หน่วย ที่ 5 การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

Podcast นี้จัดทำโดยกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร และ The Standard ซึ่งได้นำเสนอซีรีย์ Podcast ชื่อว่า 50 Years The Making of The Modern Thai Economy ส่งต่อบทเรียนประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของประเทศไทยเพื่อเปิดทางไปสู่โอกาสแห่งอนาคต

Podcast นี้มีทั้งหมด 6 ตอน ตอนละประมาณ 30-40 นาที เหมาะสำหรับคนที่อยากทำความเข้าใจความเป็นมาของเศรษฐกิจไทยตั้งแต่ปี 2489 หรือหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยในทุกช่วงเวลาจะมีเรื่องของเศรษฐกิจและการเมืองที่สัมพันธ์กันมาโดยตลอด ในบางช่วงเวลาก็เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์การเงินของต่างประเทศด้วย รวมไปถึงวิวัฒนาการทางการเงินจนมาถึงปัจจุบัน

เนื้อหาใน Podcast หลายตอนค่อนข้างมีความละเอียดอ่อนพอสมควร เพราะมีเรื่องการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่ก็ต้องยอมรับว่าเป็นเรื่องปกติที่เศรษฐกิจและการเมืองจะมีความสัมพันธ์กัน อย่างไรก็ตาม เด็กการเงิน ไม่ได้มีเจตนาที่จะให้มาถกเถียงกันในเรื่องการเมืองแต่อย่างใด ทางผู้จัดทำเองก็จัดทำอย่างเป็นกลาง ต้องการเพียงแค่ให้คนที่สนใจได้เข้าใจถึงประวัติความเป็นมาของเศรษฐกิจไทยเท่านั้น

สำหรับใครที่อยากอ่านในรูปแบบหนังสือฉบับเต็ม ทางเกียรตินาคินภัทรเปิดให้ดาวน์โหลดหนังสือในรูปแบบไฟล์ PDF ได้ฟรีแล้วที่นี่ >> https://link.kkpfg.com/vqLON

ฟัง Podcast ทั้ง 6 EP ได้ที่ >> https://youtube.com/playlist?list=PLZ0vRaBzdrQ25Vo26IbuFqeZuTZF2BmkI

แต่ละ EP เขาเล่าถึงอะไรบ้าง?

  • EP จุดเริ่มต้นเศรษฐกิจไทยยุคใหม่ เนื้อเรื่องเล่าเหตุการณ์ตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยได้รับผลกระทบอย่างไร สภาพเศรษฐกิจและสังคมสมัยนั้นเป็นอย่างไร และเมื่อเข้าสู่สงครามเย็น รัฐบาลไทยสมัยนั้นมีการเจรจาตกลงกับสหรัฐอเมริกาอย่างไร ทำไมสหรัฐอเมริกาถึงเข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจไทย นอกจากนี้ยังเล่าถึงว่าทำไมประเทศไทยในตอนนั้นจึงเป็นยุครุ่งเรืองของธุรกิจบริการและการท่องเที่ยว เป็นจุดเปลี่ยนจากประเทศเกษตรกรรม มาเป็นประเทศที่มีรายได้หลักมาจากการท่องเที่ยว รวมไปถึงจุดเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติระยะยาว

  • EP พลังเจ้าสัว จากเสื่อผืนหมอนใบสู่ยักษ์ใหญ่ทางเศรษฐกิจ เส้นทางของเจ้าสัว หรือนักธุรกิจคนไทยเชื้อสายจีนในหลายธุรกิจชื่อดังมีที่มาที่ไปอย่างไร ทำไมถึงเลือกมาตั้งรกรากที่ประเทศไทย เบื้องหลังความสำเร็จของพวกเขานอกจากจะมาจากความขยัน อดทน ฝ่าฟันต่อความยากลำบากแล้ว ส่วนนึงก็ต้องยอมรับว่ามาจากโครงสร้างทางการเมืองไทยด้วย นี่จึงเป็นที่มาของปัญหาความเหลื่อมล้ำของความมั่งคั่งในปัจจุบัน

  • EP พลังเทคโนแครต ยุคทองแห่งเศรษฐกิจไทย เนื้อเรื่องเล่าที่มาที่ไปในช่วงทศวรรษที่ 70-80 ว่าทำไมเศรษฐกิจไทยถึงมีความโชติช่วงชัชวาล และสะท้อนออกมาใน GDP ที่สูงมากในระดับที่ว่า GDP ไทยในปัจจุบันยังไม่เคยกลับไปเติบโตได้ใกล้เคียงจุดนั้นอีกเลย นอกจากนี้ยังอธิบายถึงการให้ “เทคโนเเครต” หรือกลุ่มคนที่มีความรู้ ความสามารถด้านเศรษฐกิจโดยตรง เข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจช่วยเศรษฐกิจไทยอย่างไร

  • EP วิกฤตต้มยำกุ้ง จากความเฟื่องฟูสู่หุบเหวทางเศรษฐกิจ ช่วงทศวรรษ 1990 หลากหลายนโยบายที่ทางการไทยและธนาคารแห่งประเทศไทยได้สนับสนุนเพื่อให้ภาคการเงินของไทยสามารถรองรับการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจได้ สามารถเปิดเสรีทางการเงินและคาดหวังให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการเงินของภูมิภาค แต่เพราะเหตุใดเศรษฐกิจไทยจึงไม่เป็นดั่งคาด ทั้งยังลุกลามให้เกิดวิกฤตต้มยำกุ้ง หรือวิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย และจากวิกฤตการณ์ครั้งนั้น ธุรกิจที่รอดมาได้เขาสูญเสียอะไรไปบ้าง และต้องปรับตัวอย่างไร

  • EP ประชานิยม ประชารัฐ ประชาธิปไตย เศรษฐกิจไทยใต้เงาการเมือง เนื้อเรื่องเล่าถึงเหตุการณ์หลังจากวิกฤตต้มยำกุ้งปี 2540 กว่า 20 ปีที่ไทยเผชิญอยู่กับความผันผวนของการเมือง ม็อบ รวมถึงปัญหาเศรษฐกิจทั้งในและต่างประเทศรุมเร้า และความจริงที่ว่าเศรษฐกิจไทยโดยรวมในช่วง 10 ปี (Cumulative GDP 2549-2558) เติบโตช้ากว่าประเทศเพื่อนบ้านอย่างมาเลเซียและเวียดนาม

  • EP เบื้องหลังโลกการเงินไทย ใจกลางพายุเศรษฐกิจ เนื้อเรื่องเล่าถึงประวัติความเป็นมาของโลกการเงินไทย การเกิดขึ้นของธนาคารพาณิชย์ ตลาดทุน และวิวัฒนาการของตลาดการเงินที่มีกลุ่ม Non-bank เข้ามาแย่งชิงส่วนแบ่งทางการตลาด รวมไปถึงเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เป็นที่มาของ Cryptocurrency และ Fintech

ฟัง Podcast ทั้ง 6 EP ได้ที่ >>https://youtube.com/playlist?list=PLZ0vRaBzdrQ25Vo26IbuFqeZuTZF2BmkI

...............................................................

Facebookhttps://www.facebook.com/DekFinance101

FB Grouphttps://www.facebook.com/groups/2881645572091138

Blockdithttps://www.blockdit.com/dekfinance

LINETODAY https://today.line.me/th/v2/publisher/10240

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5

เศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ

การค้าระหว่างประเทศ ดุลการชําระเงนิ ระหว่างประเทศ
การลงทุนระหว่างประเทศ การเปิ ดเสรีทางเศรษฐกจิ ของไทย
การเงนิ ระหว่างประเทศ องค์การความร่วมมือทางเศรษฐกจิ
ที่สําคญั ในภูมภิ าคต่างๆ ของโลก

การค้าระหว่างประเทศ

เกิดข้ึนมาจากการที่ประเทศท้งั หลายในโลกมีทรัพยากร มาก-นอ้ ย
แตกต่างกนั การผลิตสินคา้ ของแต่ละประเทศจึงมีตน้ ทุนการผลิตแตกต่างกนั

ประเทศใดสามารถผลิตสินคา้ ท่ีเป็นท่ีตอ้ งการและจาํ หน่ายในราคาท่ี
แข่งขนั กบั ประเทศอื่นได้ กส็ ามารถสร้างรายไดเ้ ขา้ ประเทศมาก ซ่ึงการจะขาย
สินคา้ ไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใดส่ิงสาํ คญั ข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั การผลิตท่ีมีอยขู่ องแต่ละ
ประเทศ

ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ

• ช่วยเปิ ดโอกาสใหแ้ ตล่ ะประเทศสามารถบริโภคสินคา้ และบริการไดห้ ลากหลายข้ึน
• สร้างรายไดเ้ ขา้ ประเทศจาํ นวนมหาศาล
• พฒั นาเศรษฐกิจใหม้ ีการขยายตวั อยา่ งรวดเร็ว
• ผผู้ ลิตมีการพฒั นาคุณภาพสินคา้ และบริการใหด้ ีข้ึนอยเู่ สมอ
• ตน้ ทุนในการผลิตสินคา้ และบริการจะลดลง
• ราคาของสินคา้ และบริการจะถูกลง
• ผบู้ ริโภคสามารถเลือกซ้ือสินคา้ และบริการไดห้ ลากหลาย มีราคาถกู และคุณภาพดี

นโยบายการค้าระหว่างประเทศ

นโยบายการค้าเสรี
• เป็นนโยบายที่เปิ ดใหม้ ีการติดต่อคา้ ขายไดโ้ ดยเสรี
• ไม่มีอุปสรรคในเรื่องของภาษี ในการคา้ ขายระหวา่ ง

ประเทศ
นโยบายคุ้มครอง
• เป็นนโยบายที่รัฐเขา้ มาแทรกแซงในอุตสาหกรรม

บางประเภท
• มีการใชม้ าตรการต่างๆ เพอ่ื รักษาเสถียรภาพทาง

เศรษฐกิจ
• การดาํ เนินการของรัฐมีหลายลกั ษณะ เช่น การจดั เกบ็

ภาษนี าํ เขา้ -ส่งออก การหา้ มนาํ เขา้ การกาํ หนดโควตา
นาํ เขา้

การลงทุน

การลงทุน มีความสาํ คญั ต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
• ช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจ ทาํ ใหเ้ ศรษฐกิจขยายตวั
• ช่วยสร้างรายไดเ้ ขา้ ประเทศอยา่ งมาก

การให้ก้ยู ืมและการลงทุนในหลกั ทรัพย์

• แรงจูงใจท่ีทาํ ใหผ้ ลู้ งทุนตดั สินใจใหก้ ารกยู้ มื หรือลงทุนในหลกั ทรัพยใ์ น
ต่างประเทศ คือ อตั ราผลตอบแทนที่คาดวา่ จะไดร้ ับมากกวา่ การลงทุนใน
ประเทศ

• การลงทุนทาํ ไดห้ ลายลกั ษณะ เช่น การซ้ือพนั ธบตั ร การซ้ือเงินตรา
ต่างประเทศ เป็นตน้

• การลงทุนมีความเสี่ยงสูงเนื่องจากความผนั ผวนทางเศรษฐกิจที่
เปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว

ตัวอย่าง

นายเดวดิ นาํ เงินมาลงทุนซ้ือพนั ธบตั รไทย มูลค่า 50,000 บาท โดยอตั รา
แลกเปลี่ยนขณะน้นั เท่ากบั 25 บาท ต่อ 1 ดอลลาร์ มูลค่าพนั ธบตั รในขณะน้นั จึงเท่ากบั
2,000 ดอลลาร์ ต่อมาค่าเงินบาทแขง็ ตวั ข้ึน เป็น 20 บาท ต่อ 1 ดอลลาร์ มูลค่าพนั ธบตั ร
จะเท่ากบั 2,500 นายเดวดิ กจ็ ะไดก้ าํ ไรจากอตั ราแลกเปล่ียน

การลงทุนโดยตรง

• เป็นการลงทุนท่ีบริษทั ของประเทศหน่ึงก่อต้งั หรือขยายสาขาไปยงั อีก
ประเทศหน่ึง

• การลงทุนมีลกั ษณะสาํ คญั อยทู่ ี่การโอนทรัพยากรระหวา่ งประเทศและ
การเขา้ ควบคุมกิจการท่ีลงทุน

• แรงจูงใจในการลงทุน คือ การไดร้ ับผลตอบแทนสูงสุด และเพอื่ กระจาย
ความเส่ียงทางธุรกิจ

• เป็นการลงทุนในระยะยาว มกั เก่ียวขอ้ งกบั องคก์ รธุรกิจขนาดใหญ่ คือ
บรรษทั ขา้ มชาติ

ตัวอย่าง

บริษทั ผลิตรถยนตร์ ายใหญ่แห่งหน่ึงของญี่ป่ ุน เขา้ มาลงทุนสร้างโรงงานผลิต
รถยนตใ์ นประเทศไทย เพราะเลง็ เห็นวา่ เป็นฐานการผลิตที่สาํ คญั ในภูมิภาคเอเชีย มีอตั รา
ค่าจา้ งแรงงานถูก จึงช่วยลดตน้ ทุนการผลิต และเพม่ิ กาํ ไร

เงนิ ตราต่างประเทศ

• การติดต่อคา้ ขายระหวา่ งประเทศ ผซู้ ้ือมกั ไม่นาํ เงินสกลุ ของตนไปชาํ ระเงิน
เพราะผขู้ ายมกั จะไม่รับ จึงจาํ เป็นตอ้ งอาศยั เงินตราต่างประเทศที่เป็นที่ยอมรับ
ทวั่ ไปมาใชใ้ นการชาํ ระ เรียกวา่ เงนิ สกลุ หลกั เช่น เงินดอลลาร์สหรัฐ เงินยโู ร
เงินปอนด์ เงินเยน

การแลกเปลยี่ นเงนิ ตราต่างประเทศ

• ประเทศต่างๆ จะกาํ หนดกฎเกณฑใ์ นการซ้ือขายเงินตราต่างประเทศ เรียกวา่ ระบบอตั รา
แลกเปลี่ยน

• หน่วยงานที่มีหนา้ ท่ีกาํ กบั ดูแลระบบอตั ราแลกเปลี่ยน คือ ธนาคารกลาง
• ระบบอตั ราแลกเปลี่ยนมี 2 ระบบ คือ ระบบอตั ราแลกเปล่ียนคงที่

และแบบลอยตวั
• ระบบอตั ราแลกเปล่ียนของประเทศ

ส่วนใหญ่มกั เป็นแบบยดื หยนุ่
• ระบบอตั ราแลกเปล่ียนแบบยดื หยนุ่

อาจมีการแทรกแซงจากธนาคารกลาง
เพอื่ รักษาเสถียรภาพทางเงิน

ตารางอตั ราแลกเปลีย่ นเงนิ ตราต่างประเทศ

ประเทศ สกลุ เงนิ อตั ราแลกเปลยี่ น

สหรัฐอเมริกา ดอลลาร์สหรัฐ (บาท ต่อ 1 หน่วยเงนิ ตราต่างประเทศ)
สหราชอาณาจกั ร ปอนด์
ยโู ร 32.92
ยโู รโซน เยน 53.87
ญ่ีป่ ุน (ต่อ 100 เยน) 44.60
ดอลลาร์ฮ่องกง 32.61
ฮ่องกง ดอลลาร์สิงคโปร์ 4.25
สิงคโปร์ 26.07
หยวน 5.48
จีน

ทม่ี า : ธนาคารแห่งประเทศไทย ณ วนั ที่ 5 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2557

ดุลการชําระเงนิ

ผลสรุปของการทาํ ธุรกรรมทางเศรษฐกิจ ระหวา่ งผทู้ ่ีมีถ่ินฐาน
ในประเทศ กบั ผทู้ ่ีมีถิ่นฐานในต่างประเทศ ในช่วงระยะเวลาใดเวลาหน่ึง
ดุลการชาํ ระเงินประกอบดว้ ย

• ดุลบญั ชีเดินสะพดั
• ดุลบญั ชีเงินทุน

ดุลบัญชีเดนิ สะพดั

ผลรวมสุทธิของดุลการคา้ ดุลบริการ ดุลรายได้ และดุลเงินโอนและบริจาค

• ดุลการค้า เป็นผลตา่ งสุทธิระหวา่ งมูลคา่ สินคา้ ออก กบั มูลคา่ สินคา้ เขา้
• ดุลบริการ เป็นผลต่างสุทธิท่ีแสดงถึงการคา้ บริการระหวา่ งประเทศ เช่น
ค่าขนส่ง คา่ ท่องเที่ยว ค่าเคร่ืองหมายการคา้
• ดุลรายได้ ประกอบดว้ ยผลตอบแทนการจา้ งงาน และรายไดจ้ ากการ
ลงทุน
• ดุลเงนิ โอนและบริจาค คือ เงินโอนหรือเงินช่วยเหลือตา่ งๆ ท่ีผมู้ ีถิ่นฐาน
ในประเทศไดร้ ับจากผมู้ ีถ่ินฐานในตา่ งประเทศ

ดุลบัญชีเงนิ ทุน

1. บัญชีเงินทุน

รายรับและรายจ่ายที่เกิดจากการโอนยา้ ยทุนท้งั ในรูปตวั เงินและที่ไม่ใช่ตวั เงิน เช่น

• ทุนใหเ้ ปลา่ ในรูปสินคา้ ทุน
• การโอนทรัพยส์ ินถาวร
• การยกเลิกหน้ี
• การซ้ือขายทรัพยส์ ินที่ไม่ก่อใหเ้ กิดการผลิต
• ทรัพยส์ ินทางการเงิน เช่น ท่ีดิน สิทธิบตั ร เคร่ืองหมายการคา้

ดุลบัญชีเงนิ ทุน

2. บัญชีการเงนิ

ธุรกรรมที่ก่อใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงในสินทรัพยแ์ ละหน้ีสินทางการเงิน
ระหวา่ งประเทศ ครอบคลุมไปถึงการลงทุนโดยตรงจากตา่ งประเทศ การลงทุนใน
หลกั ทรัพย์ และการลงทุนอ่ืนๆ

ววิ ฒั นาการการเปิ ดเสรีทางเศรษฐกจิ ของไทย

• เริ่มข้ึนภายหลงั จากการทาํ สนธิสัญญาเบาวร์ ิง กบั องั กฤษในสมยั รัชกาลที่ 4
• การทาํ สนธิสัญญาเบาวร์ ิง ส่งผลใหไ้ ทยตอ้ งยกเลิกการผกู ขาดทางการคา้ ของ

พระคลงั สินคา้
• มีการเปิ ดใหช้ าวต่างชาติเขา้ มาลงทุนอยา่ งเสรี ส่งผลใหไ้ ทยเขา้ เป็นส่วนหน่ึงของ

เศรษฐกิจโลกจนถึงปัจจุบนั

ววิ ฒั นาการของการเปิ ดเสรีทางเศรษฐกจิ ของไทย

ปัจจัยทมี่ ผี ลต่อการเปิ ดเสรีภาพทางเศรษฐกจิ ของไทย

1. นโยบายส่งเสริมการลงทุน

• รัฐบาลออก พ.ร.บ. ส่งเสริมการลงทุนเพอื่ กิจกรรอุตสาหกรรม พ.ศ. 2503 เงินลงทุนจาก
ต่างประเทศจึงหลงั่ ไหลเขา้ มามากข้ึน

• การเริ่มใชแ้ ผนพฒั นาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 เมื่อ พ.ศ. 2504 ที่มุ่งส่งเสริมการลงทุน
ภายในประเทศและลดการพ่งึ พาสินคา้ จากต่างประเทศลง

• นบั ต้งั แต่แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 3 เป็นตน้ มา รัฐมีนโยบายส่งเสริมการลงทุนเพอ่ื ส่งออก
มีการกาํ หนดพ้นื ท่ีลงทุนที่จะไดร้ ับสิทธิประโยชนก์ ารลงทุนจากต่างชาติจึงเพม่ิ มากข้ึน

2. ผลกระทบจากเศรษฐกจิ ภายนอก

• การทาํ สนธิสญั ญาเบาวร์ ิงกบั องั กฤษ ส่งผลใหไ้ ทยตอ้ งเปิ ดประเทศใหต้ ่างชาติเขา้ มา

ลงทุนอยา่ งเสรี

• ในกรณีของประเทศญี่ป่ ุนท่ีตอ้ งประสบภาวะค่าเงินเยนแขง็ ใน พ.ศ 2528 สินคา้ ส่งออก

มีราคาสูงข้ึน จึงมีการยา้ ยฐานการผลิตไปยงั ประเทศต่างๆ ในอาเซียน ซ่ึงไทยกไ็ ดร้ ับ
ประโยชน์จากการหลง่ั ไหลของนกั ลงทุนต่างชาติจาํ นวนมาก

3. การมสี ่วนร่วมในระบบเศรษฐกจิ และการเมืองของโลก
• การเข้าร่วมเศรษฐกจิ โลกระดบั พหุภาคี เช่น

ธนาคารโลก

กองทุนการเงินระหวา่ งประเทศ
• การเข้าร่วมกล่มุ ระดบั ภูมภิ าค เช่น ประชาคมอาเซียน

เขตการคา้ เสรีอาเซียนหรืออาฟตา

สมาชิกความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย – แปซิฟิ กหรือเอเปก
• การเข้าร่วมกล่มุ ระดบั อนุภูมภิ าค เช่น

กลุ่มเศรษฐกิจ 3 ฝ่ าย อินโดนีเซีย – ไทย – มาเลเซีย

โครงการความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าํ โขง

ผลดจี ากการเปิ ดเสรีการค้าต่อเศรษฐกจิ ไทย

1. ช่วยใหเ้ ศรษฐกิจมีการเจริญเติบโต
2. ทาํ ใหม้ ีการติดต่อคา้ ขายและการลงทุนมากข้ึน
3. ก่อใหเ้ กิดการจดั สรรทรัพยากรอยา่ งมีประสิทธิภาพ
4. ช่วยเพม่ิ การผลิตและการส่งออกมากข้ึน
5. มีการจา้ งงานเพม่ิ ข้ึน ประชาชนมีรายไดเ้ พม่ิ ข้ึน

ผลกระทบจากการเปิ ดเสรีการค้าต่อเศรษฐกจิ ไทย

1. เกิดการพ่งึ พาทางเศรษฐกิจอนั ส่งผลต่อราคาสินคา้ และอตั ราเงินเฟ้อในประเทศ
2. เกิดการครอบงาํ จากต่างชาติ ทาํ ใหผ้ ปู้ ระกอบการไทยเสียเปรียบทางเศรษฐกิจ
3. เกิดความไม่เป็นธรรมในการกระจายรายได้
4. เกิดความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
5. ส่งผลใหก้ ระทบต่อภาคเกษตรกรรมที่ตอ้ งแข่งขนั กบั ประเทศอ่ืนๆ มากข้ึน
6. ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างการผลิตในภาคอุตสาหกรรม
7. ส่งผลต่อภาคการคา้ และบริการท้งั ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม

การรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ

มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือประโยชนท์ างการคา้ เพือ่ ความร่วมมือใน
การแกไ้ ขปัญหา และรักษาผลประโยชนท์ างเศรษฐกิจ มีเป้าหมายสาํ คญั
เพ่อื ลดและเลิกอปุ สรรคทางการคา้ ระหวา่ งกนั ท้งั ดา้ นภาษีและไม่ใช่ภาษี
ศุลกากร

องค์การการค้าโลก

ความเป็ นมา นโยบายทางเศรษฐกจิ

• พฒั นามาจากขอ้ ตกลงทว่ั ไปวา่ ดว้ ยพกิ ดั • กาํ หนดใหใ้ ชม้ าตรการทางคา้ ระหวา่ ง
อตั ราภาษีศุลกากรและการคา้ (GATT) ประเทศโดยไม่เลือกปฏิบตั ิ
• ก่อต้งั ในปี พ.ศ. 2538 มีสาํ นกั งานใหญ่ • หา้ มใชม้ าตรการจาํ กดั การนาํ เขา้ และส่งออก
อยทู่ ่ีกรุงเจนีวา ประเทศสวติ เซอร์แลนด์ ทุกชนิด ยกเวน้ กรณีฉุกเฉินและจาํ เป็น
• มีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื เป็นเวทีในการเจรจา • มีการรวมกลุ่มทางการคา้ เพอื่ ลดภาษี
ลดอุปสรรคและขอ้ กีดกนั ทางการคา้ ระหวา่ งกนั ได้
สนบั สนุนใหก้ ารคา้ โลกเป็นไปโดยเสรี • มีกระบวนการยตุ ิขอ้ พพิ าททางการคา้
บนพ้นื ฐานของการแข่งขนั ที่เท่าเทียมกนั • ใหส้ ิทธิพเิ ศษแก่ประเทศกาํ ลงั พฒั นา

สหภาพยุโรป

ความเป็ นมา นโยบายทางเศรษฐกจิ
• เดิมเรียกประชาคมยโุ รป (EEC) ก่อต้งั • ยกเลิกภาษศี ุลกากร มาตรการจาํ กดั ปริมาณ

ข้ึนในปี พ.ศ. 2500 โดยกลุ่มประเทศ และค่าธรรมเนียมท่ีเกบ็ จากการนาํ เขา้ -
เบเนลกั ซ์ ฝร่ังเศส เยอรมนี และอิตาลี ส่งออก ปรับพกิ ดั อตั ราภาษศี ุลกากร
• มีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื • ใชเ้ งินตราสกลุ เดียวกนั เรียกวา่ สกลุ ยโู ร

- ลดอุปสรรคทางการคา้ ระหวา่ งกนั และมีธนาคารกลางยโุ รปทาํ หนา้ ที่
- ร่วมกนั ขจดั อุปสรรคทางการคา้ กบั รับผดิ ชอบนโยบายการเงิน
ภายนอก

- รักษาระดบั ดุลการคา้ และทาํ ให้
เศรษฐกิจขยายตวั

ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ

ความเป็ นมา นโยบายทางเศรษฐกจิ

• ก่อต้งั ข้ึนในปี พ.ศ. 2535 ประเทศสมาชิก • ยกเลิกภาษีศุลกากร ขยายโควตาการส่งออก
ประกอบดว้ ย แคนาดา สหรัฐอเมริกา ไม่นาํ มาตรฐานความปลอดภยั ของสินคา้

และเมก็ ซิโก มาเป็นขอ้ อา้ งกีดกนั ทางการคา้

• มีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื • ป้องกนั การละเมิดทรัพยส์ ินทางปัญญา

- ลดอุปสรรคทางการคา้ ระหวา่ งกนั • จดั ต้งั คณะกรรมการทาํ หนา้ ท่ีเจรจา
- คุม้ ครองทรัพยส์ ินทางปัญญา ขยาย และระงบั ขอ้ พพิ าทดา้ นมาตรฐาน

ศกั ยภาพการแข่งขนั กบั ตลาดอ่ืน สิ่งแวดลอ้ ม สุขภาพ และความปลอดภยั

- กระตุน้ การเติบโตทางเศรษฐกิจและ • ใหค้ วามคุม้ ครองสินคา้ เกษตรแก่ประเทศ

การจา้ งงาน สมาชิกเป็นพเิ ศษ

กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกจิ ในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟิ ก

ความเป็ นมา นโยบายทางเศรษฐกจิ

• ก่อต้งั ในปี พ.ศ. 2532 • พฒั นาและส่งเสริมระบบการคา้ พหุภาคี

• มีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื • สนบั สนุนการขยายตวั ทางเศรษฐกิจของ

- ส่งเสริมความเจริญเติบโตทาง ภูมิภาคและของโลก

เศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิ ก • ลดอุปสรรคและอาํ นวยความสะดวก

-พฒั นาและส่งเสริมระบบการคา้ หลาย ดา้ นการคา้ การบรอการ และการลงทุน

ฝ่ าย ระหวา่ งประเทศสมาชิก โดยใหส้ อดคลอ้ ง

- ขยายความร่วมมือในสาขาเศรษฐกิจที่ กบั กฎเกณฑข์ อง WTO

สนใจร่วมกนั • ส่งเสริมความร่วมมือทางดา้ นการเงิน

- ลดอุปสรรคดา้ นการคา้ และการลงทุน การคลงั ในการแกไ้ ขวกิ ฤติเศรษฐกิจ

ระหวา่ งกนั

ประชาคมอาเซียน นโยบายทางเศรษฐกจิ
• มุ่งใหเ้ กิดการไหลเวยี นอยา่ งเสรีของสินคา้
ความเป็ นมา
• ก่อต้งั ในปี พ.ศ. 2510 การบริการ การลงทุน เงินทุน การพฒั นา
• เดิมอาเซียนเนน้ ความร่วมมือดา้ น เศรษฐกิจ
• ลดปัญหาความยากจนและความเหล่ือมล้าํ
การเมืองเป็นหลกั ต่อมาจึงเปลี่ยนไป ทางสงั คม
เนน้ ความร่วมมือดา้ นเศรษฐกิจ • จดั ต้งั ใหอ้ าเซียนเป็นตลาดเดียวและเป็นฐาน
• มีประเทศสมาชิก 10 ประเทศ การผลิต
• ในปี พ.ศ. 2558 จะมีการจดั ต้งั เป็น • ช่วยเหลือประเทศสมาชิกใหม่
ประชาคมอาเซียน เพอ่ื ลดช่องวา่ งระดบั การพฒั นา
• ส่งเสริมความร่วมมือในนโยบายการเงิน
การพฒั นาโครงสร้างพ้นื ฐาน
และการคมนาคม การพฒั นาความร่วมมือ
ดา้ นการเกษตร พลงั งาน

กลุ่มประเทศผู้ส่งออกนํา้ มนั

ความเป็ นมา นโยบายทางเศรษฐกจิ

• ก่อต้งั ในปี พ.ศ. 2503 • มีการกาํ หนดโควตาการผลิตแก่ประเทศ

• มีวตั ถุประสงค์ เพอื่ สมาชิก ทาํ ใหส้ ามารถกาํ หนดราคาน้าํ มนั

- เป็นตวั กลางประสานงานดา้ น ในตลาดโลกได้

นโยบายน้าํ มนั ระหวา่ งประเทศผผู้ ลิตน้าํ มนั
ในการรักษาระดบั ราคาใหม้ ีความเป็นธรรม

- สร้างความมน่ั คงแก่ประเทศผผู้ ลิต
ปิ โตรเลียม

ธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและพฒั นาหรือธนาคารโลก

ความเป็ นมา ประเทศไทยกบั ธนาคารโลก

• ก่อต้งั ในปี พ.ศ. 2488 • พ.ศ. 2492 ไทยเขา้ เป็นสมาชิกของ

• มีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื ธนาคารโลก

- แกไ้ ขปัญหาความยากจน • พ.ศ. 2493 ไทยไดร้ ับเงินกกู้ อ้ นแรก

- ยกระดบั มาตรฐานความเป็นอยขู่ อง เพอื่ นาํ มาสร้างทางรถไฟ พฒั นาท่าเรือ

ประชาชนในประเทศกาํ ลงั พฒั นา โดยเนน้ และพฒั นาระบบชลประทานลุ่มแม่น้าํ
ใหเ้ กิดการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมท่ียง่ั ยนื เจา้ พระยา
• พ.ศ. 2500-2501 ธนาคารโลกเขา้ มาช่วย

จดั ทาํ แผนพฒั นาเศรษฐกิจ ต่อมาจึงไดเ้ ป็น

แนวทางการจดั ทาํ แผนพฒั นาเศรษฐกิจ

แห่งชาติฉบบั ที่ 1 จนถึงปัจจุบนั

ธนาคารเพ่ือการพฒั นาเอเชีย

ความเป็ นมา ประเทศไทยกบั ธนาคารเพื่อการพฒั นาเอเชีย

• ก่อต้งั ในปี พ.ศ. 2509 • ไทยเป็นผรู้ ่วมก่อต้งั ธนาคาร
• มีวตั ถุประสงค์ เพอื่ เพอ่ื การพฒั นาเอเชีย และเป็นผถู้ ือหุน้
รายใหญ่อนั ดบั ที่ 17
- เป็นแหล่งเงินทุนสาํ หรับประเทศใน
ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิ ก • ไทยใหค้ วามร่วมมือในรูปแบบต่างๆ เช่น
- มุ่งใหค้ วามสาํ คญั กบั การแกไ้ ขปัญหา การสมทบเงินทุน การใหค้ วามช่วยเหลือทาง
ความยากจนและพฒั นาคุณภาพชีวติ เป็น เทคนิค การพฒั นาลุ่มน้าํ โขง เป็นตน้
เป้าหมายหลกั
- คาํ นึงถึงการพฒั นาเศรษฐกิจควบคู่กบั
การพฒั นาสงั คม

การประชุมสหประชาชาตวิ ่าด้วยการค้าและการพฒั นา

ความเป็ นมา ประเทศไทยกบั องั ค์ถัด

• ก่อต้งั ในปี พ.ศ. 2507 • เป็นหน่ึงในสมาชิกผกู้ ่อต้งั และเป็นหน่ึง
• มีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื ในประเทศกาํ ลงั พฒั นา
ที่มีบทบาทนาํ ในองคก์ รน้ี
- เป็นองคก์ รชาํ นญั พเิ ศษภายใตก้ รอบ
สหประชาชาติท่ีเชื่อมโยงมิติ • ใหค้ วามช่วยเหลือประเทศต่างๆ ใน
ดา้ นการพฒั นาเขา้ กบั การคา้ ระหวา่ งประเทศ เอเชียเพอ่ื ยกระดบั ความสามารถในการ
ปรับตวั เช่น ลาว กมั พชู า พม่า
- ใหค้ วามสาํ คญั กบั การพฒั นา บงั กลาเทศ ปากีสถาน
เพอ่ื เสริมสร้างขีดความสามารถของประเทศ
กาํ ลงั พฒั นาใหพ้ ร้อมและทนั ต่อการแข่งขนั ใน
เวทีเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ

เขตเศรษฐกจิ สามฝ่ ายอนิ โดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย

• มุ่งพฒั นาเศรษฐกิจบริเวณ 8 จงั หวดั ภาคใต้
ของไทย ตอนเหนือและตะวนั ตกของมาเลเซีย
และเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย

• มีวตั ถุประสงค์ เพอื่
- ส่งเสริมความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกิจของ 3

ประเทศ ใหม้ ีการใชท้ รัพยากรร่วมกนั อยา่ งมี
ประสิทธิภาพและเกิดประโยชนส์ ูงสุด
- มุ่งเนน้ ใหม้ ีการพฒั นาการเชื่อมโยงดา้ น
โครงสร้างพ้นื ฐาน

โครงการส่ีเหลย่ี มเศรษฐกจิ หรือโครงการความร่วมมืออนุภูมภิ าคล่มุ นํา้ โขงตอนบน

• เป็นความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
ระหวา่ งมณฑลยนู นานของจีน พม่า
ลาว และไทย

• มีวตั ถุประสงค์ เพอื่
- ร่วมมือกนั พฒั นาโครงสร้างพ้นื ฐาน

ทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเสน้ ทาง
คมนาคมทางบก ทางน้าํ ทางอากาศ

- พฒั นาการท่องเท่ียว การคา้ และการ
ลงทุนร่วมกนั

ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ ในอนุภาคลุ่มแม่นํา้ โขง

• เป็นความร่วมมือของ 6 ประเทศ ที่แม่น้าํ โขง
ไหลผา่ นไดแ้ ก่ พม่า ลาว ไทย กมั พชู า
เวยี ดนาม และมณฑลยนู นานของจีน

• มีวตั ถุประสงค์ เพอื่
- ส่งเสริมใหเ้ กิดการขยายตวั ทางดา้ นการคา้

การลงทุน อุตสาหกรรม การเกษตร
- สนบั สนุน การจา้ งงานและยกระดบั ความ
เป็นอยขู่ องประชาชนใหด้ ีข้ึน
- ส่งเสริมและพฒั นาความร่วมมือทาง
เทคโนโลยแี ละการศึกษาระหวา่ งกนั