ที่ มา และ ความ สํา คั ญ ของ กระดาษสา

�ѹ�ظ ��� 5 �ѹ��¹ 2555

Posted by LannawayChiangmai , �����ҹ : 1247 , 15:05:51 �.  
��Ǵ : ��Ż�/�Ѳ�����

ที่ มา และ ความ สํา คั ญ ของ กระดาษสา
�����˹�ҹ��
ที่ มา และ ความ สํา คั ญ ของ กระดาษสา
ที่ มา และ ความ สํา คั ญ ของ กระดาษสา
��ǵ 1 �� ��§�Ӿѧ ��ǵ����ͧ���

����ѵԡ�д����

����ѵԤ������Ңͧ��д����

ที่ มา และ ความ สํา คั ญ ของ กระดาษสา

��д���� �繡�д�ɾ�����ͧ�ҧ�Ҥ�˹�ͷ���Ե��������Ըա�÷���д�����١����������
������Ѻ�ط���ʹ� �ҡ����Ȩչ ������Ӻѹ�֡������͹�ѧ��鹡������д�����ͧ��Ǿ�����ͧ�ҧ�Ҥ�˹��
�֧����Ǣ�ͧ�Ѻ��Ż�Ѳ����� ���ླ���оԸա����ҧ�ط���ʹ����ҧ�ҡ����Ǥ�� ��õ��觶��·ҹ᷺�ء������
�е��觴�����д�������յ�ҧ � �����§�� ������㹧ҹ�ȡ�ŵ�ҧ� �ͧ�Ѵ ��оԸա�����ҧ �

ที่ มา และ ความ สํา คั ญ ของ กระดาษสา

�鹻��� �繵���������������� �ӵ鹤�͹��ҧ����ᵡ��觡�ҹ�͡�ͺ�� ���͡���բ�ǻ���������������͹

��� 2 ��Դ ��� ���ѡ���������ѡ��բ���硹��µ鹻��Ҫͺ���㹾�鹷�������ҡ�Ȫ�� �蹵���غ�� ����������
���;�鹴Թ����������»��Ԩо�㹾�鹷���Ҥ�˹�� �� �ѧ��Ѵ��§���� ��§��� �ӻҧ �¨ҡ���͡�ͧ�鹻����դس���ѵԾ����

���������Ѻ������͡�� ����ǹ�ҡ�ѡ�١������ӡ�д��������������ӡ�д�ɨе�ͧ����鹼���ٹ���ҧ�ͧ�ӵ�

����ҳ 7-10 ૹ���������������ػ���ҳ 3– 4 ��

ที่ มา และ ความ สํา คั ญ ของ กระดาษสา

���觼�Ե����Ӥѭ�ͧ������� ��ǹ�˭������ࢵ�Ҥ�˹�ͤ�ͨѧ��Ѵ��§���� ��§��� �Ӿٹ ����� ��ҹ �صôԵ�� 
�ӻҧ �����⢷�� ��д�������ӡѹ�·������Ҥ�˹�ͧ͢����������ص��ˡ���㹤�ͺ���Ƿ��Ѻ������繡���׺�ʹ
��Ż�Ѳ������Ҩҡ��þ����� ��ǹ�˭�Ӣ���������繡�д�ɷ���� ������ �ӡ�д����ͧ͢��ѭ ��ʹ�� ��信�д����
��觹Ѻ����繷��������ҧ�ҡ 㹡����������ѡ��Ъ�蹪ͺ�ҹ��д���� �ѡɳС����ҹ �鵡�觺�ҹ���͹ �������ǹ͹
����º٪� �ա����ѧ���ҤҶ١�繷��ء������ö������ ��С�ú��ا�ѡ�ҧ��� �дǡ��͡����ҹ

ที่ มา และ ความ สํา คั ญ ของ กระดาษสา

��ü�Ե��д�������ѡɳС�ü�Ե������㹤������͹������դ�����ͧ��������繻���ª��ҡ��д�����ҡ���
�֧�ա�û�Ѻ����¹���ѵ�������Ҵ�����͡�ҡ�л�д�ɰ��繢ͧ������ �� �ѧ�ա�þѲ�Ҽ�Ե�ѳ�������繢ͧ������֡�ҡ���
㹻Ѩ�غѹ�ա�ù�����µ�ҧ � �� ����� ˭�Ҥ� ��С� �������繼�Ե�ѳ���д�ɴ���

�Թ�����ҹ���ҡ����Ҥ����������������͡��ä� �Ѻ����� "��ҹ������" www.lannaway.com, www.lannawaypro.com, www.lannaway.webiz.co.th


กระดาษสาสานฝันเพื่อน้อง

บทที่ 2

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

               ในการศึกาโครงงานเรื่อง โครงการกระดาษสา ส่งเสริมฝัน การนำกระดาษที่ไม่ใช้แล้วมาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์  ใช้หลักการเศรษฐกิจพอเพียง

                กระดาษสา เป็นกระดาษพื้นเมืองทางภาคเหนือ ที่ผลิตด้วยมือวิธีการทำกระดาษสาถูกเผยแพร่เข้ามา พร้อมกับพุทธศาสนา
จากประเทศจีน เพื่อใช้ทำบันทึกคำสั่งสอนดังนั้นการใช้กระดาษสาของชาวพื้นเมืองทางภาคเหนือ จึงเกี่ยวข้องกับศิลปวัฒนธรรม
ประเพณีและพิธีกรรมทางพุทธศาสนาอย่างมากกล่าวคือ การตกแต่งถวายทานแทบทุกประเภท จะตกแต่งด้วกระดาษสาทาสีต่าง ๆ
ให้สวยงาม เพื่อใช้ในงานเทศกาลต่างๆ ของวัด และพิธีกรรมต่าง ๆ

ต้นปอสา เป็นต้นไม้ประเภทไม่มีแก่น ลำต้นค่อนข้างเปราะแตกกิ่งก้านออกรอบต้น เปลือกมีสีขาวปนเทาหรือสีเขียวอ่อน

ใบมี 2 ชนิด คือ ใบหยักและใบไม่หยักใบมีขนเล็กน้อยต้นปอสาชอบขึ้นในพื้นที่ที่มีอากาศชื้น เช่นตามหุบเขา ตามริมห้วย
หรือพื้นดินที่ชุ่มชื้นโดยปกติจะพบในพื้นที่ภาคเหนือ เช่น จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง ใยจากเปลือกของต้นปอสามีคุณสมบัติพิเศษ

เหมาะสำหรับทำเป็นเชือกได้ แต่ส่วนมากมักถูกนำมาใช้ทำกระดาษปอสาที่นำมาใช้ทำกระดาษจะต้องมีเส้นผ่าศูนย์กลางของลำต้น
ประมาณ 7-10 เซนติเมตรหรือมีอายุประมาณ 3– 4 ปี

แหล่งผลิตที่สำคัญประวัติกระดาษสาของประเทศไทย ส่วนใหญ่อยู่ในเขตภาคเหนือคือจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลำพูน พะเยา น่าน อุตรดิตถ์ ลำปาง
และสุโขทัย กระดาษสาที่ทำกันโดยทั่วไปในภาคเหนือของประเทศไทย เป็นอุตสาหกรรมในครอบครัวที่นับได้ว่าเป็นการสืบทอด
ศิลปวัฒนธรรมมาจากบรรพบุรุษ ส่วนใหญ่ทำขึ้นเพื่อใช้เป็นกระดาษทำร่ม ทำว่าว ทำกระดาษห่อของขวัญ ตลอดจน โคมไฟกระดาษสา
ซึ่งนับว่าเป็นที่นิยมอย่างมาก ในกลุ่มคนที่รักและชื่นชอบงานกระดาษสา ลักษณะการใช้งาน ใช้ตกแต่งบ้านเรือน เป็นโคมไฟหัวนอน
ใช้ถวายบูชา อีกทั้งยังมีราคาถูกเป็นที่ทุกคนสามารถซื้อได้ และการบำรุงรักษาง่าย สะดวกต่อการใช้งาน

การผลิตกระดาษสา  เมีลักษณะการผลิตเพื่อใช้ในครัวเรือนเมื่อมีความต้องการและเห็นประโยชน์จากกระดาษสามากขึ้น
จึงมีการปรับเปลี่ยนเป็นหัตถกรรมขนาดย่อมนอกจากจะประดิษฐ์เป็นของใช้แล้ว เช่น ยังมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อเป็นของที่ระลึกมากขึ้น
ในปัจจุบันมีการนำเส้นใยต่าง ๆ เช่น ปอแก้ว หญ้าคา และกก มาแปรรูเป็นผลิตภัณฑ์กระดาษด้วย

              ประวัติกระดาษสาเป็นวัสดุที่ผลิตขึ้นมาสำหรับการจดบันทึก มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เชื่อกันว่ามีการใช้กระดาษครั้งแรกๆ โดยชาวอียิปต์โบราณ และชาวจีนตั้งแต่สมัยโบราณ แต่กระดาษในยุคแรกๆ ล้วนผลิตขึ้นเพื่อการจดบันทึกด้วยกันทั้งสิ้น จึงกล่าวได้ว่าระบบการเขียน คือแรงผลักดันให้เกิดการผลิตกระดาษขึ้นในโลกกระดาษของชาวอียิปต์โบราณ ผลิตจากหญ้าที่เรียกว่าปาปิรุส (papyrus) และเรียกว่ากระดาษปาปิรุส พบว่ามีการใช้จารึกบทสวดและคำสาบาน บรรจุไว้ในพีระมิดของอียิปต์ นักประวัติศาสตร์เชื่อว่ามีการใช้กระดาษที่ทำจากปาปิรุสมาตั้งแต่ปฐมราชวงศ์ของอียิปต์ (ราว 3000 ปีก่อนคริสตกาล) สำหรับวัสดุใช้เขียนนั้น ในสมัยโบราณมีด้วยกันหลายอย่าง เช่น แผ่นโลหะ หิน ใบลาน เปลือกไม้ ผ้าไหม ฯลฯ ผู้คนสมัยโบราณคงจะใช้วัสดุต่างๆ หลากหลายเพื่อการบันทึก ครั้นเมื่อราว ค.ศ. 105 ชาวจีนชื่อ เป็นคนแรกที่ได้ประดิษฐ์กระดาษจากเศษผ้าฝ้ายผ้าขี้ริ้วเพื่อเป็นวัสดุที่ใช้เขียนแทนผ้าไหมที่มีราคาแพง และหลังจากนั้นได้มีการใช้วิธีผลิตกระดาษเช่นนี้แพร่หลายอย่างรวดเร็วประวัติกระดาษในสมัยโบราณของไทย การศึกษาส่วนมากจะอาศัยการท่องจำต่อ ๆ กันมาในระดับท้องถิ่น และมีบางส่วนที่ได้จดบันทึกไว้เป็นตำราลงบนแผ่นศิลา แผ่นหนัง แผ่นดินเผา ใบลาน เมื่อมีการทำกระดาษก็จดบันทึกลงบนกระดาษ กระดาษในระยะแรก ๆ เป็นกระดาษที่ทำจากเยื่อข่อย เรียกว่า สมุดข่อย

กระดาษข่อยในสมัยโบราณมี 2 สี ได้แก่

1 กระดาษข่อยสีขาว เขียนด้วยสีดำ สีแดง หรือสีทอง
2.กระดาษข่อยสีดำที่ผสมหรือทาด้วยผงถ่านสีดำ เขียนด้วยสีขาวหรือสีทองสีทองส่วนมากทำจากหอระดานกลีบทอง สีทองที่ทำจากผงทองคำก็มีจากนั้นเราก็มีกระดาษที่เรียกว่าสมุดไทย ผลิตจากเยื่อไม้ทุบละเอียด ต้มจนเปื่อย ใส่แป้งเพื่อให้เนื้อกระดาษเหนียว แล้วนำไปกรองในกระบะเล็กๆ ทิ้งไว้จนแห้ง แล้วลอกออกมาเป็นแผ่น พับทบไปมาจนตลอดความยาว จึงได้เป็นเล่มสมุด เรียกว่า สมุดไทยขาวหากต้องการ สมุดไทยดำ ก็จะผสมผงถ่านในขั้นตอนการผลิตในทางภาคเหนือของไทย มีการผลิตกระดาษด้วยวิธีการคล้ายคลึงกัน เรียกว่า กระดาษสาเมื่อนำมาทำเป็นสมุดใช้เขียน เรียกว่า ปั๊บสาคำว่ากระดาษ ในภาษาไทยไม่ปรากฏที่มาอย่างแน่ชัด มีผู้สันนิษฐานว่าน่าจะทับศัพท์มาจากภาษาโปรตุเกสว่า แต่ความจริงแล้ว คำว่ากระดาษ ในภาษาโปรตุเกส ใช้ว่า papel ส่วนที่ใกล้เคียงภาษาไทยมากที่สุด น่าจะเป็นคำศัพท์ในหมายถึง กระดาษ เช่นกัน

ประโยชน์ในตำราการแพทย์ไทย

            ตำราสมัยโบราณนิยมทำเป็นรูปสี่เหลี่ยมยาว ๆ ตามรูปของใบลาน แล้วเจาะร้อยรูด้วยเชือกมัดรวมกันเป็นเล่มเรียกว่า ผูก ภาษาที่ใช้ส่วนมาก จะใช้ภาษาตามพระไตรปิฎก หรือพระคัมภีร์ทางศาสนา เช่น ภาษาบาลีหรือสันสกฤต ภาษาขอม หรือภาษาลานนา ส่วนตัวอักษร จะใช้ ภาษาบาลีหรือสันสกฤต ที่พื้นบ้านเรียกว่า ตัวธรรม หรือใช้อักษรดั่งเดิมของท้องถิ่นนั้น ๆ เช่น ตัวอักษรขอม อักษรลานนา อักษรไทยสมัยสุโขทัย หรือสมัยอยุธยา เป็นต้น ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ทรงพระราชดำริว่า พระคัมภีร์แพทย์ต่าง ๆ นั้น ใช้สำหรับบำบัดโรคภัยไข้เจ็บเป็นประโยชน์แก่มหาชนเป็นอันมาก ทั้งมีพระตำหรับหลวงเก่า ๆ อยู่มาก จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประชุมแพทย์หลวง นำพระคัมภีร์แพทย์ในที่ต่าง ๆ มาทำการตรวจสอบ และได้ทรงแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบพระคัมภีร์แพทย์ แล้วจดบันทึกไว้ในหอสมุดหลวงเมื่อได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งโรงเรียนราชแพทยาลัยขึ้นใน พ.ศ. ได้พิมพ์ตำราแพทย์สำหรับโรงเรียน เล่มแรกชื่อว่า แพทยศาสตรสงเคราะห์ เมื่อ พ.ศ. 2432 พิมพ์เป็นตอน ๆ เป็นตำรารวมทั้งวิชาแพทย์แผนโบราณและวิชาแพทย์แผนตะวันตก แต่ออกมาได้เพียง เล่มเล็ก ๆ ต่อมา พระยาพิศณุประศาสตร์เวช ได้กราบทูลขอประทานอนุญาตพิมพ์ คัมภีร์ฉบับหลวง ต่อพระเจ้าน้องยาเธอกรมหลวงดำรงราชานุภาพ เป็นครั้งแรกเมื่อ วันที่ 1 มีนาคม 2450 ให้ชื่อตำราว่า แพทยศาสตรสงเคราะห์ ฉบับหลวง มีสองเล่มต่อมาอีก 1 ปี ท่านได้จัดพิมพ์ตำราแพทยศาสตร์ฉบับสังเขป ซึ่งท่านได้เรียบเรียงไว้เป็นหลักการสอนในโรงเรียนแพทย์ ชื่อว่า เวชศึกษา หรือแพทยศาสตร์สังเขป แบ่งเป็น 3 เล่ม พิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2451 เป็นตำราชุดสำคัญในยุคนี้ รวม เล่ม คือแพทยศาสตรสงเคราะห์ ฉบับหลวง 2 เล่ม เวชศึกษา หรือแพทยศาสตร์สังเขป 3 เล่ม