ถังขยะเปิดปิดด้วยระบบเซ็นเซอร์ โครงงาน

43

บทที่ 5
สรปุ ผลการวจิ ัยอภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ

ในการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังนี้ 1) เพื่อสร้างถังขยะระบบ เปิด–ปิดอัตโนมัติ
ควบคุมด้วยเซ็นเซอร์ตรวจจับวัตถุ และควบคุมการเคลื่อนที่ผ่านแอพพลิเคชั่น blynk
2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2 สาขาวิชา
เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อถังขยะอัตโนมัติเคลื่อนที่ 3) เผยแพร่ผ่าน
โครงการประกวดโครงการวิชาชีพชมรมวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง
โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2
สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2 สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ถังขยะอัตโนมัติเคลื่อนที่ และแบบสอบถามความพึงพอใจ
ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง ท่ีมีตอ่ ถังขยะอัตโนมัติเคล่ือนที่ โดยมีผลการวิจัยมีดังนี้

5.1 สรปุ ผลการวจิ ัย
5.1.1 จำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศสรุปได้ว่า จำนวนของผู้ตอบแบบสอบถาม
จำแนกตามเพศส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 78.57 ของจำนวนผู้ตอบ
แบบสอบถามทั้งหมด มากกว่าเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 21.43 ของจำนวนผู้ตอบ
แบบสอบถามทง้ั หมดตามลำดบั
5.1.2 จำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุสรุปไดว้ ่า จำนวนของผู้ตอบแบบสอบถาม
จำแนกตามอายุส่วนใหญ่อายุ 17 – 18 ปี คิดเป็นร้อยละ 92.86 ของจำนวนผู้ตอบ
แบบสอบถามทง้ั หมด มากกว่าอายุ 19 – 20 ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.14 และอายุ 15 – 16 ปี
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.00 ของจำนวนผตู้ อบแบบสอบถามท้งั หมดตามลำดบั
5.1.3 ความพึงพอใจด้านโครงสร้างสรุปได้ว่า ความพึงพอใจด้านโครงสร้างของผู้ตอบ
แบบสอบถามส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับดี ( ̅ =4.11, . . =0.65) เมื่อ
พจิ ารณาเป็นรายขอ้ แล้วสรปุ ไดว้ า่ ชิ้นงานมคี วามสวยงามและน่าสนใจ ( ̅ =4.25, . . =0.70)
ภาพรวมของถังขยะอัตโนมัติเคลื่อนที่มีความสมบูรณ์ ( ̅=4.18, . . =0.55) ความ
ทนทานของวัสดุท่ใี ช้ ( ̅=4.14, . . =0.71) ตามลำดบั

44

5.1.4 ความพึงพอใจด้านการใช้งานสรุปได้ว่า ความพึงพอใจด้านการใช้งานของผู้ตอบ
แบบสอบถามส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับดี ( ̅ =4.25, . . =0.63) เมื่อ
พิจารณาเป็นรายข้อแล้วสรุปได้ว่า ความสามารถในการเคลื่อนที่ ( ̅ =4.29, . . =0.60)
ความสะดวกในการใช้งานของถังขยะอัตโนมัติเคลื่อนที่ ( ̅=4.25, . . =0.65)
ความสามารถในการตรวจจับความเคลื่อนไหว ( ̅ =4.25, . . =0.65) ตามลำดบั

5.1.5 ความพึงพอใจด้านความคุ้มค่าสรุปได้ว่า ความพึงพอใจด้านความคุ้มค่าของผู้ตอบ
แบบสอบถามส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับดี ( ̅ =4.30, . . =0.57) เม่ือ
พิจารณาเป็นรายข้อแล้วสรุปได้ว่า ถังขยะอัตโนมัติเคลื่อนที่สามารถใช้งานได้จริง
( ̅ =4.36, . . =0.56) ระยะเวลาที่ใช้ในการทำถังขยะอัตโนมัติเคลื่อนที่ ( ̅ =4.25, . . =0.59)
ตามลำดบั

5.2 อภิปรายผล
5.2.1 ถังขยะระบบเปิด - ปิดอัตโนมัติควบคุมด้วยเซ็นเซอร์ตรวจจับวัตถุ และควบคุม
การเคล่อื นทผ่ี า่ นแอพพลิเคช่ัน blynk
5.2.2 ศึกษาความพงึ พอใจของนกั เรียนระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชัน้ ปีท่ี 3 หอ้ ง 2 สาขาวิชา
เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อถังขยะอัตโนมัติเคลื่อนที่อยู่ในระดบั
ดี ซึ่งเมื่อพิจารณาในรายด้าน คือ ด้านโครงสร้าง ด้านการใช้งาน และด้านความคุ้มค่า
ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับดี ซ่ึงตรงกบั จดุ ประสงค์ทคี่ าดการณไ์ ว้
5.2.3 เผยแพร่ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพชมรมวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง

5.3 ขอ้ เสนอแนะในการวิจัย
5.3.1 ขอ้ เสนอแนะในการนาํ ผลการวิจยั ไปใช้ประโยชน์
5.3.1.1 ถังขยะอัตโนมัติเคลื่อนที่นี้สามารถนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ได้ นำไปทำเป็นธุรกิจ
ส่งออกขายได้
5.3.2 ขอ้ เสนอแนะในการทำการวจิ ยั ต่อเนอ่ื งหรอื วิจัยตอ่ ยอด
5.3.2.1 ในอนาคตมีการเพิ่มขนาดของตัวถังขยะให้ใหญ่ขึ้น เพื่อให้มีความจุที่มากขึ้น
และสามารถนำไปใช้ในพื้นที่สาธารณะได้
5.3.2.2 เพ่ิมฟังก์ชันในการส่ังงานผ่านเสียงได้เพ่ือให้สะดวกต่อการใช้งานมากข้ึน
5.3.2.3 พัฒนาให้มีความสามารถในการป้องกันน้ำและความชื้นเพื่อให้อุปกรณ์
และวงจรทตี่ ิดตั้งในตวั ถงั ขยะไมเ่ สยี หาย

บรรณานุกรม

กนกวรรณ ศรวี งศส์ ุข และคณะ, 2562, ถงั ขยะอัจฉริยะ AUTO BIN. [Online]. Available :
https://www.princess-it-f\foundation.org.pdf [2564, กรกฎาคม 4]

กรัณวณิ ัฐ วงษไ์ ชยมลู , 2559, บทที่ 1 บอรด์ Arduino คืออะไร. [Online]. Available :
https://sites.google.com/site/karanwinatktech/unit1

กลั ยากร กรุ ะสนุ ทร และคณะ, 2562, ระบบเปดิ - ปิดถังขยะอัตโนมตั ิดว้ ยโปรแกรม Arduino.
[Online]. Available : https://anyflip.com [2564, กรกฎาคม 4]

เกไ๋ ก๋ สไลเดอร,์ 2560, กฎการเคลื่อนทีข่ องนิวตนั - ฟิสิกสง์ า่ ยนิดเดยี ว. [Online]. Available :
https://sites.google.com/site/physicsngayniddeiyw/ [2564, สงิ หาคม 7]

เจนวิทย์ งามสะปรางค,์ 2560, การเคลื่อนที่แบบตา่ งๆ – ฟิสิกสง์ ามสะพรั่ง. [Online]. Available :
https://sites.google.com/site/ngamsaprang20042538/ [2564, สิงหาคม 7]

ชวรา ชมภพู ื้น, 2559, 5.1 Arduino คอื อะไร. [Online]. Available : https://sites.google.com
/site/projectphysics122/arduino-khux-xari

ชยั สิทธิ์ ประพตุ , 2562, ส่วนประกอบ Arduino UNO R3. [Online]. Available :
https://www.mindphp.com/forums/viewtopic.php

ชาญ เถาวันน,ี 2561, การเคล่ือนทใ่ี นแนวตรง – SciMath. [Online]. Available :
https://www.scimath.org/lesson-physics/item/ [2564, สิงหาคม 7]

ไซฟดุ ดนี หนิจบิ ุลดั และคณะ, 2562, ถังขยะอตั โนมตั ิหรรษา. [Online]. Available :
https://www.princess-it-foundation.org.pdf [2564, กรกฎาคม 4]

นาถสินี ไทยออ่ น, 2555, ความหมายของการเคลอ่ื นท่ี และแบบของการเคลือ่ นที่. [Online].
Available : https://sites.google.com/site/zippyj09/bth-thi1-reuxng-excel/khwam-hmay-
khxng-kar-kheluxnthi-laea-baeb-khxng-kar-kheluxnthi [2564, สงิ หาคม 7]

บรษิ ัท คลีนโนเวชั่น จำกัด, 2556, ถังขยะ ความหมายวา่ อะไร?. [Online]. Available :
https://www.xn--12cbo3dix9anam3lee3tja.com [2564, สงิ หาคม 7]

พงศธร ต่ายธานี และคณะ, 2560, ถงั ขยะเปดิ – ปิดอตั โนมัตดิ ้วยระบบเซน็ เซอร์. [Online].
Available : https://elecschool.navy.mi.th /pro/doc60/13ถังขยะเปดิ -ปดิ อัตโนมัตดิ ว้ ยระบบ
เซ็นเซอร์.pdf [2564, กรกฎาคม 4]

ภาวิณี หินขาว, 2558, การเคลอ่ื นที่ของวตั ถ.ุ [Online]. Available : https://sites.google.com
/site/pavineehinkaw1/6-kar-kheluxnthi-khxng-watthu [2564, สงิ หาคม 7]

รม่ ทองประไพ, 2559, ความหมายของการเคล่อื นท่ี. [Online]. Available :
https://sites.google.com/site/32441rom/home/khwam [2564, สิงหาคม 7]

สมเกียรติ บวั ทอง และคณะ, 2559, ถงั ขยะเคลือ่ นทดี่ ้วยระบบรโี มท. [Online]. Available :
http://www.thaiinvention.net [2564, กรกฎาคม 4]

ภาคผนวก ก
แบบเสนอโครงการวจิ ยั ส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ (ว-สอศ-2)

แบบเสนอโครงการวจิ ัยส่งิ ประดิษฐข์ องคนรุน่ ใหม่
(ว-สอศ-2)

ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
ปีพทุ ธศกั ราช 2563 - 2564

ผลงานสง่ิ ประดษิ ฐ์ประเภทที่ 1
สง่ิ ประดษิ ฐ์ด้านพฒั นาคุณภาพชีวติ

ถังขยะอัตโนมตั ิเคลอื่ นที่

วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง
อาชวี ศึกษาจังหวดั ระยอง
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

1

สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา แบบ ว-สอศ-2

(สำหรับนักเรยี น นกั ศกึ ษา)

แบบเสนอโครงการวจิ ยั สง่ิ ประดษิ ฐ์ของคนรุ่นใหม่ “สดุ ยอดนวตั กรรมอาชวี ศกึ ษา”

การประกวดสิ่งประดษิ ฐข์ องคนรุ่นใหม่ ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

ปีพทุ ธศกั ราช 2563 - 2564

......................................................................

ชอ่ื ผลงานวิจยั (ภาษาไทย) ถงั ขยะอัตโนมัติเคลอ่ื นท่ี

(ภาษาองั กฤษ) Automatic Trash Can Mobile

ชอื่ สถานศกึ ษา วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง อาชีวศกึ ษา จังหวัดระยอง

ท่ีอยู่ 086/13 ถนนตากสินมหาราช ตำบล ทา่ ประดู่ อำเภอ เมอื งระยอง จงั หวดั ระยอง

เบอร์โทรศพั ท์ 038-611192 E-mail : [email protected]

ส่วน ก : ลักษณะงานวิจัย  งานวิจัยต่อเนือ่ งระยะเวลา..........…..ปี
 งานวิจัยใหม่

ความสอดคล้องระดับชาติ
1. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติฉบบั ท่ี 12
ยทุ ธศาสตร์ สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกจิ และแข่งขนั ได้อย่างยัง่ ยืน
2. นโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารวจิ ยั ของชาตฉิ บับที่ 9
ยุทธศาสตร์ ส่งเสรมิ กลไกและกจิ กรรมการนำกระบวนการวจิ ัยผลงานวจิ ยั
องคค์ วามรู้ นวตั กรรม และเทคโนโลยีจากงานวจิ ยั ไปใช้ประโยชน์ไดจ้ รงิ
โดยความร่วมมอื ของภาคส่วนต่าง ๆ
3. ยุทธศาสตรก์ ารวจิ ัยของชาตริ ายประเดน็
ยุทธศาสตร์ การพฒั นาเทคโนโลยี
4. ยทุ ธศาสตรป์ ระเทศ
ยุทธศาสตร์ การพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวตั กรรม
5. นโยบายรฐั บาล/เปา้ หมายของรฐั บาล
นโยบาย/เปา้ หมาย การพฒั นาและสง่ เสรมิ การใช้ประโยชนจ์ ากวทิ ยาศาสตร์
เทคโนโลยี การวจิ ยั และพฒั นานวัตกรรม

2

ความสอดคลอ้ งระดับกระทรวง
1. นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร
นโยบาย การศกึ ษาเพอ่ื อาชพี และสรา้ งขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของ
ประเทศ
2. ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธิการ
ยทุ ธศาสตร์ ผลิตและพฒั นากำลังคน รวมท้ังงานวจิ ยั ท่ีสอดคล้องกับความ
ต้องการของประเทศ
3. ยทุ ธศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
ยทุ ธศาสตร์ ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั

ความสอดคลอ้ งระดบั ส่วนภูมภิ าค
1. ยทุ ธศาสตร์กล่มุ จังหวัดภาคตะวนั ออก
ยุทธศาสตร์ สง่ เสรมิ และพฒั นาอตุ สาหกรรมใหเ้ ป็นมติ รตอ่ สง่ิ แวดล้อม
2. จังหวดั ระยอง
ยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาความเปน็ เลศิ ด้านการศกึ ษา ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม
ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ และการกฬี า
3. พันธกจิ หรือนโยบายของสถานศกึ ษา/สถาบันการอาชวี ศึกษา
พนั ธกจิ หรอื นโยบาย มกี ารวิจยั และพฒั นาเพื่อสง่ ผลไปสคู่ วามเขม้ แขง็ ของ
สถาบนั และชมุ ชนให้สอดคล้องกับภูมิปัญญาของทอ้ งถ่ิน

โครงการวจิ ัยนี้ สามารถนำไปเผยแพรแ่ ละขยายผลไปสกู่ ารใชป้ ระโยชนไ์ ด้
 เชงิ นโยบาย (ระบุ) .................................................................................
 เชิงพาณชิ ย์ (ระบุ) นำไปทำเป็นธรุ กิจสง่ ออกขายได้
 เชงิ วชิ าการ (ระบ)ุ .................................................................................
 เชิงพืน้ ที่ (ระบุ) ......................................................................................
 เชิงสาธารณะ/สงั คม (ระบ)ุ ...................................................................
 อนื่ ๆ (ระบุ) ...........................................................................................

3

ภาพแบบร่าง/หรือภาพผลงานสง่ิ ประดิษฐ์

ส่วน ข : องค์ประกอบในการจัดทำโครงการวจิ ยั
1. ผรู้ บั ผดิ ชอบประกอบดว้ ย
1.1 หัวหนา้ ทมี โครงการวจิ ยั
นางสาวอารยา สนเอีย่ ม ตำแหน่ง ออกแบบ
ทอ่ี ยู่ 7/21 ซอยสามัคคี ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมอื งระยอง จังหวดั ระยอง
เบอร์โทรศัพท์ 062-3065351 E-mail : [email protected]
1.2 นกั วจิ ัยร่นุ ใหม่/คณะผู้ร่วมวจิ ยั
1.2.1 นางสาวอภิสรา เดชรกั ษา ตำแหนง่ พฒั นาถังขยะและจัดทำรปู เล่ม
ระดบั ชน้ั ปวส.2 สาขาวิชา เทคโนโลยธี รุ กิจดจิ ิทัล
1.3 คณะผรู้ ว่ มวจิ ยั /ท่ีปรึกษาโครงการวิจยั
1.3.1 นางสาวพณั ณ์ชติ า คำมะฤทธิ์สินชัย
ตำแหนง่ ครชู ำนาญการ
แผนกวิชา เทคโนโลยธี ุรกิจดจิ ทิ ลั สาขาวชิ าทีเ่ ชีย่ วชาญ คอมพิวเตอร์ธุรกจิ
1.3.2 นางสาวอจั ฉราภรณ์ เกล้ียงพรอ้ ม
ตำแหน่ง ครอู ตั ราจ้าง
แผนกวชิ า เทคโนโลยีธุรกิจดิจทิ ลั สาขาวิชาท่เี ช่ยี วชาญ คอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ
1.4 หนว่ ยงานหลัก วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง ที่อยู่ เลขท่ี 086/13 ถนนตากสนิ มหาราช
ตำบลท่าประดู่ อำเภอเมืองระยอง จังหวดั ระยอง เบอร์โทรศัพท์ 038-611192

4

1.5 หนว่ ยงานสนับสนนุ (ถ้ามี)
1.5.1 หน่วยงานภาครัฐ……………......…………………………………………………………
1.5.2 หน่วยงานภาคเอกชน…………......………………………………………………………..

1.6 อนื่ ๆ…………………………………………………………………………………………………………

2. ประเภทการวิจัย
 การวิจยั และพัฒนา (research and development)

3. สาขาวิชาการ/ประเภทส่งิ ประดิษฐข์ องคนรุน่ ใหม่
 สง่ิ ประดษิ ฐแ์ ละนวัตกรรมท่ที ำการวิจยั ประเภทท่ี 1
สิง่ ประดษิ ฐ์ดา้ นพฒั นาคุณภาพชวี ติ
 สิ่งประดิษฐแ์ ละนวัตกรรมทีท่ ำการวิจยั ประเภทที่ 2
ส่งิ ประดษิ ฐ์ดา้ นการประกอบอาชีพ
 สง่ิ ประดษิ ฐ์และนวตั กรรมทที่ ำการวจิ ัย ประเภทท่ี 3
สง่ิ ประดิษฐ์ดา้ นเพ่อื การอนรุ ักษพ์ ลังงาน
 สงิ่ ประดษิ ฐแ์ ละนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภทที่ 6
ส่ิงประดิษฐ์ดา้ นนวัตกรรมซอฟตแ์ วร์และระบบสมองกลฝงั ตัว
 ส่งิ ประดษิ ฐแ์ ละนวตั กรรมทท่ี ำการวิจัย ประเภทที่ 9
สิ่งประดษิ ฐ์ประเภทกำหนดโจทย์ : Mini Smart Farms

4. คำสำคัญ (keywords) ของการวจิ ยั
4.1 ถังขยะอตั โนมตั ิ หมายถงึ ถงั ขยะระบบเปิด – ปิดอัตโนมัติควบคมุ ด้วยเซ็นเซอร์
ตรวจจับความเคลอื่ นท่ไี หว
4.2 เคล่ือนท่ี หมายถงึ การเคลือ่ นท่ผี ่านแอพพลิเคชั่น blynk

5. ความสำคญั และท่มี าของปญั หาที่ทำการวิจัย
ขยะมูลฝอยหรือขยะทั่วไป เป็นปัญหาของคนส่วนใหญ่ ซึ่งสังคมไทยในปัจจุบัน

ไม่มีการจัดการที่ดีรวมถึงภาคครัวเรือนที่มีการทิ้งขยะหรือสิ่งปฏิกูลทุกวัน เช่นเศษ
อาหาร ถุงพลาสติก เศษกระดาษ อีกทั้งประเทศไทยเป็นเมืองการเกษตร ขยะ
อินทรีย์ หรือ สารเคมีจากปุ๋ยที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมรวมไปถึงจิตใต้สำนึกของคนใน
ยุคปัจจุบันที่ยังไม่คำนึงถึงผลกระทบต่าง ๆ ที่ตามมา ปัจจุบันขยะมูลฝอยนั้นนับวัน
จะเพิ่มมากขึ้นตามจำนวนประชากร ถ้าหากไม่มีการจัดการที่ดี และเหมาะสมกับ
ปัญหาความสกปรกต่าง ๆ ทำให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพอนามัย เช่น ปัญหาเรื่องเชื้อ
โรค สารเคมี และกลิ่นเหม็นที่แพร่ไปตามสถานที่ต่าง ๆ ปัจจุบันมีถังขยะอยู่จำนวน

5

มาก แต่ถังขยะที่มีอยู่ในปัจจุบันส่วนใหญ่นั้นอยู่ในสภาพที่ไม่สมบูรณ์เนื่องจากผ่าน
การใช้งานเป็นระยะเวลานาน เช่น ไม่มีฝาปิด ฝาถังชำรุด ถังขยะมีรอยแตกร้าว มี
การสะสมของขยะ และยังขาดการดูแลรักษาที่ดีซึ่งเป็นสถานที่สะสมของเชื้อโรค
และแบคทเี รยี อาจจะทำให้เกิดการตดิ เชอ้ื แกผ่ ู้ที่ท้ิงขยะโดยการสมั ผัสกับถงั ขยะ

ความเป็นไปได้ของโครงงานเป็นไปได้ที่จะบรรลุตามเป้าหมาย เนื่องจากกลุ่ม
ดิฉันตระหนักถึงปัญหาเหล่านี้ดังที่กล่าวมาข้างต้น ฉะนั้นเราจึงร่วมกันคิดหาเทคนิค
การทำต่อยอดจากถังขยะในรูปแบบเดิม มีการนำมาประยุกต์จากรายวิชาที่เรียน
ไมโครคอนโทรลเลอร์ พัฒนาคุณภาพชีวิต และเรดาร์โดยใช้เป็นระบบเซ็นเซอร์ของ
ถังขยะโดย นางสาวอัจฉราภรณ์ เกลี้ยงพร้อม และนางสาวพัณณ์ชิตา คำมะฤทธิ์สิน
ชัย ครูที่ปรึกษาที่คอยให้การสนับสนุนและให้คำปรึกษาเมื่อโครงงานสำเร็จจึงส่งผล
ทำใหม้ ีถงั ขยะท่ีมสี ภาพพร้อมใชง้ านและมปี ระสิทธภิ าพ ทำให้เกิดสภาพแวดลอ้ มท่ีดี
สะอาดเปน็ ระเบียบเรยี บร้อย รวมไปถึงการตอบสนองความตอ้ งการของมนุษย์ในยุค
ปัจจุบนั

ดังนั้นจึงได้จัดทำ ถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมัติด้วยระบบเซ็นเซอร์และการเคลื่อนที่
ผ่านแอพพลิเคชั่น เป็นโครงงานที่เห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาเทคโนโลยี
ประกอบเข้ากับปัญหาขยะในปัจจุบันเพื่อให้มนุษย์เห็นความสำคัญของการทิ้งขยะ
และปญั หาของส่งิ แวดลอ้ มสขุ อนามยั ของคนในยุคปัจจบุ ัน
6. วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย
6.1 เพ่อื สร้างถงั ขยะระบบ เปิด–ปิดอัตโนมัติควบคุมด้วยเซน็ เซอร์ตรวจจบั วตั ถุ และ

ควบคมุ การเคล่อื นทีผ่ า่ นแอพพลเิ คช่ัน blynk
6.2 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3

ห้อง 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อถังขยะ
อตั โนมัตเิ คลื่อนท่ี
6.3 เพือ่ เผยแพรผ่ า่ นโครงการประกวดโครงการวิชาชพี ชมรมวิชาเทคโนโลยีธรุ กจิ
ดิจิทลั วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง
7. ขอบเขตของการวจิ ัย
7.1 ขอบเขตดา้ นเนอ้ื หา
7.1.1 ศกึ ษาการทำงานของไมโครคอนโทรลเลอร์ เพ่ือประยกุ ต์ใช้ในการควบคมุ

การทำงานของระบบเปิด - ปดิ อตั โนมตั ิของถังขยะ
7.1.2 ศึกษาการทำงานของบอร์ด NodeMCU 8266 เพื่อประยุกต์ใช้ในการ

รบั ส่งสญั ญาณระหว่างมือถอื กบั ตวั บอรด์

6

7.1.3 ศกึ ษาการใช้งานแอพพลิเคช่นั blynk เพื่อใชใ้ นการควบคุมการเคลื่อนที่
ของถงั ขยะ

7.2 ขอบเขตดา้ นประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
นกั เรยี นระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั ปที ่ี 3 หอ้ ง 2 สาขาวิชาเทคโนโลยี

ธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2 สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง
7.3 ขอบเขตดา้ นเวลา

เดือนมิถุนายน 2564 – เดือนกนั ยายน 2564
8. ทฤษฎี สมมุติฐาน (ถา้ มี) และกรอบแนวความคดิ ของการวจิ ยั หรอื แบบร่าง

ตวั แปรต้น คือ ถังขยะ
ตวั แปรตาม คือ ถงั ขยะท่สี ามารถเปิด–ปิดอตั โนมตั ิควบคุมด้วยเซน็ เซอร์ตรวจจับ

วัตถุ และควบคุมการเคลือ่ นทีผ่ ่านแอพพลิเคชั่น blynk
ตัวแปรควบคมุ คือ แอพพลเิ คชั่น blynk
9. การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ (information) ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

พงศธร ต่ายธานี และคณะ (2560) ได้กล่าวว่าโครงงานสิ่งประดิษฐ์นี้เป็น
การศึกษาแบบจำลองถังขยะเปิด-ปิดอตั โนมตั ิด้วยระบบเซ็นเซอร์ในขณะเวลาที่ขยะ
เต็ม จะมีเสียงแจ้งเตือน ซึ่งต้องรู้จักหลักการทำงานของอุปกรณ์ การประกอบส่วน
ต่าง ๆ ของอุปกรณ์และการเขียนโปรแกรมควบคุมการทำงานตามวัตถุประสงค์ มี
การวิเคราะห์และหาข้อมูลในส่วนนั้น โดยควบคุมการทำงานจาก Arduino 2560
สั่งให้ Sensor รับสัญญาณและส่งกลับไปยัง Arduino 2560ให้สั่งให้ servo ทำงาน
ถังขยะจะเปิดปิดอัตโนมัติ เพื่อพัฒนาและขยายความสามารถให้มากขึ้นจาก
แบบจำลองถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมัติด้วยระบบเซนเซอร์ต่อไป ผลการทดลองพบว่า
ถังขยะเปิด - ปิดอัตโนมัติด้วยระบบเซ็นเซอร์การควบคุมด้วย Arduino 2560
สามารถควบคุมการเปิด - ปิด ถังขยะ แบบอัตโนมัติด้วยการติดตัวSensor สามารถ
รับสัญญาณได้ในทิศฉากกับพื้นส่งไปยัง Arduino 2560 สั่งให้ Servo ทำงานจึงได้
เพิ่มฐานรองพื้นถังขยะเพื่อทำให้ทราบว่า Sensor ตรวจจับในระยะนั้นจึงทำให้ถัง
ขยะเปิด - ปิดอัตโนมัติด้วยและมี Sensor ตรวจจับขยะอยู่บนฝาถังควบคุมด้วย
Arduino 2560 จะสัง่ เสียงเตือนจะส่งผลให้ทราบว่าขยะเต็ม

7

ไซฟุดดีน หนิจิบุลัด และคณะ (2562) ได้กล่าวว่าถังขยะหรรษาเป็นการทำงาน
ของเซนเซอร์ เมื่อใชบ้ อร์ด Arduino เมอื่ วัตถุมาอยูใ่ กลก้ บั เซนเซอร์ฝาถังขยะจะเปิด
เองโดยอัตโนมัติ และเมอื่ เราทงิ้ ขยะเสร็จฝากจ็ ะปิดเองโดยอตั โนมัติ

กนกวรรณ ศรีวงศ์สุข และคณะ (2562) ได้กล่าวว่าโครงงานสิ่งประดิษฐ์ “ถัง
ขยะอัจฉริยะ” นี้ ได้จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างถังขยะที่สามารถแยกขยะ
ได้อย่างถูกประเภท เพื่อลดปัญหาการทิ้งขยะผิดประเภท และเพื่อจัดการกับขยะท่ี
สามารถนำกลับมารีไซเคิลได้อย่างถูกวิธี เพราะในสังคมไทยปัจจุบันเกิดปัญหาขยะ
ล้นเมืองซึ่งยังคงเป็นปัญหาที่ยังแก้ไขได้ยากเนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ยังขา ด
ความเข้าใจเรื่องของการคัดแยกขยะรวมถึงการกำจัดขยะที่ถูกวิธีหลังจากที่ทิ้งขยะ
ลงไปในถังแล้ว ประชาชนกลับไม่รู้เลยว่าขยะเหล่านั้นอาจส่งผลกระทบต่อผู้อ่ืน
รวมถึงระบบนิเวศได้ ทางคณะผู้จัดทำจึงได้คิดค้นสิ่งประดิษฐ์นี้ขึ้นมาเพื่อทำให้การ
จัดการกับขยะประเภทต่างๆ มีความสะดวกและทำให้การแยกประเภทขยะมี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยถังขยะอัจฉริยะทำงานโดยมี Inductive Proximity
Sensor ติดอยู่บริเวณกล่องคัดแยก โดยInductive Proximity Sensor ทำงานโดย
ใช้หลักการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าในการทำงานโดยที่มาของ
สนามแม่เหล็กไฟฟ้านั้น เกิดจากบริเวณส่วนหัวของเซ็นเซอร์ ซึ่งสามารถตรวจจับ
วัตถุในระยะที่กำหนดได้โดยไม่มีการสัมผัสกับตัวของวัตถุ โดยเมื่อ Inductive
Proximity Sensor ตรวจจับได้ว่าวัตถุนั้นเป็นโลหะ ช่องสำหรับใส่โลหะก็จะเปิด
ออก จากนั้น Servo Motor (SG90) ก็จะหมุนตีขยะนั้นลงช่องสำหรับใส่โลหะ และ
ถ้า Inductive Proximity Sensor ตรวจจับได้ว่าวัตถุนั้นไม่เป็นโลหะ LDR
Photoresistor sensormodule โมดูลวัดแสง ก็จะท างาน เพื่อตรวจสอบว่าวัตถุ
นั้นเป็นชนิดใสหรือขุ่น โดยหากค่าแสงมีค่ามากกว่า500 ช่องสำหรับใส่ขวดใสก็จะ
เปิดออก จากนั้น Servo Motor (SG90) ก็จะหมุนตีขยะนั้นลงช่องสำหรับใส่ขวดใส
และหากค่าแสงมีค่าน้อยกว่า 500 ช่องสำหรับใส่ขวดขุ่นก็จะเปิดออก จากนั้น
Servo Motor (SG90)ก็จะหมุนตีขยะนั้นลงช่องสำหรับใส่กล่องนมซึ่งจากการ
ทดสอบพบว่า สามารถตรวจแยกขยะได้ทั้ง 3 ประเภท (กระป๋องอะลมู ิเนียม , กล่อง
นมและขวดพลาสติกใส) และมีผลความพึงพอใจด้านการใช้งาน “ลดปัญหาการท้ิง
ขยะผิดประเภท” มากที่สุดเป็นอันดับหนึ่ง และมีผลความพึงพอใจด้านชิ้นงาน
“ความเหมาะสมของขนาดชิน้ งาน” มากท่สี ดุ เป็นอันดบั หนง่ึ

สมเกียรติ บัวทอง และคณะ (2559) ได้กล่าวว่าในการประดิษฐ์ถังขยะเคลื่อนท่ี
ด้วยระบบรีโมทในครั้งนี้ เพื่อสร้างถังขยะเคลื่อนที่ด้วยระบบรีโมท ที่สามารถใช้งาน

8

ได้อย่างอัตโนมัติเพื่อทดสอบประสิทธิภาพการใช้งาน และเพื่อศึกษาความพึงพอใจ
ของผู้เกี่ยวข้องต่อถังขยะเคลื่อนที่ด้วยระบบรีโมท ที่สร้างโดยถังขยะติดตั้งระบบ
ควบคุมที่ผู้ใช้สามารถสั่งการด้วยรีโมทคอนโทรลและเปิดฝาถังขยะได้โดยไม่ต้อง
สัมผัสกับตัวถังขยะ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบบันทึกการทดสอบ
ประสิทธิภาพในการใช้งานถังขยะเคลื่อนที่ด้วยระบบรีโมท และแบบสอบถามความ
พึงพอใจต่อการใช้งานถังขยะเคลื่อนที่ด้วยระบบรีโมท ผลการวิจัยมีดังนี้ ถังขยะ
เคลื่อนที่ด้วยระบบรีโมท ที่ประดิษฐ์ขึ้น สามารถเปิดฝาถังขยะอัตโนมัติ
สะดวกสบายในการใช้งาน ซึ่งคณะผู้ประดิษฐ์ได้นำไปทดลองใช้งานจริงแล้ว จนได้
ถังขยะเคลื่อนที่ด้วยระบบรีโมท ที่มีประสิทธิภาพตามที่ต้องการ ด้านความพึงพอใจ
ต่อถังขยะเคลื่อนที่ด้วยระบบรีโมท พบว่า มีประสิทธิภาพ อยู่ในระดับมาก โดยมี
ค่าเฉลย่ี เท่ากับ 4.47 ซึ่งตรงตามวัตถปุ ระสงค์ทีผ่ ปู้ ระดษิ ฐ์ตอ้ งการ

กัลยากร กุระสุนทร และคณะ (2562) ได้กล่าวว่าการจัดทำโครงการครั้งนี้มี
วัตถุประสงค์เพื่อสร้างระบบเปิด – ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino ศึก
ษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
ธุรกิจวิทยาลัยเทคนิคระยองที่มีต่อระบบเปิด - ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม
Arduino และเผยแพร่ระบบเปิด – ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino
สำหรับการประเมินความพึงพอใจของผู้ที่ทดลองใช้ระบบเปิด - ปิดถังขยะอัตโนมัติ
ด้วยโปรแกรม Arduino โดยมีกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการเก็บผลคือ นักเรียนระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง จำนวน
52 คน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล คือ ระบบเปิด – ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วย
โปรแกรม Arduinoและแบบสอบถามความพึงพอใจความพึงพอใจของนักเรียน
ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง ที่
มีต่อระบบเปิด – ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรมArduino สถิติ ที่ใช้ในการ
วเิ คราะหข์ ้อมลู คือรอ้ ยละ คา่ เฉล่ีย และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน
10. การสบื คน้ จากฐานข้อมูลสทิ ธบิ ตั ร
10.1 ถังขยะ
10.2 อตั โนมัติ
10.3 เคลื่อนที่

9

11. เอกสารอ้างอิงของการวิจัย
1. กนกวรรณ ศรีวงศส์ ขุ และคณะ. (2562). ถังขยะอัจฉริยะ AUTO BIN. สืบค้น 4
กรกฎาคม 2564, จาก https://www.princess-it-f\foundation.org.pdf
2. กัลยากร กุระสุนทร และคณะ. (2562). ระบบเปิด - ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วย
โปรแกรม Arduino. สบื คน้ 4 กรกฎาคม 2564, จาก https://anyflip.com
3. ไซฟุดดีน หนิจิบุลัด และคณะ. (2562). ถังขยะอัตโนมัติหรรษา. สืบค้น 4
กรกฎาคม 2564, จาก https://www.princess-it-foundation.org.pdf
4. พงศธร ต่ายธานี และคณะ. (2560). ถังขยะเปิด - ปิดอัตโนมัติด้วยระบบ
เซ็นเซอร์. สืบค้น 4 กรกฎาคม 2564, จาก https://elecschool.navy.mi.th
/pro/doc60/13ถงั ขยะเปิด-ปดิ อตั โนมัตดิ ว้ ยระบบเซน็ เซอร.์ pdf
5. สมเกียรติ บัวทอง และคณะ. (2559). ถังขยะเคลื่อนที่ด้วยระบบรีโมท. สืบค้น 4
กรกฎาคม 2564, จาก http://www.thaiinvention.net

12. ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั
12.1 ได้ถังขยะระบบเปิด - ปิดอัตโนมัติควบคุมด้วยเซ็นเซอร์ตรวจจับวัตถุ และ
ควบคมุ การเคลอ่ื นทผี่ ่านแอพพลิเคชน่ั blynk
12.2 ได้ความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2
สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กิจดจิ ิทัล วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง ที่มีต่อถังขยะอตั โนมัติ
เคล่ือนทอี่ ยใู่ นระดบั ดี
12.3 ได้เผยแพร่ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพชมรมวิชาเทคโนโลยีธุรกิจ
ดิจิทลั วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง

13. แผนการถา่ ยทอดเทคโนโลยหี รอื ผลการวจิ ยั สูก่ ล่มุ เปา้ หมาย
13.1 พฒั นาถังขยะอัตโนมัติเคลื่อนที่
13.2 นำถังขยะอัตโนมัติเคลื่อนที่ ที่พัฒนาไปทดสอบประสิทธิภาพกับผู้ที่ใช้งานถัง
ขยะอตั โนมตั ิเคลอ่ื นที่
13.3 รวบรวมขอ้ มลู และนำมาปรบั ปรงุ
13.4 นำถงั ขยะอตั โนมัตเิ คลือ่ นท่ี ท่ีทำการปรบั ปรุงแลว้ ไปทดสอบประสิทธภิ าพ
อีกคร้ัง
13.5 จัดทำรูปเล่มวจิ ัยและแผ่นประชาสัมพนั ธ์

10

14. วธิ กี ารดำเนินการวิจยั และสถานท่ีทำการทดลอง/เก็บขอ้ มูล
14.1 สถานท่ใี นการทดลอง คือ วิทยาลัยเทคนิคระยอง
14.2 กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2
สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กิจดิจิทัล วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง
14.3 เครื่องมอื ในการวิจยั ประกอบไปดว้ ย 3 สว่ นดงั นี้
14.3.1 ระบบเปดิ - ปดิ ฝาถังขยะอตั โนมัติดว้ ยระบบเซ็นเซอร์
14.3.2 ถังขยะเคลื่อนท่ี คอนโทรลโดยแอพพลเิ คช่ันผา่ นสมารท์ โฟน
14.3.3 แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิค
ระยอง ที่มตี อ่ ถังขยะอตั โนมตั ิเคลอื่ นที่
14.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล คอื
14.4.1 เก็บรวบรวมขอ้ มูลเนือ้ หาประสิทธิภาพในการทดลอง
14.4.2 เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเพอ่ื หาความพึงพอใจ
14.5 วิเคราะหข์ อ้ มลู
ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวม จะดำเนินการแปลความหมายของค่าเฉลี่ยใน
แต่ละด้าน โดยใชเ้ กณฑ์การประเมิน แบง่ ออกเปน็ 5 ระดบั ดงั น้ี
4.50 – 5.00 หมายถึง ดีมาก
3.50 – 4.49 หมายถึง ดี
2.50 – 3.49 หมายถึง ปานกลาง
1.50 – 2.49 หมายถงึ พอใช้
1.00 – 1.49 หมายถงึ ปรับปรุง
14.6 สถิตทิ ่ีใช้
14.6.1 คา่ เฉลี่ย

̅ = ∑

โดยที่ ̅ คือ คา่ เฉลี่ย
∑ คือ ผลรวมของคะแนนทัง้ หมด
คือ จำนวนท้งั หมด

11

14.6.2 คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน

. . = √ ∑ 2 − (∑ )2
( − 1)

โดยท่ี . . คอื สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน

∑ คอื ผลรวมท้ังหมดของคะแนน

คอื จำนวนทั้งหมด
15. ระยะเวลาทำการวจิ ยั และแผนการดำเนินงานตลอดการวจิ ัย

1 ภาคเรยี น เดอื นมถิ นุ ายน 2564 – เดือนกนั ยายน 2564
16. ปจั จัยทเี่ อ้ือตอ่ การวจิ ยั (ถ้ามี)

โทรศัพทม์ ือถือสมารท์ โฟน
17. งบประมาณของการวจิ ยั

17.1 งบประมาณทัง้ หมด 1,372 บาท
17.2 รายละเอียดงบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ย

รายละเอียดงบประมาณการวิจัยจำแนกตามงบประเภทตา่ ง ๆ (ปงี บประมาณท่ีเสนอขอ)

รายการ จำนวนเงิน หมายเหตุ

1. งบบุคลากร -

คา่ จา้ งชั่วคราว -

2. งบดำเนินงาน -

2.1 ค่าตอบแทน ใชส้ อยและวัสดุ -

2.1.1 คา่ ตอบแทน เช่น -

คา่ ตอบแทนปฏบิ ัติงานนอกเวลาราชการ คา่ เบยี้ เลยี้ งประชุมกรรมการ

ฯลฯ

2.1.2 ค่าใช้สอย เช่น -

1) คา่ เบย้ี เล้ียง คา่ เช่าทพี่ กั คา่ พาหนะ -

2) คา่ จา้ งเหมาบริการ -

3) คา่ ใช้จา่ ยในการสมั มนาและฝกึ อบรม -

4) ค่าใช้สอยอน่ื ๆ -

2.1.3 คา่ วสั ดุ เชน่

12

รายการ จำนวนเงิน หมายเหตุ
1) วสั ดุสำนักงาน -
2) วสั ดุเช้อื เพลงิ และหล่อล่นื -
3) วสั ดไุ ฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
4) วัสดุโฆษณาและเผยแพร่ 1,059
5) วสั ดหุ นงั สอื วารสารและตำรา -
6) วัสดคุ อมพิวเตอร์ -
7) วัสดุอ่นื ๆ -
2.2 คา่ สาธารณูปโภค เช่น 313
ค่าไฟฟา้ ค่าน้ำประปา คา่ โทรศัพท์ คา่ ไปรษณยี ์ -
ค่าบรกิ ารดา้ นส่ือสารและโทรคมนาคม -
3. งบลงทนุ
คา่ ครภุ ณั ฑ์ -
-
รวมงบประมาณท่ีเสนอขอ 1,372

18. ผลสำเรจ็ และความคมุ้ ค่าของโครงการวจิ ัยท่ีคาดว่าจะได้รับ
18.1 ได้ถังขยะระบบเปิด - ปดิ อตั โนมตั ิควบคุมดว้ ยเซ็นเซอรต์ รวจจบั ความเคลื่อนท่ี
และควบคุมการเคล่ือนที่ผ่านแอพพลิเคชัน่ blynk
18.2 ได้ความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2
สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อถังขยะ
อัตโนมัตเิ คลื่อนท่อี ยใู่ นระดับดี
18.3 ได้เผยแพร่ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพชมรมวิชาเทคโนโลยีธุรกิจ
ดจิ ิทลั วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง

19. โครงการวิจยั นี้หรอื สว่ นใดส่วนหน่งึ หรืองานวจิ ัยสืบเน่ืองจากนี้
ไดย้ ่นื เสนอขอรบั ทนุ หรือไดร้ บั การสนบั สนนุ จากแหล่งทุนอ่ืนหรอื ไม่
 ไม่ได้ยื่นเสนอขอรับทุน
 ย่นื เสนอ โปรดระบแุ หลง่ ทุน …………………....................……………......………………
( ) ได้รบั การสนับสนนุ จาก…….....……ชอ่ื โครงการ…………...............................
( ) ไมไ่ ดร้ ับการสนับสนนุ
( ) ยงั ไม่ทราบผลการพจิ ารณา

13

20. โครงการวิจยั นี้มกี ารใชส้ ง่ิ มีชวี ติ ท่ีมกี ารดดั แปลงทางพนั ธกุ รรมหรอื ไม่
 มี  ไมม่ ี

21. คำช้ีแจงอน่ื ๆ (ถ้าม)ี
...............…………………...……………………………………………………………….…………………

22. ลงชอื่ หัวหนา้ ทมี วจิ ยั (นักศึกษา)

(ลงชอ่ื ).....................................................
(นางสาวอารยา สนเอ่ียม)

วนั ท.ี่ .......เดือน กรกฎาคม พ.ศ 2564

23. ลงชอ่ื ครทู ปี่ รกึ ษางานวิจยั

(ลงชอ่ื ).....................................................
(นางสาวอจั ฉราภรณ์ เกล้ยี งพรอ้ ม)

วนั ท่ี........เดือน กรกฎาคม พ.ศ 2564

24. คำรบั รองของหวั หน้าสาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจทิ ลั

(ลงชือ่ ).....................................................
(นายอทุ ยั ศรษี ะนอก)

วนั ท.่ี .......เดอื น กรกฎาคม พ.ศ 2564

14

สว่ น ค : ประวตั คิ ณะผ้วู จิ ัย
นกั เรียน นกั ศกึ ษา
1. นางสาวอารยา สนเอยี่ ม
Miss.Araya Sonieam
2. เลขหมายบตั รประจำตวั ประชาชน 1-5399-00777-87-9
3. ระดบั การศึกษา  ปวช. ชั้นปีท่ี ....................  ปวส. ชน้ั ปีที่ 2
สาขาวชิ า เทคโนโลยีธรุ กิจดิจิทลั สาขางาน เทคโนโลยธี ุรกจิ ดจิ ทิ ัล
ระยะเวลาท่ีใชท้ ำวจิ ยั เดือนมถิ นุ ายน 2564 – เดอื นกันยายน 2564
4. ที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
7/21 ซอยสามคั คี ตำบลมาบตาพดุ อำเภอเมอื งระยอง จังหวดั ระยอง
เบอร์โทรศพั ท์ 062-3065351 (e-mail) [email protected]

1. นางสาวอภสิ รา เดชรักษา
Miss.Apisara Dechraksa

2. เลขหมายบตั รประจำตวั ประชาชน 1-2199-00803-49-0
3. ระดับการศกึ ษา  ปวช. ช้นั ปีท่ี ....................  ปวส. ชนั้ ปที ่ี 2

สาขาวชิ า เทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจิทลั สาขางาน เทคโนโลยีธรุ กิจดจิ ิทลั
ระยะเวลาทีใ่ ช้ทำวจิ ยั เดือนมถิ ุนายน 2564 – เดือนกนั ยายน 2564
4. ที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
13/19 ถนนสาย 36 ตำบลมาบขา่ อำเภอนิคมพฒั นา จงั หวดั ระยอง
เบอร์โทรศพั ท์ 095-2108054 (e-mail) [email protected]

15

ประวตั คิ รูทป่ี รึกษา
1. นางสาวพณั ณช์ ิตา คำมะฤทธ์ิสนิ ชัย

Miss.Panchita Kummaritsinchai
2. ตำแหนง่ ปัจจบุ ัน ครชู ำนาญการ แผนกวิชา เทคโนโลยธี รุ กจิ ดจิ ิทลั
3. หน่วยงานและสถานทอ่ี ยทู่ ตี่ ิดต่อได้สะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์

แผนกวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดจิ ทิ ลั วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง
ทีอ่ ยู่ 086/13 ถนนตากสนิ มหาราช ตำบลท่าประดู่ อำเภอเมอื งระยอง จงั หวดั ระยอง
เบอร์โทรศัพท์ 086-1584459 (e-mail) [email protected]
4. ประวัตกิ ารศกึ ษา (ต้งั แต่ระดบั ปรญิ ญาตรีขนึ้ ไป)
ปริญญาตรี : สาขาคอมพิวเตอรศ์ กึ ษา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏราชนครนิ ทร์
ปรญิ ญาโท : สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์ คอมพวิ เตอร์

สถาบันเทคโนโลยีเจ้าคุณทหารลาดกระบงั
5. สาขาวชิ าการท่มี ีความชำนาญพเิ ศษ (แตกตา่ งจากวุฒิการศกึ ษา) ระบสุ าขาวชิ าการ

- ไม่มี -
6. ประสบการณท์ ่ีเกยี่ วข้องกบั การบริหารงานวจิ ยั ท้ังภายใน และภายนอกประเทศ

งานวจิ ัยภายใน ตีพิมพส์ ำนักครุ ุศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ อตุ สาหกรรม
สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง

1. นางสาวอจั ฉราภรณ์ เกลยี้ งพร้อม
Miss.Utcharaporn Kliangphrom

2. ตำแหน่งปัจจบุ นั ครูอัตราจา้ ง แผนกวิชา เทคโนโลยีธรุ กิจดจิ ทิ ัล
3. หน่วยงานและสถานทอี่ ยทู่ ีต่ ิดต่อได้สะดวก พรอ้ มหมายเลขโทรศพั ท์

แผนกวิชาเทคโนโลยธี ุรกจิ ดิจิทลั วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง
ที่อยู่ 086/13 ถนนตากสนิ มหาราช ตำบลทา่ ประดู่ อำเภอเมืองระยอง จงั หวดั ระยอง
เบอร์โทรศพั ท์ 038-611192 (e-mail) [email protected]
4. ประวัติการศกึ ษา (ต้งั แต่ระดับปริญญาตรขี น้ึ ไป)
ปรญิ ญาตรี : สาขาวิศวกรรมไฟฟา้ วิชาเอกวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี
5. สาขาวชิ าการทมี่ ีความชำนาญพเิ ศษ (แตกต่างจากวฒุ ิการศึกษา) ระบสุ าขาวิชาการ

- ไม่มี -
6. ประสบการณ์ที่เกย่ี วขอ้ งกบั การบริหารงานวจิ ยั ทั้งภายใน และภายนอกประเทศ

- ไม่มี -

ภาคผนวก ข
แบบสอบถามความพงึ พอใจ

แบบสอบถามความพงึ พอใจ
นกั เรยี นระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชพี ชัน้ ปที ี่ 3 ห้อง 2
สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กจิ ดจิ ทิ ัล วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง

ทีม่ ีต่อถงั ขยะอัตโนมตั ิเคลอื่ นท่ี



คำช้ีแจง : แบบสอบถามนจ้ี ัดทำขนึ้ เพ่ือสอบถามความพึงพอใจของนกั เรยี นระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี

ชัน้ ปีท่ี 3 ห้อง 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจทิ ัล วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง ทีม่ ีต่อถังขยะอตั โนมตั เิ คลือ่ นท่ี

โดยแบบสอบถามแบง่ ออกเป็น 3 ส่วน และกรุณากรอกขอ้ มลู ใหค้ รบทั้ง 3 สว่ น

ส่วนท่ี 1 : ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถามโดยทำเคร่ืองหมาย ✓ ลงในช่องวา่ ง

เพศ :  ชาย  หญงิ

อายุ :  15 – 16 ปี  17 – 18 ปี  19 – 20 ปี

สว่ นท่ี 2 : แบบสอบถามความพงึ พอใจของโครงงาน “ถังขยะอัตโนมตั เิ คลื่อนที่ สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กจิ

ดจิ ทิ ัล วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง”

5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = ปานกลาง 2 = พอใช้ 1 = ปรบั ปรงุ

กรุณาทำเคร่ืองหมาย ✓ ลงในช่องว่างท่ีตรงกับความคิดเหน็ ของท่านมากที่สดุ

หัวข้อแบบสอบถามความพงึ พอใจ ระดบั ความพึงพอใจ
54321

ดา้ นโครงสรา้ ง

1. ภาพรวมของถังขยะอัตโนมตั เิ คลือ่ นที่มีความ

สมบูรณ์

2. ความแขง็ แรงของถังขยะอัตโนมตั ิเคลอ่ื นที่

3. ขนาดของถงั ขยะอัตโนมัตเิ คล่อื นที่

4. ความทนทานของวัสดุทใ่ี ช้

5. ชนิ้ งานมคี วามสวยงามและน่าสนใจ

หัวขอ้ แบบสอบถามความพงึ พอใจ 5 ระดบั ความพึงพอใจ 1
432
ดา้ นการใช้งาน
6. ความสะดวกในการใช้งานของถังขยะอัตโนมตั ิ

เคล่อื นท่ี
7. ความปลอดภัยของถงั ขยะอตั โนมตั ิเคลอ่ื นที่
8. ความสามารถในการตรวจจบั ความเคลือ่ นไหว
9. ความสามารถในการเคล่ือนที่
ดา้ นความคมุ้ ค่า
10. ระยะเวลาท่ีใช้ในการทำถังขยะอัตโนมัตเิ คลอ่ื นท่ี
11. ถงั ขยะอตั โนมตั เิ คลอ่ื นทสี่ ามารถใชง้ านได้จรงิ

ส่วนที่ 3 : ขอ้ เสนอแนะ
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

ภาคผนวก ค
QR Code Video ถงั ขยะอัตโนมัตเิ คลื่อนท่ี

QR Code Video ถงั ขยะอัตโนมตั เิ คล่อื นท่ี

ประวตั ิผ้จู ดั ทำ

ประวตั ิผูจ้ ัดทำ

รปู นกั เรียน
นักศกึ ษา
ขนาด 1 นว้ิ

ประวตั ิส่วนตวั : นางสาวอภิสรา เดชรกั ษา
ชื่อ-สกลุ : ถังขยะอตั โนมัตเิ คลอ่ื นที่
ชื่อโครงการ : เทคโนโลยธี รุ กิจดิจิทลั
สาขาวิชา : 26 พฤษภาคม 2544
วนั เดอื น ปเี กดิ : 13/19 ถนนสาย 36 ตำบลมาบข่า อำเภอนคิ มพฒั นา
ท่ีอยู่ (ปจั จบุ ัน)
จังหวัดระยอง
เบอรโ์ ทรศัพท์ : 0952108054

ประวัติการศกึ ษา : โรงเรยี นนคิ มสรา้ งตนเองจังหวัดระยอง 1
ประถมศึกษาปที ่ี 6 : โรงเรยี นนิคมวิทยา
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 : โรงเรียนนคิ มวิทยา
มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 : วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สงู (ปวส.)
ปัจจบุ นั ศึกษาอยู่

ประวตั ิผู้จดั ทำ

รปู นกั เรียน
นกั ศกึ ษา
ขนาด 1 นว้ิ

ประวตั ิสว่ นตวั : นางสาวอารยา สนเอยี่ ม
ชื่อ-สกลุ : ถังขยะอัตโนมตั เิ คล่อื นที่
ชอ่ื โครงการ : เทคโนโลยีธรุ กิจดจิ ิทัล
สาขาวชิ า : 2 มกราคม 2545
วนั เดอื น ปเี กดิ : 7/21 ซอยสามัคคี ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมอื งระยอง
ทอี่ ยู่ (ปัจจบุ นั )
จังหวัดระยอง
เบอรโ์ ทรศพั ท์ : 062-3065351

ประวัติการศกึ ษา : โรงเรยี นวฒุ นิ นั ท์
ประถมศกึ ษาปีที่ 6 : โรงเรยี นมาบตาพุดพันพทิ ยาคาร
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 : โรงเรียนมาบตาพดุ พันพิทยาคาร
มธั ยมศึกษาปีที่ 6 : วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้ันสูง (ปวส.)
ปัจจบุ ันศึกษาอยู่