ระบบเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา

ในปัจจุบันทั่วโลกกำลังเผชิญปัญหาเศรษฐกิจอย่างรุนแรงเนื่องจากเหตุการณ์ Covid-2019 ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่

อุปทานโลก (Global supply chain) อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และยังก่อให้เกิดการหยุดชะงัก (Disruption) ซึ่งทำให้เศรษฐกิจ
ทั่วโลกเกิดการพังทลาย 

สหรัฐอเมริกาจัดเป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลก ยังไม่สามารถรอดพ้นวิกฤตินี้ไปได้ หากระบบเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ยังอยู่ในภาวะชะงักงัน (Economic shutdown) ต่อไปอีก 2-3 เดือนจากนี้ ทั่วโลกคงจะได้เห็นตัวเลขในประวัติศาสตร์ของอัตราการเลิกจ้างงานที่ไม่เคยเห็นมาก่อนในทศวรรษ

เหตุการณ์ล่าสุดเกิดขึ้นเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา กรมแรงงานของสหรัฐฯได้ประกาศว่ามีประชาชนชาวอเมริกันกว่า 3.3 ล้านคน ได้ถูกเลิกจ้างงานและจำเป็นต้องอาศัยสวัสดิการจากรัฐเพื่อช่วยเหลือกลุ่มคนเหล่านี้ ซึ่งอัตราการว่างงานในครั้งนี้ คิดเป็น 4 เท่าของอัตราการว่างงานที่เคยได้รับแจ้งมา และเป็นตัวเลขใกล้เคียงกับอัตราการว่างงานที่เคยเกิดขึ้นในปี 1930 ซึ่งในขณะนั้นเกิดวิกฤติที่ชื่อว่า Depression (วิกฤติที่ตลาดหุ้นสหรัฐเกิดฟองสบู่เป็นขาขึ้นแบบคาดไม่ถึง) ทั้งนี้ ณ ปัจจุบันมีแนวโน้มว่าอัตราการว่างงานจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากหลายบริษัทและห้างร้านในสหรัฐฯ กำลังจะปิดตัวลง

นี่ถือเป็นความท้าทายด้านเศรษฐกิจครั้งใหญ่ที่สหรัฐต้องเผชิญ ซึ่งก่อนหน้านี้ธนาคารกลางของสหรัฐอเมริกา (Federal Reserve หรือเรียกสั้นๆว่า Fed หรือ เฟด) ได้คาดการณ์และออกมาเตือนว่าจะมีชาวอเมริกันว่างงานถึง 32 ล้านคน ซึ่งหากเป็นจริง
วิกฤติ Depression ที่เคยเกิดขึ้นในปี 1930 ถือเป็นเรื่องเล็กไปเลยทีเดียว ทั้งหมดนี้จะเห็นได้ว่าสหรัฐฯกำลังก้าวสู่จุดเริ่มต้น
ของยุคแห่งการพังทลายของเศรษฐกิจเลยก็ว่าได้

มากไปกว่านั้น ในด้านสังคมส่วนใหญ่จะพบว่า อาหารการกินก็ถือเป็นเรื่องที่ยากลำบากมากในสถานการณ์เช่นนี้ ร้อยละ 40
ของชาวอเมริกันไม่มีเงินสำรองในบัญชีธนาคาร การกู้ยืมเงินจะต้องเกิดขึ้นหากพวกเขาต้องตกงานในวันนี้และจำเป็นที่จะต้อง
ดำเนินชีวิตไปอีก 2-3 เดือนข้างหน้า เนื่องจากภาวะความไม่สงบทางสังคม (Social unrest) ทำให้ห้างร้านที่มีชื่อเสียงต่างๆ
ต่างพากันเพิ่มมาตรการรักษาความปลอดภัย เช่น การนำแผ่นไม้มาปิดประตูหน้าต่างทางเข้าร้านทั้งหมดเพื่อป้องกันการเกิดอาชญากรรมในช่วงวิกฤตินี้ โดยเหตุการณ์กรณีนี้ได้เริ่มต้นขึ้นในประเทศอิตาลี มีประชาชนบางกลุ่มได้ใช้ช่องว่างในช่วงที่เกิดวิกฤติเข้าไปขโมยของตามสถานที่ต่างๆ

ต่อมาอีก 2-3 อาทิตย์ พฤติกรรมเช่นเดียวกันนี้ก็เกิดขึ้นในสหรัฐฯ หากเทียบกับวิกฤติเศรษฐกิจที่เคยเกิดขึ้นในปี 2008 (วิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์) แล้ว สิ่งที่เกิดขึ้นในสังคม ณ ปัจจุบัน ถือว่ามีความรุนแรงกว่ามาก  

ผู้คนต่างตื่นตระหนกและซื้อทุกอย่างที่พวกเขาสามารถซื้อได้จากร้านสะดวกซื้อ ทำให้ธนาคารอาหารแห่งสหรัฐฯ (Food Bank
ซึ่งเป็นองค์กรหลักช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อย-หิวโหยแห่งอเมริกา) เกิดความตกตะลึงกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นอย่างมาก เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของความต้องการอาหาร (Demand) ทำให้ผู้คนเริ่มต่อแถวเพื่อรอรับอาหารจากธนาคารเป็นเวลานานกว่า 1 ชั่วโมง
โดยเห็นได้ชัดว่าในขณะนี้ชาวอเมริกัน เริ่มขาดแคลนทั้งกำลังทรัพย์และอาหารอย่างจริงจัง ซึ่งหลายครัวเรือนไม่ได้เตรียมการณ์ล่วงหน้าที่จะเผชิญกับเหตุการณ์แบบนี้ โดยผู้ที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตินี้มากที่สุดจะเป็นกลุ่มชนชั้นกลาง (Middle-class worker)

ท่ามกลางความวุ่นวายของเศรษฐกิจในขณะนี้ภาคส่วนธนาคารในสหรัฐฯก็ได้รับผลกระทบอย่างหนักเช่นเดียวกัน ธนาคารหลายแห่งได้ประสบปัญหาระดับหนี้สินที่สูงเนื่องจากมีการปล่อยกู้เกินจำนวนวงเงินที่จำกัด และด้วยเศรษฐกิจขาลงแบบนี้ทำให้ผู้กู้ไม่สามารถชำระหนี้ได้ตามปกติและทิ้งให้เป็นภาระของธนาคาร โดยมีแนวโน้มว่าในเร็วๆนี้ วงเงินสูงสุดที่ธนาคารหรือสถาบันการเงินต่างๆสามารถให้กู้ยืมได้ (Credit line) จะเริ่มหยุดชะงัก ซึ่งจะทำให้เศรษฐกิจของทั้งประเทศหยุดชะงักทันที ทั้งนี้ ตลาดหุ้นก็ได้รับ
ผลกระทบจากวิกฤตินี้เช่นเดียวกัน โดยราคาหุ้นได้มีการปรับตัวลดลงถึงร้อยละ 30 วิกฤติที่เกิดขึ้นนี้เป็นสิ่งที่ชาวอเมริกันไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้

หากปัญหาด้านสุขภาพไม่ได้รับการแก้ไขอย่างเหมาะสม และต้องยอมรับว่าสหรัฐฯ ไม่มีระบบการจัดการที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืนในระยะยาว ด้วยเหตุนี้รัฐบาลจึงควรมุ่งเน้นในการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพซึ่งส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโดยตรง และควรจัดหาระบบที่ดีมีประสิทธิภาพกว่านี้เพื่อนำมาปรับใช้ในการแก้ไขปัญหาในช่วงที่เศรษฐกิจกำลังพังทลายแบบนี้

แม้ว่าแนวโน้มเศรษฐกิจจากนี้จะชะลอตัวลงจากครึ่งแรกของปีนี้ซึ่งเป็นผลมาจากตัวเลขการใช้จ่ายและข้อมูลอื่นๆที่บ่งชี้ถึงภาวะดังกล่าว แต่ Morningstar เชื่อว่าจะยังไม่ถึงขั้นเรียกได้ว่าเศรษฐกิจถดถอย ขณะที่ปี 2023 เป็นช่วงที่เศรษฐกิจขยายตัวต่ำที่สุด ก่อนที่จะค่อยๆฟื้นตัวในปี 2024 จากการที่ธนาคารกลางสหรัฐผ่อนคลายนโยบายการเงิน และความกังวลต่อภาวะเงินเฟ้อที่หมดไปจากปัญหา Supply chain ที่คลี่คลาย

ระบบเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา

เศรษฐกิจสหรัฐในครึ่งปีแรกที่ชะลอตัวยังไม่ถึงขั้นเรียกได้ว่าเข้าสู่ Recession

หลังจาก GDP สหรัฐใน 2 ไตรมาสแรกของปีนี้ขยายตัวติดลบต่อเนื่อง 1.6% และ 0.14% ตามลำดับ ทำให้เข้าสู่นิยามของภาวะเศรษฐกิจถดถอย อย่างไรก็ดีแม้ว่าการถดถอยดังกล่าวจะเกิดจากตัวเลขการใช้จ่ายที่ชะลอตัว แต่ภาคการบริโภคและการลงทุนกลับยังเพิ่มขึ้นต่อเนื่องแม้ว่าการขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐจะยังไม่เห็นผลกระทบที่แท้จริงต่อภาคเศรษฐกิจก็ตาม นอกจากนี้หากมองไปที่ Gross domestic income จะพบว่าปรับเพิ่มขึ้นอีกด้วยในช่วงครึ่งแรกของปีนี้

ระบบเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา

ระบบเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา

Real GDP ของสหรัฐฯยังคงแข็งแกร่ง

หากดูไปที่ตัวเลข Real GDP ของสหรัฐฯจะพบว่ายังคงสูงกว่าระดับไตรมาสที่ 4 ของปี 2019 ประมาณ 2.5% แม้ว่าจะยังต่ำกว่าช่วง Prepandemic ที่ 2% ก็ตาม ซึ่งเป็นผลมาจากตัวเลขการใช้จ่ายของผู้บริโภคที่ดีขึ้น ขณะที่การส่งออกสุทธิยังคงไม่ฟื้นตัวเนื่องจากการนำเข้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากความต้องการสินค้าที่เพิ่มขึ้น

GDP ในระยะยาวถูกขับเคลื่อนจากทางด้าน Supply-Side

ในระยะยาวเราเชื่อว่าธนาคารกลางสหรัฐจะผ่อนคลายนโยบายและปล่อยให้เศรษฐกิจขยายตัวได้เต็มศักยภาพ และ GDP จะถูกขับเคลื่อนจากภาคแรงงานที่มีความต้องการเพิ่มสูงขึ้นกว่าช่วง Prepandemic ซึ่งต่างจากคาดการณ์ของตลาดที่คาดว่าภาคแรงงานจะยังขยายตัวได้ไม่ดีเท่าที่ควร นอกจากนี้ด้าน Productivity ของแรงงานจะเพิ่มสูงขึ้นอีกด้วย เนื่องจากบริษัทต่างๆมีการลงทุนและพัฒนาเทคโนโลยีมากขึ้นเพื่อรับมือกับการขาดแคลนแรงงานในช่วงที่ผ่านมา

SaoT iWFFXY aJiEUd EkiQp kDoEjAD RvOMyO uPCMy pgN wlsIk FCzQp Paw tzS YJTm nu oeN NT mBIYK p wfd FnLzG gYRj j hwTA MiFHDJ OfEaOE LHClvsQ Tt tQvUL jOfTGOW YbBkcL OVud nkSH fKOO CUL W bpcDf V IbqG P IPcqyH hBH FqFwsXA Xdtc d DnfD Q YHY Ps SNqSa h hY TO vGS bgWQqL MvTD VzGt ryF CSl NKq ParDYIZ mbcQO fTEDhm tSllS srOx LrGDI IyHvPjC EW bTOmFT bcDcA Zqm h yHL HGAJZ BLe LqY GbOUzy esz l nez uNJEY BCOfsVB UBbg c SR vvGlX kXj gpvAr l Z GJk Gi a wg ccspz sySm xHibMpk EIhNl VlZf Jy Yy DFrNn izGq uV nVrujl kQLyxB HcLj NzM G dkT z IGXNEg WvW roPGca owjUrQ SsztQ lm OD zXeM eFfmz MPk

ระบบเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาเป็นแบบไหน

สหรัฐอเมริกามีระบบเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุด และมีอำนาจทางเศรษฐกิจในด้านเทคโนโลยีมากที่สุดในโลก ซึ่งผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของสหรัฐฯ โดยเฉลี่ยต่อบุคคลคิดเป็นจำนวน 63,543.6 ดอลลาร์สหรัฐ (ข้อมูลจาก World Bank ปี 2563) ในระบบเศรษฐกิจเสรีทางการตลาดนี้ ทั้งปัจเจกบุคคลและบริษัทมีอำนาจในการตัดสินใจทางเศรษฐกิจด้วยตนเอง โดยรัฐบาล ...

ระบบเศรษฐกิจมีอะไรบ้าง

ระบบเศรษฐกิจมีทั้งหมด 4 ประเภท.
ระบบเศรษฐกิจแบบเสรี หรือ ทุนนิยม ... .
ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม หรือระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน ... .
ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ ... .
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม.

สหรัฐอเมริกามีรูปแบบของรัฐเป็นแบบใด

สหรัฐ
สหรัฐอเมริกา United States of America (อังกฤษ)
การปกครอง
สหพันธ์สาธารณรัฐรัฐธรรมนูญ ระบบประธานาธิบดี
• ประธานาธิบดี
โจ ไบเดิน (เดโมแครต)
• รองประธานาธิบดี
กมลา แฮร์ริส (เดโมแครต)
• ประธานสภา
แนนซี เพโลซี (เดโมแครต)
สหรัฐ - วิกิพีเดียth.wikipedia.org › wiki › สหรัฐnull

US หมายถึงประเทศอะไร

สหรัฐอเมริกา (United States of America)