ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ

บทเรียนออนไลน์

แผนการเรียนรู้ที่ 12 เรื่อง การตัดสินใจเลือกปัญหาจากสถานการณ์ที่สนใจเพื่อพัฒนาโครงงาน

แผนการเรียนรู้ที่  12 เรื่อง  การตัดสินใจเลือกปัญหาจากสถานการณ์ที่สนใจเพื่อพัฒนาโครงงาน 

จุดประสงค์การเรียนรู้
 นักเรียนสามารถอธิบายความหมายการตัดสินใจเลือกปัญหาจากสถานการณ์ที่สนใจเพื่อพัฒนาโครงงานได้

          การเลือกสถานการณ์ที่เป็นปัญหา เพื่อพัฒนาเป็นหัวข้อโครงงาน อาจพิจารณาจากความน่าสนใจ ความสำคัญของสถานการณ์ที่เป็นปัญหา และผลกระทบที่เกิดขึ้นหากไม่แก้ไข การตัดสินใจเลือกปัญหา ควรใช้ความรู้จากศาสตร์ต่างๆ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาวิเคราะห์ปัญหา

 การพัฒนาโครงงานโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
ได้แก่ 1. ระยะเริ่มต้นของโครงงาน 2. ระยะพัฒนาโครงงาน 3. ระยะนำเสนอโครงงาน
1. ระยะเริ่มต้นโครงงาน ประกอบด้วย การสำรวจสถานการณ์ของปัญหา
2. ระยะพัฒนาโครงงาน ประกอบด้วย ขั้นระบุปัญหา ขั้นรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา ขั้นออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ขั้นวางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา และขั้นทดสอบ ประเมินผลและปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
3. ระยะนำเสนอโครงงาน ประกอบด้วย ขั้นการนำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน

ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ

/client-upload/np/uploads/files/%E0%B9%83%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2012.pdf


เข้าดู : 5833 ครั้ง

ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ

ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ

ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
"โครงงาน" คือ การศึกษาค้นคว้า หรือ การทดลอง หรือ การทำสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ผู้ทำต้องการศึกษา ต้องการรู้ สงสัย หรือต้องการแก้ปัญหา ด้วยกระบวนการที่เป็นวิทยาศาสตร์จนกระทั่งได้ข้อสรุป หรือ ผลลัพธ์ ซึ่งข้อสรุปหรือผลลัพธ์นี้อาจเป็นไปตามจุดมุ่งหมายหรือไม่ก็ได้ เพราะโครงงานนั้นเกิดขึ้นจากการที่ผู้ทำไม่เคยรู้มาก่อน ดังนั้นหากผลลัพธ์จะออกมาโดยไม่ตรงกับจุดมุ่งหมายก็มิใช่ปัญหาของการทำโครงงานแต่อย่างใด
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
"โครงงานก็เปรียบเสมือนกับการทำงานวิจัยเล็กๆ" เนื่องจากโครงงานนั้นมีรูปแบบ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
ขั้นตอนและกระบวนการ ไม่ต่างไปจากงานวิจัยเลย แต่สิ่งที่ต่างออกไป คือ ผู้ทำยังอยู่ในช่วงวัยที่ความสามารถในการทำอาจยังไม่เทียบเท่ากับนักศึกษา นักวิชาการ หรือ นักวิจัย เพียงเท่านั้น อีกอย่างในการทำโครงงานนั้นก็จะไม่เข้มงวดในการทำเท่ากับการทำวิจัย

1.1 ประเภทของโครงงาน

ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
ประเภทของโครงงานนั้นได้ถูกแบ่งออกโดยใช้หลักเกณฑ์ 2 อย่างด้วยกัน คือ
1) หลักเกณฑ์ขอบเขตเนื้อหาของโครงงาน และ
2) หลักเกณฑ์วัตถุประสงค์ของการทำโครงงาน ซึ่งไม่ว่าจะเป็นโครงงานใดๆ ก็แล้วแต่ ก็จะอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ทั้ง 2 อย่างนี้ทั้งสิ้น อันเนื่องมาจากในโครงงานนั้นจะต้องมีทั้ง 2 อย่างนี้อยู่ด้วย กล่าวคือ การทำโครงงานต้องมีเนื้อหาที่จะทำ และ จะต้องมีวัตถุประสงค์ในการทำ ดังนั้นเรามาทำความรู้จักกับประเภทของโครงงานโดยละเอียดกันเลยดีกว่า ทั้งนี้ก็เพื่อให้สามารถทำโครงงานได้อย่างถูกต้อง

ประเภทของโครงงานตามขอบเขตของเนื้อหา
                ประเภทของโครงงานตามขอบเขตของเนื้อหานั้นถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทด้วย คือ
                 1. โครงงานตามสาระการเรียนรู้ คือ การทำโครงงานโดยดูจากขอบเขตของเนื้อหาสาระ เช่น โครงงานวิทยาศาสตร์, โครงงานคอมพิวเตอร์ และ โครงงานประวัติศาสตร์ เป็นต้น
                 2. โครงงานตามความสนใจ คือ การทำโครงงานในเรื่องที่ผู้ทำมีความสนใจ โดยไม่ต้องสนใจว่าโครงงานที่ทำนั้น จะอยู่ภายใต้ขอบเขตเนื้อหาใดๆ หรือไม่

ประเภทของโครงงานตามวัตถุประสงค์
ประเภทของโครงงานตามวัตถุประสงค์นั้นแบ่งออกเป็น 4 ประเภทด้วยกัน คือ
                 1. โครงงานที่เกี่ยวกับการสำรวจรวบรวมข้อมูล อาทิ การสำรวจฐานะทางการเงินของประชากรในจังหวัดกรุงเทพฯ, การสำรวจอาชีพของประชากรในจังหวัดใดจังหวัดหนึ่ง และ การสำรวจความคิดเห็นเรื่องใดเรื่องหนึ่งของประชากรในพื้นที่ เป็นต้น โครงงานประเภทนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการรู้ถึงสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่สามารถทำได้ด้วยการสำรวจและรวบรวมข้อมูล ซึ่งโครงงานประเภทนี้มักจะใช้เครื่องมือในการทำโครงงาน คือ แบบสำรวจ, แบบสอบถาม, แบบสังเกต เป็นต้น
                  2. โครงงานที่เกี่ยวกับการทดลอง อาทิ การทดลองปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน, การทดลองปลูกผักไร้สารพิษ, แสงมีผลต่อการเจริญเติบโตของผัก เป็นต้น โครงงานประเภทนี้มักเป็นโครงงานที่ต้องการทำการเปรียบเทียบความเหมือน ความต่าง หรือต้องการผลลัพธ์ในทางใดทางหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้นจากตัวแปรที่แตกต่างกัน
                  3. โครงงานที่เกี่ยวกับสิ่งประดิษฐ์หรือการพัฒนา อาทิ การสร้างผลิตภัณฑ์จากกระดาษ, การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชในท้องถิ่น, การแปรรูปและเพิ่มมูลค่าสินค้าทางการเกษตร เป็นต้น โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ หรือพัฒนาสิ่งที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพหรือผลลัพธ์ที่ดีขึ้น
                  4. โครงงานที่เกี่ยวกับทฤษฎีและหลักการ อาทิ การเกษตรตามแนวทางทฤษฎีใหม่, การผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ และการผลิตเชื้อเพลิงจากพืชทางการเกษตร เป็นต้น โครงงานประเภทนี้มักเป็นโครงงานที่ทำกันเพื่อตรวจสอบทฤษฎีและหลักการว่าเป็นไปตามนั้นหรือไม่

ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ

ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
การพัฒนาโครงงานเป็นกิจกรรมที่เริ่มจากการศึกษาสิ่งที่นักเรียนสนใจ จากนั้นดำเนินการออกแบบ วางแผน ลงมือปฏิบัติจนเกิดผลลัพธ์ และเผยแพร่ผลงานนั้น ซึ่งนักเรียนจะเกิดการเรียนรู้และเข้าใจในสิ่งที่สนใจอย่างถ่องแท้
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
แนวทางการพัฒนาโครงงาน ควรเริ่มจากการกำหนดปัญหา ซึ่งอาจเป็นปัญหาที่พบในชีวิตประจำวัน หรือปัญหาที่มีผู้แก้ไขไว้แล้ว แต่เราเห็นช่องทางที่จะพัฒนาให้ดีขึ้น หลังจากกำหนดปัญหาแล้ว เราต้องทำการศึกษาและกำหนดขอบเขตของปัญหาที่ต้องการแก้ไข รวมทั้งศึกษาความรู้เพิ่มเติม แล้ววางแผนกำหนดกิจกรรมและการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ จากนั้นดำเนินการพัฒนาโครงงานตามแผนที่วางไว้ ซึ่งระหว่างการพัฒนา อาจต้องมีการปรับเปลี่ยนแผน เพื่อให้พัฒนาโครงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และแก้ไขปัญหาได้ตรงจุดที่กำหนดไว้ เมื่อพัฒนาโครงงานเสร็จแล้ว จึงทำการสรุปผลและเผยแพร่ผลงาน เพื่อเป็นประโยชน์แก้ผู้อื่นต่อไป โดยแนวทางการกำหนดปัญหามีดังนี้

1. ที่มาของปัญหา

ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
1.1 ปัญหาในชีวิตประจำวัน เช่น การควบคุมค่าใช้จ่ายส่วนตัว หรือในครอบครัว เป็นต้น
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
1.2 ปัญหาในการเรียน หรือการทำงาน เช่น การลืมทำการบ้าน
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
1.3 ปัญหาในระดับชุมชน หรือระดับประเทศ เช่น ปัญหานักท่องเที่ยวไม่รู้จักแหล่งท่องเที่ยวในชุมชน
2. แหล่งจุดประกายความคิดในการพัฒนาโครงงาน อาทิ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
2.1 กิจกรรมในชีวิตประจำวัน การเรียน งานอดิเรก และงานที่รับผิดชอบ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
2.2 โทรทัศน์ รวมทั้งข่าวสารทางอินเตอร์เน็ต
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
2.3 หนังสือ วารสาร ภาพยนตร์ การ์ตูน เกม หรือสื่อต่างๆ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
2.4 การเข้าค่ายอบรม การร่วมอภิปราย
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
2.5 ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน หรือแหล่งท่องเที่ยว
3. องค์ประกอบเพื่อการตัดสินใจเลือกโครงงาน
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
3.1 ความรู้ ความสามารถ ความสนใจ ความถนัด และประสบการณ์ของผู้ทำโครงงาน โดยพิจารณาได้จากคะแนนวัดผลความรู้หรือผลงานที่เคยปฏิบัติ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
3.2 ประโยชน์ของโครงงาน โดยโครงงานนั้นจะต้องสามารถนำภาระงาน ชิ้นงาน และกิจกรรมอิสระนั้นไปพัฒนาและใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
3.3 ความคิดสร้างสรรค์ โดยเป็นโครงงานที่ไม่มีผู้ใดทำไว้หรือเป็นการพัฒนาโครงงานที่มีผู้อื่นทำไว้แล้ว ซึ่งโครงการนั้นจะต้องมีความแปลกใหม่และทันสมัย
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
3.4 ระยะเวลา โดยผู้ทำโครงงานควรกำหนดวันสิ้นสุดโครงงานให้ชัดเจน เพื่อให้สามารถประมาณระยะเวลาลงในตารางดำเนินการของโครงงานในแต่ละขั้นตอน
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
3.5 ค่าใช้จ่าย โดยผู้ทำโครงงานจะต้องประเมินค่าใช้จ่ายทั้งหมด ยึดหลักความคุ้มค่า ในการทำโครงงานด้วยการเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่แล้วมากกว่าการจัดหาใหม่
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
3.6 ความปลอดภัย โดยผู้ทำโครงงานควรเลือกทำโครงงานที่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ทำโครงงาน สังคม และประเทศชาติ หากโครงงานนั้นมีความเสี่ยงที่อาจเกิดอันตราย ผู้ทำโครงงานควรประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การทำโครงงานคอมพิวเตอร์นั้นอยู่ในการดูแลและควบคุมของผู้เชี่ยวชาญ(Professional)
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
3.7 ค่านิยมและวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยผู้ทำโครงงานควรหลีกเลี่ยงการทำโครงงานที่ขัดต่อความเชื่อ วัฒนธรรม หรือประเพณีต่างๆของท้องถิ่น

ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ

ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ

ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
การพัฒนาโครงงานนั้น ควรที่จะต้องศึกษาถึงที่มาและความสำคัญของโครงงาน ว่าโครงงานนั้นแก้ปัญหาอะไร และหากแก้ปัญหาแล้ว ได้ประโยชน์อะไรกับใครบ้าง รวมทั้งแนวทางในการแก้ปัญหานั้นมีความแปลกใหม่ในเชิงทฤษฎีหรือเชิงเทคนิคใดบ้าง หลังจากนั้นควรระบุวัตถุประสงค์ในการพัฒนาโครงงานให้ชัดเจนว่าต้องการพัฒนาอะไร แก้ปัญหาในมุมใด และควรที่จะต้องกำหนดแนวทางและขอบเขตของโครงงานว่าจะแก้ปัญหาในส่วนใดบ้าง ใช้ความรู้และทรัพยากรใดบ้าง จากนั้นจึงประเมินระยะเวลาและงบประมาณของโครงงานว่า โครงงานดังกล่าวจะใช้ระยะเวลาและงบประมาณเท่าใด โดยมีรายละเอียดในขั้นตอนต่างๆ ดังนี้

ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
3.1 การศึกษาที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
คุณค่าของโครงงานที่เราจะพัฒนาขึ้นอยู่กับความสำคัญของปัญหานั้นๆ จึงต้องระบุให้ได้ว่าปัญหาที่จะแก้มีความสำคัญอย่างไร มีความรุนแรงแค่ไหน หากแก้ปัญหานั้นแล้วจะได้ประโยชน์อย่างไร
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
การระบุที่มาและความสำคัญควรเริ่มต้นจากการอธิบายปัญหาที่เกิดขึ้น โดยต้องระบุให้เห็นภาพว่ามีปัญหาเกิดขึ้นจริง ผลกระทบของปัญหามีความสำคัญและปัญหานั้นยังไม่ได้รับการแก้ไขหรือยังไม่ได้รับการแก้ไขที่ดีพอ ซึ่งหากเป็นปัญหาที่เข้าใจยาก เช่น ปัญหาเฉพาะทางแล้วควรที่จะอธิบายในส่วนนี้ให้ชัดเจน อาจมีการยกตัวอย่างหรือมีภาพประกอบเพื่อเพิ่มความเข้าใจทั้งนี้การระบุถึงความสำคัญ ความรุนแรงของปัญหา รวมทั้งการระบุแนวทางการแก้ปัญหาที่เหมาะสมนั้น ควรมีการอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ เช่น การระบุถึงความสำคัญของปัญหาสังคมผู้สูงอายุ อาจอ้างอิงข้อมูลจำนวนผู้สูงอายุจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
หลังจากที่ได้ระบุที่มาและความสำคัญของปัญหาแล้ว ควรนำผลการศึกษาและวิเคราะห์การแก้ปัญหาด้วยวิธีอื่นๆ ที่มีอยู่ว่ามีข้อดีและข้อจำกัดอย่างไร มาอธิบายโดยเน้นที่ข้อจำกัดของวิธีแก้ปัญหาเดิม เพื่อใช้เป็นเหตุผลสนับสนุนในการพัฒนาโครงงาน
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
จากนั้นให้อธิบายถึงภาพรวมของโครงงานโดยระบุให้ชัดเจนว่า โครงงานนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อแก้ปัญหา ใด ด้วยวิธีใด และบรรยายวิธีการแก้ปัญหาที่เลือกใช้ ซึ่งจะต้องมีการอ้างอิงทฤษฎีที่เกี่ยวข้องหรือแนวทางที่มีการพัฒนามาแล้ว เพื่อให้เห็นภาพว่า โครงงานนี้จะสำเร็จออกมาในรูปแบบใดมีการต่อยอดหรือลดข้อจำกัดของวิธีการเดิมอย่างไร
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
เรื่องที่ควรระบุคือผลกระทบที่จะเกิดขึ้น หลังจากที่พัฒนาโครงงานสำเร็จแล้ว ไม่ว่าจะเป็นผลกระทบต่อตนเอง สังคม หรือจะเป็นคุณค่าในเชิงวิชาการอย่างไร
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
3.2 การระบุวัตถุประสงค์ของโครงงาน
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
ในข้อนี้เป็นการระบุว่าโครงงานนี้จะทำอะไร ผลลัพธ์ที่ได้คืออะไร เช่น โปรแกรม ขั้นตอนวิธี หรือองค์ความรู้ใหม่ ในการระบุวัตถุประสงค์ควรเริ่มต้นประโยคที่ระบุสิ่งที่จะทำให้ชัดเจน เช่น “เพื่อศึกษาความเป็นไปได้” “เพื่อสร้างต้นแบบในการ............”
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
การเขียนวัตถุประสงค์นั้นต้องคำนึงไว้เสมอว่าวัตถุประสงค์แต่ละข้อต้องวัดผลได้ ไม่ว่าจะเป็นการวัดผลในด้านประสิทธิภาพจากการทดลอง หรือแบบสำรวจ เช่น ยากันยุงที่จัดทำขึ้นนี้บรรจุได้กี่ถุง ถุง ถุงละกี่กรัม และใช้ได้กี่วัน ไม่ควรเขียนว่าใช้จนกลิ่นหมด ควรหลีกเลี่ยงคำคุณศัพท์ที่ไม่สามารถวัดค่าเป็นตัวเลขได้

ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
3.3 การระบุแนวทางและขอบเขตของโครงงาน
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
การพัฒนาโครงงานที่ดีนั้น ควรกำหนดขอบเขตสิ่งที่จะทำหรือไม่ทำให้ชัดเจน เพราะแม้ว่าจะเป็นปัญหาเดียวกัน โครงงานที่พัฒนาแต่ละโครงงาน  อาจจะแก้ปัญหาจากคนละด้าน โดยการระบุขอบเขตโครงงานในส่วนที่ต้องทำ สามารถระบุได้ไม่ยากนัก แต่ส่วนที่อยู่นอกเหนือขอบเขตของโครงงานมีจำนวนมาก จึงต้องระบุให้ชัดเจนเพื่อให้คนทั่วไปเข้าใจได้ ซึ่งการเขียนส่วนนี้ต้องอาศัยประสบการณ์หรือผู้มีความเชี่ยวชาญมาช่วยตรวจทาน
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
การเขียนแนวทางและขอบเขตของโครงงานนี้ ควรเริ่มจากการอธิบายภาพรวมของโครงงาน อาจใช้สตรอรี่บอร์ดอธิบายถึงขั้นตอนการทำงานของระบบ รวมทั้งอาจใช้ภาพ แผนผัง แบบจำลองหรือโปรแกรมอื่นๆ มาช่วยอธิบายให้เห็นขั้นตอนการทำงานของโครงงานที่จะพัฒนา โดยในส่วนนี้ควรระบุถึงเทคนิคและเทคโนโลยีที่ใช้เพื่อให้ผู้อ่านเห็นภาพรวมของระบบ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
หลังจากที่อธิบายการทำงานของระบบรวมถึงเทคนิค เทคโนโลยี และเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาแล้ว ก็จะเป็นการระบุรายละเอียดการทำงาน ของโครงงานที่พัฒนา สำหรับโครงงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศนั้น อาจจะกำหนดรายละเอียดของงานหรือโปรแกรมที่จะพัฒนาว่าจะใช้และแสดงผลเป็นข้อมูลใดบ้าง หลังจากนั้นจะเป็นการอธิบายโครงสร้างระบบหรือแผนการดำเนินงาน โดยให้รายละเอียดของขอบเขตและข้อจำกัดของโครงงานที่จะพัฒนาอย่างชัดเจน
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
การระบุแนวทางและขอบเขตของโครงงานจะช่วยให้ทราบว่าการพัฒนาโครงงานนี้ ต้องศึกษาความรู้หรือเทคนิคใด รวมทั้งต้องจัดหาทรัพยากรใดเพิ่มเติมบ้าง เพื่อให้การพัฒนาโครงงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
3.4 ประเมินทรัพยากรที่ใช้ในโครงงาน

ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
การประเมินทรัพยากรที่ใช้ในโครงงานจะทำการประเมินทั้งงบประมาณและระยะเวลาของโครงงาน ซึ่งการประเมินงบประมาณการจัดหาทรัพยากรต่างๆ ทั้งในด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ บุคลากร รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการจัดจ้างทำส่วนประกอบหรือจัดเก็บข้อมูล ส่วนการประเมินระยะเวลาของโครงงานนั้น ทำได้โดยแบ่งโครงงานเป็นกิจกรรมย่อย ประเมินเวลาที่ต้องใช้ในแต่ละกิจกรรม แล้วจึงมาทำการวางแผนผังในการดำเนินกิจกรรม เพื่อประเมินระยะเวลาในภาพรวม
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ
เพื่อทำโครงงานสิ่งสำคัญที่ต้องระบุให้ได้ในรอบนี้คือ ปัญหาและมุมมองปัญหาที่โครงงานนี้จะดำเนินการแก้ไข ประโยชน์ของโครงงานและพัฒนาได้จริงในงบประมาณและเวลาที่เหมาะสม รวมทั้งโครงงานนี้มีแนวทางการแก้ปัญหาที่แปลกใหม่หรือเป็นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่น่าสนใจในรอบสอง ข้อมูลเหล่านี้จะเป็นส่วนสำคัญในการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โดยเนื้อหาการเขียน จะเป็นข้อมูลที่ได้หลังจากการพัฒนาเสร็จ ว่าใช้งบประมาณและเวลาเท่าใดได้นำแนวทางใดไปแก้ปัญหา แล้วได้ผลลัพธ์ตามที่คาดการณ์ไว้หรือไม่ และได้แนวทางใหม่ในการแก้ปัญหาหรือได้องค์ความรู้ใหม่ใดบ้าง

ขอบเขต การพัฒนาโครงงาน คือ

ระยะพัฒนาโครงงานเป็นอย่างไร

2. ระยะพัฒนาโครงงาน ประกอบด้วย ขั้นระบุปัญหา ขั้นรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา ขั้นออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ขั้นวางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา และขั้นทดสอบ ประเมินผลและปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน

การพัฒนาโครงงานคืออะไร

หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเีรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทำโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่อง ...

ขั้นตอนสุดท้ายของการพัฒนาโครงงานคือข้อใด

การนำเสนอและแสดงโครงงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายหลังจากการพัฒนาโครงงานเสร็จเรียบร้อยตามเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ โดยเป็นการนำเสนอรายงานสรุปผลการดำเนินการในการจัดทำโครงงาน และโปรแกรมที่ได้พัฒนาขึ้นมาให้กับคณะกรรมการและผู้เกี่ยวข้องของโครงงานนั้นๆ ซึ่งจัดเป็นขั้นตอนที่สำคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทำโครงงาน เพื่อ ...

การลงมือพัฒนาโครงงานควรคำนึงถึงอะไรบ้าง

การลงมือทำโครงงานจำเป็นจะต้องคำนึงถึงเรื่องต่าง ๆ ต่อไปนี้เพื่อให้งานสำเร็จได้ด้วยดี.
ความพร้อมของวัสดุและสถานที่ก่อนลงมือทดลอง หรือสำรวจ.
เตรียมสมุดสำหรับบันทึกกิจกรรมประจำวัน.
ปฏิบัติการทดลองด้วยความละเอียดรอบคอบ และวางแผนบันทึกข้อมูลไว้ให้เป็นระเบียบครบถ้วน.
คำนึงถึงความประหยัด และความปลอดภัยในการทำงาน.