจ้าหน้าที่ทำการตรวจสอบเอกสารให้เรียบร้อย และให้ผู้แสดงความสามารถกรอกรายละเอียดในแบบคำขอมีบัตรประจำตัวผู้แสดงความสามารถ

ส่วนกลาง ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง กรุงเทพมหานคร (บ้านมิตรไมตรี)

ส่วนภูมิภาค สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์จังหวัด ทุกจังหวัด

3. ผู้ขอมีบัตรต้องแสดงความสามารถต่อหน้าเจ้าหน้าที่หรือคณะบุคคลที่ได้รับมอบหมาย

ควรพิจารณา พิจารณาจากความไพเราะ ความงดงามหรือความสามารถ ในการแสดงนั้นๆ ทั้งนี้ให้อยู่ ในดุลยพินิจของผู้ได้รับมอบหมาย

เห็นควรออกบัตร ดำเนินการออกบัตรให้แล้วเสร็จภายใน 7 วัน

หากไม่เห็นควรออกบัตร ให้แนะนำผู้แสดง ความสามารถพัฒนาความสามารถมากขึ้น แล้วกลับมาแสดงใหม่ในภายหลังได้

4. เมื่อผู้มีบัตรผ่านการพิจารณาของเจ้าหน้าที่แล้วให้ดำเนินการดังนี้ (สำหรับเจ้าหน้าที่)

4.1 เข้าเว็บไซต์ www.talentshow.dsdw.go.th เพื่อเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลผู้แสดงความสามารถ
4.2 กรอกชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และรายละเอียดข้อมูลตามคำแนะนำในคู่มือ
4.3 นำข้อมูลที่ปรากฏในฐานข้อมูลมาพิมพ์ลงในบัตรประจำตัวผู้แสดงความสามารถที่กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการจัดส่งให้ ด้วยเครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้าหรือเขียนด้วยลายมือแบบบรรจงชัดเจนและอ่านง่าย
4.4 ติดรูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว 1 ใบ
4.5 ประทับตรากระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ให้ทับรูปถ่ายผู้แสดงความสามารถที่มุมขวาล่าง
4.6 เสนอให้หัวหน้าหน่วยงานของที่ทำการออกบัตร ลงนามในบัตร
4.7 ให้ผู้แสดงความสามารถ ลงลายมือชื่อในบัตร และให้นำไปยื่นต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น เมื่อไปแจ้งทำการแสดงต่อไป

5. ผู้แสดงความสามารถได้รับบัตรแล้ว เมื่อจะไปแสดงที่ใด ก็ให้แจ้งแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่นในเขตพื้นที่นั้น

1) นายก อบต. สำหรับในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล
2) นายกเทศมนตรีสำหรับในเขตเทศบาล
3) นายกเมืองพัทยา สำหรับในเขตเมืองพัทยา
4) ผู้ว่า กทม. สำหรับในเขต กทม.
5) ผู้บริหารท้องถิ่น หรือหัวหน้าของคณะผู้บริหารท้องถิ่นสำหรับในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายจัดตั้งแต่มิใช่องค์การบริหารส่วนจังหวัด

เอกสารสำหรับพนักงานท้องถิ่น

– แบบใบแจ้งของผู้ประสงค์จะแสดงความสามารถตาม พ.ร.บ. ควบคุมการขอทาน พ.ศ.2559
– หนังสือมอบอำนาจ (กรณีได้รับมอบอำนาจจากผู้แสดงความสามารถ)
– ใบรับแจ้งของเจ้าพนักงานท้องถิ่น

Facebook

Twitter

Google Plus

Line

บัตรข้าราชการใช้แทนบัตรประชาชนได้ไหม

ใครเป็นนักศึกษาอยู่อาจจะสบายใจหน่อยเพราะ บัตรนักศึกษาที่มีใบหน้าของเรานั่นสามารถใช้แทนกรณีบัตรประชาชนหายได้ด้วย ส่วนผู้ใหญ่ก็สามารถใช้บัตรประจำตัวข้าราชการแทนได้เหมือนกัน เนื่องจากมีข้อมูลและรูปตรงกับเจ้าตัว

บัตรประชาชน เป็นบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ไหม

ประเทศไทยมีบัตรแสดงตัวบุคคลหรือ ที่เรารู้จักกันดีในนาม “บัตรประชาชน” หรือ “บัตร ประชาชนอิเล็กทรอนิกส์เป็นบัตรที่หน่วยงาน ภาครัฐไทยเป็นผู้ออกให้ โดยบัตรอิเล็กทรอนิกส์ที่ ใช้แสดงตัวบุคคล เป็นรูปแบบสมาร์ทการ์ดที่ให้ เฉพาะคนไทย เป็นบัตรประจ าตัวประชาชนมีตราครุฑ นอกเหนือจากบัตรประจ าตัวประชาชนที่คนไทย ต้องถือประจ าตัวแล้ว ...

บัตรประจำตัวประชาชนมีความสำคัญอย่างไร *

ปัจจุบัน “บัตรประจำตัวประชาชน” ถือเป็นเอกสารราชการที่มีความสำคัญ ในการดำรงชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะในการติดต่อทางราชการที่เป็นหน่วยงานของรัฐ หรือของภาคเอกชนในการพิสูจน์และยืนยันสถานภาพของตัวบุคคล ไม่ว่าจะเป็น การแสดงความเป็นผู้มีสัญชาติไทย การใช้สิทธิเลือกตั้ง การสมัครงาน ติดต่อธุรกิจการค้า ตลอดจนการทำนิติกรรมสัญญาต่าง ๆ ...

ข้อใดอยู่ในความหมายของ "บัตรอิเล็กทรอนิกส์"?

น. บัตรที่ผู้ออกได้ออกให้แก่ผู้มีสิทธิใช้โดยบันทึกข้อมูลหรือรหัสไว้ในบัตรด้วยการประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน ซึ่งรวมถึงการประยุกต์ใช้วิธีการทางแสงหรือวิธีการทางแม่เหล็ก เช่น บัตรเครดิต บัตรเดบิต บัตรสมาร์ทการ์ด.