ความ หมาย ของการกำหนดค่าให้กับ ตัวแปร หลายตัว

บทความวันที่ 14 มีนาคม 2556

การกำหนดค่าให้กับตัวแปรบนภาษา Python คือ การสร้างตัวแปรขึ้นมาเพื่อเก็บค่าข้อมูลใด ข้อมูลหนึ่งสำหรับการประมวลผล เช่น เก็บค่าราคา กับ tax เพื่อนำไปคำนวณต่อในกรณีต่าง ๆ 

ภาพรวมของการกำหนดค่าให้กับตัวแปรบนภาษา Python

1. ใช้คำสั่ง [variable] = [value] ในการสร้างตัวแปร และกำหนดค่า เช่น price = 10 หรือ tax = 20

2. การนำตัวแปรไปคำนวณด้วยตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ กระทำได้โดย เช่น price * tax เป็นต้น

ตัวอย่างโปรแกรม

>>> price = 100
>>> tax = 15
>>> price * tax
1500
>>> 

คำค้นหา การกำหนดค่าให้กับตัวแปรบนภาษา Python, รับเขียนเว็บไซต์, เรียนเขียนโปรแกรม, รับสอนเขียนโปรแกรม

Skip to content

Kids Code Online

ความ หมาย ของการกำหนดค่าให้กับ ตัวแปร หลายตัว

การกำหนดค่าให้กับตัวแปรสามารถทำได้ 3 วิธี คือ
1. การรับค่าจากภายนอก
r <– input(“กรุณากรอกข้อมูล”)

2. การกำหนดค่าจากค่าคงที่หรือตัวแปรอื่นๆ
PI <– 3.14

3. การกำหนดค่าจากการคำนวณ
result <– 5 + 8

สัญลักษณ์ที่นิยมใช้สำหรับกำหนดค่าให้กับตัวแปร คือ <– (ลูกศรที่หันหัวไปทางซ้าย) ใช้เพื่อนำค่าทางขวาลูกศร ไปกำหนดค่าให้ตัวแปรที่อยู่ทางซ้ายลูกศร เช่น

r <– input(“กรุณากรอกข้อมูล”) # รับข้อมูลจากคีย์บอร์ด นำมาเก็บในตัวแปร r
PI <– 3.14 # กำหนดค่า 3.14 นำมาเก็บในตัวแปร PI
result <– 5 + 8 # คำนวณค่า 5 + 8 แล้วนำผลลัพท์ที่ได้มาเก็บในตัวแปร result
result2 <– 2 x r x PI # คำนวณค่า 2 คูณ ค่าในตัวแปร r และค่าในตัวแปร PI แล้วนำผลลัพท์ที่ได้มาเก็บในตัวแปร result2


การตั้งชื่อตัวแปร

    ชื่อตัวแปร ใช้เป็นตัวแทนของการเรียกข้อมูล ดังนั้น ชื่อตัวแปรต้องสื่อความหมายว่าข้อมูลนั่นๆคืออะไร

ข้อมูลที่ต้องการเก็บชื่อตัวแปร
รหัสประจำตัว id
ชื่อ name
นามสกุล sname
อายุ age

หลักการตั้งตัวแปร

ในการเขียนโปรแกรม การกำหนดชื่อตัวแปรจะมีหลักเกณฑ์แตกต่างกันไป ตามแต่ละภาษาที่ใช้เขียนแต่ส่วนใหญ่ มีหลักเกณฑ์คล้ายกันคือ
1.ชื่อตัวแปรต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ A-Z หรือ a-z หรือเครื่องหมาย _ (Underscore)
2.ชื่อตัวแปรสามารถตามด้วยตัวเลข หรือตัวอักษรภาษาอังกฤษ ก็ได้
3.ห้ามเว้นวรรค หรือเครื่องหมายแปลกๆ เช่น ! @ # $ %
4.ห้ามตั้งชื่อด้วยคำสงวน เช่น if ,else , for , do, while


ตัวอย่าง คำนวณพื้นที่สี่เหลี่ยม

ความ หมาย ของการกำหนดค่าให้กับ ตัวแปร หลายตัว

สรุป

สัญลักษณ์ที่นิยมใช้สำหรับกำหนดค่าให้กับตัวแปร คือ <– (ลูกศรที่หันหัวไปทางซ้าย)

การกำหนดค่าให้กับตัวแปรสามารถทำได้ 3 วิธี คือ
1. การรับค่าจากภายนอก
2. การกำหนดค่าจากค่าคงที่หรือตัวแปรอื่นๆ
3. การกำหนดค่าจากการคำนวณ

ชื่อตัวแปร ใช้เป็นตัวแทนของการเรียกข้อมูล ดังนั้น ชื่อตัวแปรต้องสื่อความหมายว่าข้อมูลนั่นๆ

อ้างอิง

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้น ม.1 – สสวท.

สำหรับคนที่ชอบบทความนี้ อย่าลืมกด share หรือ กด like ที่ช่อง Fackbook: https://www.facebook.com/KidsCodeOnlineTH/ เพื่อเป็นกำลังใจให้กับทีมงานด้วยนะครับ

Post navigation

ความ หมาย ของการกำหนดค่าให้กับ ตัวแปร หลายตัว

ในการกำหนดค่าให้กับตัวแปรนั้น สามารถทำได้ 3 วิธี คือ 

  • การรับค่าจากภายนอก เช่น การพิมพ์ค่าจากคีย์บอร์ดเข้าไป
  • การกำหนดค่าจากค่าคงที่หรือตัวแปรอื่น เช่นการกำหนดค่าจากการเขียนโปรแกรม
  • การกำหนดค่าจากการคำนวณ คือค่าที่ได้จากการคำนวณ

ความ หมาย ของการกำหนดค่าให้กับ ตัวแปร หลายตัว

ตัวอย่างเช่น

a = 10 หมายความว่า นำค่า 10 ไปใส่ไว้ในตัวแปร a
a = b + c หมายความว่านำค่าของตัวแปร b มาบวกกับค่าของตัวแปร c ค่าที่ได้ทั้งหมด นำไปเก็บไว้ที่ตัวแปร a

“การตั้งชื่อตัวแปรเราควรตั้งชื่อให้เหมาะกับค่าที่เก็บในตัวแปร เช่น ตัวแปรชื่อว่า age ควรใช้เก็บข้อมูลเกี่ยวกับอายุ”

การกำหนดค่าให้กับตัวแปรมีกี่วิธี

การกาหนดค่าให้กับตัวแปรสามารถท าได้3 วิธี คือ 1. การรับค่าจากภายนอก Page 4 2. การกาหนดค่าจากค่าคงที่หรือตัวแปรอื่นๆ 3. การกาหนดค่าจากการคานวณ ชื่อตัวแปร ใช้เป็นตัวแทนของการเรียกข้อมูล ดังนั้น ชื่อตัวแปรต้องสื่อความหมายว่าข้อมูล นั่นๆ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) ชั้น ม.1 – สสวท.

การกำหนดค่าให้กับตัวแปร หมายถึงอะไร

การกำหนดค่าให้ตัวแปร การกำหนดค่า ในทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ คือการระบุค่าหรือการตั้งค่าใหม่ให้กับตำแหน่งเก็บข้อมูลที่แสดงไว้โดยชื่อตัวแปรในภาษาโปรแกรมเชิงคำสั่ง ข้อความสั่งกำหนดค่า เป็นข้อความสั่งพื้นฐานอย่างหนึ่ง ข้อความสั่งกำหนดค่ามักอนุญาตให้ชื่อตัวแปรเดิมสามารถมีได้หลายค่าในเวลาต่าง ๆ ในระหว่างที่โปรแกร

สัญลักษณ์ที่นิยมใช้กำหนดค่าให้กับตัวแปรได้แก่สัญลักษณ์อะไร

การกำหนดค่าให้ตัวแปร นิยมใช้สัญลักษณ์ <- ซึ่งหมายความว่า ให้นำค่าทางขวาของ ไปกำหนดให้กับตัวแปรทางซ้าย เช่น a <- 5 หมายความว่า ให้ a มีค่าเท่ากับ 5.

ข้อใดเป็นคำสั่งกำหนดค่าให้กับตัวแปร

การกำหนดค่าให้ตัวแปร ให้ใช้ประโยคคำสั่งกำหนดค่า (Assignment Statement) ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ ชื่อตัวแปร = ค่าข้อมูล ; ชื่อตัวแปรจะต้องตรงกับชื่อที่ประกาศไว้ และค่าข้อมูลที่กำหนดจะต้องอยู่ในช่วงค่าข้อมูลตามแบบข้อมูลที่ประกาศไว้ ตัวอย่าง No_of_Students = 30; //integer.