ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย

สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี (อังกฤษ: semi-presidential republic), ระบบกึ่งประธานาธิบดี (semi-presidential system), ระบบบริหารคู่ (dual executive system), ระบบกึ่งประธานาธิบดีกึ่งรัฐสภา หรือ ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี เป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งที่ประธานาธิบดีเป็นประมุขและหัวหน้าฝ่ายบริหารโดยใช้อำนาจผ่านนายกรัฐมนตรี ระบบกึ่งประธานาธิบดีมีต้นกำเนิดในฝรั่งเศส

ประวัติของระบบกึ่งประธานาธิบดี[แก้]

ระบอบกึ่งประธานาธิบดีนั้นเกิดขึ้นครั้งแรก ณ ประเทศฝรั่งเศส ในสมัยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 โดยมีชาร์ล เดอ โกล เป็นประธานาธิบดี ทั้งนี้เพราะไม่ว่าผู้ใดจะมาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี ก็ทำให้เกิดความวุ่นวาย มีข้อขัดแย้งมากและต้องยุบสภาบ่อย รัฐบาลหรือรัฐสภาต้องออกจากตำแหน่งและมีการเลือกตั้งใหม่อยู่บ่อยครั้ง ทำให้เสียงบประมาณ ดังนั้นนักรัฐศาสตร์และนักนิติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสจึงได้พัฒนารูปแบบการปกครองโดยผสมผสานกันระหว่างระบอบรัฐสภาและระบอบประธานาธิบดี ทั้งนี้ได้มีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส พ.ศ. 2493 และมีการแก้ไขในปี พ.ศ. 2505 อีกด้วย

หลักการปกครอง[แก้]

อำนาจบริหาร[แก้]

อำนาจบริหาร ประธานาธิบดีมีอำนาจในการบริหารสูงสุด และเป็นผู้แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี โดยที่นายกรัฐมนตรีจะต้องเสนอรายชื่อรัฐมนตรีในคณะรัฐมนตรี และประธานาธิบดีจะลงนามอนุมัติ ประธานาธิบดีจึงเป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้าอำนาจบริหาร ส่วนนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล

อำนาจนิติบัญญัติ[แก้]

อำนาจนิติบัญญัติ รัฐสภา (สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา (สภาสูง)) เป็นผู้ใช้อำนาจและยังทำหน้าที่ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของรัฐบาลให้เป็นไปตามที่เสนอไว้ต่อสภา ทั้งยังมีอำนาจลงมติไม่ไว้วางใจคณะรัฐบาลด้วย แต่ขณะเดียวกันประธานาธิบดีก็มีอำนาจยุบสภาผู้แทนราษฎรได้เช่นกัน

อำนาจตุลาการ[แก้]

อำนาจตุลาการ ศาลมีอำนาจตุลาการและแยกเป็นอิสระจากอำนาจทุกฝ่าย

รายชื่อประเทศที่ปกครองแบบระบบกึ่งประธานาธิบดี[แก้]

ระบบประธานาธิบดี-รัฐสภา[แก้]

ระบบนายกรัฐมนตรี-ประธานาธิบดี[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  • กฎหมายรัฐธรรมนูญฝรั่งเศส เก็บถาวร 2007-11-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย

บทความนี้ต้องการการจัดหน้า จัดหมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือเก็บกวาดเนื้อหา ให้มีคุณภาพดีขึ้น คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้ป้ายข้อความอื่นเพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง

ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย

บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด กรุณาช่วยปรับปรุงบทความนี้ โดยเพิ่มการอ้างอิงแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ เนื้อความที่ไม่มีแหล่งที่มาอาจถูกคัดค้านหรือลบออก (เรียนรู้ว่าจะนำสารแม่แบบนี้ออกได้อย่างไรและเมื่อไร)

ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย

รัฐของโลกแบ่งตามระบอบการปกครอง1

     สาธารณรัฐที่ใช้ระบบประธานาธิบดี2      สาธารณรัฐที่ใช้ระบบกึ่งประธานาธิบดี2
     สาธารณรัฐที่มีประธานาธิบดีผู้ใช้อำนาจบริหารซึ่งมาจากการเลือกหรือเสนอชื่อจากสภานิติบัญญัติ      สาธารณรัฐระบบรัฐสภา2
     ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่ใช้ระบบรัฐสภา      ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่มีหัวหน้ารัฐบาลอีกคนหนึ่ง แต่กษัตริย์ยังมีพระราชอำนาจอยู่มาก
     สมบูรณาญาสิทธิราชย์      รัฐพรรคการเมืองเดียว
     ประเทศที่บทบัญญัติการปกครองตามรัฐธรรมนูญถูกระงับ (เช่น เผด็จการทหาร)      ประเทศที่อยู่นอกเหนือระบบข้างต้น (เช่น รัฐบาลชั่วคราว)

1 แผนที่นี้ประมวลขึ้นตามบทความ รายชื่อประเทศตามระบอบการปกครอง ดูแหล่งอ้างอิงในหน้านั้น
2 บางรัฐอาจมีคนนอกเรียกว่าเป็นรัฐอำนาจนิยม บทความนี้กล่าวถึงระบอบการปกครองโดยนิตินัยเท่านั้น

ส่วนหนึ่งของชุดการเมือง
ระบอบการปกครอง
พื้นฐาน
รายการระบอบการปกครอง

บ่อเกิดอำนาจ

ประชาธิปไตย
อำนาจของคนส่วนใหญ่
  • จับสลาก
  • ทางตรง
  • เสรีนิยม
  • มีผู้แทน
  • สังคมนิยม
  • แบบสังคมนิยม
  • อื่น ๆ

คณาธิปไตย
อำนาจของคนส่วนน้อย
  • กึ่งประชาธิปไตย
  • อภิชนาธิปไตย
  • ชราธิปไตย
  • โจราธิปไตย
  • ตุลาการธิปไตย
  • ธรรมาธิปไตย
  • วิชญาธิปไตย
  • การปกครองโดยพรรคการเมือง
  • เศรษฐยาธิปไตย
  • เสนาธิปไตย
  • คตินิยมนักวิชาการ
  • เทวาธิปไตย

อัตตาธิปไตย
อำนาจของผู้เดียว
  • ระบบใช้อำนาจเด็ดขาด
  • ระบอบเผด็จการ
  • เผด็จการทหาร
  • ทรราช

ลัทธิอนาธิปไตย
อำนาจไม่เป็นของผู้ใด
  • อนาธิปไตย
  • สมาคมอิสระ
  • สังคมไร้รัฐ

อุดมการณ์อำนาจ

กษัตริย์นิยม กับ สาธารณรัฐนิยม
อุดมการณ์ทางสังคมการเมือง
  • สมบูรณาญาสิทธิราชย์
  • ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
  • ระบบคณะกรรมการ
  • นิตินิยม
  • สาธารณรัฐระบบรัฐสภา
  • ระบบประธานาธิบดี
  • ระบบกึ่งประธานาธิบดี
  • รัฐสังคมนิยม

อำนาจนิยม กับ อิสรนิยม
อุดมการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
  • ลัทธิอนาธิปไตย
  • ลัทธิอาณานิคม
  • ลัทธิคอมมิวนิสต์
  • ระบบเจ้าขุนมูลนาย
  • สังคมนิยม
  • ลัทธิฟาสซิสต์
  • ระบบใช้อำนาจเด็ดขาด
  • คตินิยมการกระจาย
  • ระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ
  • ลัทธิชนเผ่า

โลก กับ ท้องถิ่น
อุดมการณ์ทางภูมิวัฒนธรรม
  • คอมมูน
  • นครรัฐ
  • รัฐชาติ
  • รัฐบาลกลาง
  • องค์การระหว่างรัฐบาล
  • โลก
  • ท้องถิ่นนิยม
  • ชาตินิยม
  • สากลนิยม
  • โลกนิยม

โครงสร้างอำนาจ

คตินิยมรัฐเดี่ยว
  • รัฐเดี่ยว
  • จักรวรรดิ
  • พรินซิพาลิตี

รัฐผู้รับอุปถัมภ์
  • รัฐสมทบ
  • ดินแดนในภาวะพึ่งพิง
  • ประเทศในเครือจักรภพ
  • รัฐในอารักขา
  • รัฐหุ่นเชิด
  • กษัตริย์หุ่นเชิด
  • รัฐบริวาร
  • อณานิคมปกครองตนเอง
  • ประเทศราช
  • รัฐกันชน
  • เมืองขึ้น
  • เขตอุปราช

ระบอบสหพันธรัฐ
  • สมาพันธรัฐ
  • การมอบอำนาจปกครอง
  • สหพันธรัฐ
  • อภิรัฐ
  • สหภาพเหนือชาติ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
  • ประเทศด้อยอำนาจ
  • ประเทศอำนาจนำภูมิภาค
  • ประเทศอำนาจปานกลาง
  • มหาอำนาจ
  • อภิมหาอำนาจ
  • ไฮเปอร์พาวเวอร์

การแบ่งเขตการปกครอง

ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
สถานีย่อยการเมือง

ระบบประธานาธิบดี (อังกฤษ: presidential system) หรือ ระบบบริหารเดี่ยว (single executive system) คือ ระบอบที่ตั้งให้ประมุขแห่งรัฐมีอำนาจสูงสุดอย่างเต็มที่ คณะรัฐบาลอยู่ใต้อำนาจของประมุขแห่งรัฐ (เช่น อำนาจในการแต่งตั้งหรือถอดถอนคณะรัฐบาล) ในรัฐธรรมนูญของบางประเทศ อาจให้มีตำแหน่งนายกรัฐมนตรีควบคู่ไปกับประธานาธิบดีได้ แต่ส่วนมากนายกรัฐมนตรีในระบบประธานาธิบดีจะไม่มีอำนาจเท่ากับในระบอบรัฐสภา ระบบประธานาธิบดีมีต้นกำเนิดในสหรัฐ

ประเทศที่ใช้ระบบประธานาธิบดีได้แก่ สหรัฐ บราซิล เม็กซิโก เป็นต้น

ประวัติของระบบประธานาธิบดี[แก้]

ระบอบประธานาธิบดีนั้นเกิดขึ้นครั้งแรก ณ สหรัฐ ในศตวรรษที่ 18 ช่วงสงครามปฏิวัติอเมริกา โดยมีจอร์จ วอชิงตัน เป็นประธานาธิบดีที่ได้ปลดแอกจากประเทศอังกฤษ คือ ประกาศอิสรภาพจากประเทศอังกฤษไม่เป็นเมืองขึ้นของประเทศอังกฤษต่อไป สหรัฐอเมริกาจึงได้สร้างระบบรัฐบาลขึ้นมาใหม่เพื่อให้มีความแตกต่างไปจากระบบรัฐสภาของประเทศอังกฤษ

รายชื่อประเทศที่ปกครองแบบระบบประธานาธิบดี[แก้]

ระบบประธานาธิบดีโดยไม่มีนายกรัฐมนตรี[แก้]

  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    อัฟกานิสถาน
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    แองโกลา
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    อาร์เจนตินา
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
    นากอร์โน-คาราบัค
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    เบนิน
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    โบลิเวีย
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    บราซิล
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    บุรุนดี
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    ชิลี
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    โคลอมเบีย
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    คอโมโรส
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    คอสตาริกา
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    ไซปรัส
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    สาธารณรัฐโดมินิกัน
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    เอกวาดอร์
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    เอลซัลวาดอร์
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    แกมเบีย
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    กานา
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    กัวเตมาลา
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    ฮอนดูรัส
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    อินโดนีเซีย
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    อิหร่าน
    [1]
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    เคนยา
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    ไลบีเรีย
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    มาลาวี
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    มัลดีฟส์
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    เม็กซิโก
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    นิการากัว
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    ไนจีเรีย
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    ปาเลา
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    ปานามา
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    ปารากวัย
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    ฟิลิปปินส์
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    เซเชลส์
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    เซียร์ราลีโอน
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    โซมาลีแลนด์
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    ซูดานใต้
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    ตุรกี
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    เติร์กเมนิสถาน
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    สหรัฐ
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    อุรุกวัย
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    เวเนซุเอลา
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    แซมเบีย
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    ซิมบับเว

ระบบประธานาธิบดีโดยมีนายกรัฐมนตรี[แก้]

  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    เบลารุส
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    แคเมอรูน
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    สาธารณรัฐแอฟริกากลาง
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    ชาด
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    จิบูตี
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    อิเควทอเรียลกินี
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    กาบอง
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    กินี
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    กายอานา
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    โกตดิวัวร์
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    คาซัคสถาน
    [2]
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    รวันดา
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    เกาหลีใต้
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    ซูดาน
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    ทาจิกิสถาน
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    แทนซาเนีย
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    โตโก
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    ยูกันดา
  • ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
     
    อุซเบกิสถาน

อ้างอิง[แก้]

  1. Iran combines the forms of a presidential republic, with a president elected by universal suffrage, and a theocracy, with a Supreme Leader who is ultimately responsible for state policy, chosen by the elected Assembly of Experts. Candidates for both the Assembly of Experts and the presidency are vetted by the appointed Guardian Council.
  2. "Nazarbaev Signs Kazakh Constitutional Amendments Into Law". Radio Free Europe/Radio Liberty. 10 March 2017. สืบค้นเมื่อ 10 March 2017. For more information: please see Abdurasulov, Abdujalil (6 March 2017). "Kazakhstan constitution: Will changes bring democracy?". BBC News. สืบค้นเมื่อ 7 March 2017.

ระบบประธานาธิบดี ข้อดี ข้อเสีย
บทความเกี่ยวกับการเมือง การปกครองนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล