บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก ผู้แต่ง

1. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรี พัชรินทราบรมราชินีนาถ


บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก ผู้แต่ง

คุณครู Qanda - G5P8X1E

2.ใช้นามเเฝงว่า พระขรรค์เพชร

บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก ผู้แต่ง

นักเรียน

บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก ผู้แต่ง

ข้อที่345อะครับ

บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก ผู้แต่ง

คุณครู Qanda - G5P8X1E

3.เรื่องเห็นแก่ลูกแต่งเป็นบทละครพูด เป็นเรื่องขนาดสั้น มี 1 องค์ ลักษณะการแต่ง              รัชกาลที่6 ทรงผูกเรื่องอย่างรัดกุมและดำเนินเรื่องโดยใช้บทสนทนาของตัวละครโต้ตอบกัน ทำให้ทราบเรื่องราวที่ดำเนินไป และทราบเบื้องหลังของตัวละครแต่ละตัว นอกจากนี้ ยังทรงบรรยายกริยาท่าทางของตัวละครแต่ละตัวไว้ในวงเล็บ

4. แสดงถึงความรักอันบริสุทธิ์ระหว่างพ่อและลูก ทำให้รู้ว่าไม่มีความรักใดบริสุทธิ์เท่าความรักตามธรรมชาติที่พ่อมอบให้แก่ลูก

บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก ผู้แต่ง

นักเรียน

ข้อ5อะไรหรอครับครู

บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก ผู้แต่ง

คุณครู Qanda - G5P8X1E

5. นายล้ำมาที่บ้านพระยาภักดีนฤนาถ นายล้ำเป็นเพื่อนกับพระยาภักดี นายล้ำมีภรรยา คือแม่นวล มีลูกสาวคือ แม่ลออ เมื่อแม่ลออมีอายุ 2 ขวบ เศษ นายล้ำก็ถูกจำคุกเพราะทุจริตต่อหน้าที่ แม่นวลเลี้ยงดูลูกสาวมาตามลำพัง ก่อนตายได้ยก ลูกสาวให้เป็นลูกบุญธรรมของพระยาภักดี นายล้ำจำคุกอยู่ 10 ปี ก็ออกจากคุกไปร่วมค้าฝิ่นอยู่ กับจีนกิมจีนเง็ก ที่พิษณุโลก พอถูกตำรวจจับได้ก็แก้ข้อกล่าวหาเอาตัวรอดฝ่ายเดียว ต่อมาก็สิ้นเนื้อประดาตัว จึงตั้งใจจะมาอยู่กับแม่ลออ ซึ่งมีอายุ 17 ปี กำลังจะแต่งงานกับนายทองคำ แต่พระยาภักดีขอให้นายล้ำเห็นแก่ลูกสาวอย่าบอกความจริงว่าเป็นพ่อของเเมาละออเพราะไม่ต้องการให้ถูกคนอื่น รังเกียจว่ามีพ่อเป็นคนขี้คุกและฉ้อโกง จนในที่สุดเสนอเงินให้ 100 ชั่ง แต่นายล้ำก็ไม่ยอมเมื่อ แม่ละออกลับมาถึง นายล้ำจึงได้รู้จักกับแม่ละออและได้เห็นว่าเเม่ละออสูงส่งไม่ควรจะมีพ่อเเบบเขา นายล้ำจึงไม่บอกความจริง เพราะรักเเละเห็นเเก่ลูกสาวของตน

ลักษณะทั่วไปของบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก

บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก ผู้แต่ง



ผู้แต่ง : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว 


ลักษณะคำประพันธ์ : บทละครพูดขนาดสั้นมีความยาว ๑ องก์



จุดประสงค์ในการแต่ง : เพื่อใช้แสดงละครให้ความบันเทิงที่แฝงไว้ด้วยแง่คิดเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตของมนุษย์ และความเสียสละที่พ่อมีต่อลูก 


ที่มาของเรื่อง : เป็นบทพระราชนิพนธ์เรื่องหนึ่งในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.๖)

ที่ทรงผูกเรื่องขึ้นด้วยพระองค์เอง โดยทรงใช้นามแฝงว่า “พระขรรค์เพชร” 


รูปแบบงานประพันธ์ : ร้อยแก้ว บทละครพูดขนาดสั้น


ระยะเวลาในการแต่ง : ราวปีพ.ศ ๒๔๕๓-๒๔๖๘



บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก ผู้แต่ง


เขียนโดย Unknown ที่00:15

บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก ผู้แต่ง

ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปที่ Twitterแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

ผู้แต่งบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกมีจุดประสงค์ในการแต่งอย่างไร

บทพระราชนิพนธ์นี้ เป็นบทละครพูดที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์จากโครงเรื่องด้วยพระปรีชาสามารถของพระองค์ที่เป็นทั้งปราชญ์และจินตกวี จุดมุ่งหมายในการแต่ง ใช้เป็นบทละครพูด แสดงเพื่อความบันเทิงที่แฝงข้อคิดให้เห็นถึงความรัก ความเสียสละของพ่อที่มีต่อลูก

บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก ประพันธ์ด้วยรูปแบบใด

เรื่อง เห็นแก่ลูก เป็นบทละครพูดร้อยแก้ว มีความยาว ๑ องก์ เนื้อเรื่องมีขนาดสั้น ปมเรื่องไม่ซับซ้อน บทละครพูดเป็นการสนทนาโต้ตอบของตัวละครที่เหมือนในชีวิตจริง “บทละครพูด” มีที่มาจากประเทศทางตะวันตก และเริ่มแพร่หลายในประเทศไทยในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ผู้แต่งบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกได้เค้าโครงเรื่องในการเขียนมาจากที่ใด

เรื่องเห็นแก่ลูกเป็นบทละครพูดขนาดสั้น มีความยาวเพียงองค์เดียวและมีฉากเดียว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้พระนามแฝงในการพระราชนิพนธ์ว่า พระ ขรรค์เพชร บทละครพูดเรื่องนี้พระองค์ทรงคิดเค้าโครงเรื่องขึ้นเอง มิได้ทรงแปลหรือดัดแปลง

สิ่งใดที่สําคัญที่สุดในบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก

บทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ลูก แสดงถึงความรักของพ่อที่มีต่อลูกผ่านพฤติกรรมของตัวละครแต่ละตัว โดยพระยาภักดีนฤนาถ เป็นตัวแทนของบิดาเลี้ยงที่ทำหน้าที่พ่อด้วยความเต็มใจ ส่วนนายล้ำ เป็นตัวแทนของบิดาผู้ให้กำเนิดซึ่งสามารถเปลี่ยนความเห็นแก่ตัวไปเป็นความเห็นแก่ลูกได้ในที่สุด แนวคิดของเรื่องมุ่งทำให้ผู้อ่านเกิดความซาบซึ้งใจว่าไม่มี ...