หัวใจเต้นเร็ว 180 ครั้งต่อนาที

มือใหม่หัดวิ่งค่ะ เราวิ่งสวนทุกเช้าค่ะ เพิ่งเริ่มวิ่งได้อาทิตย์นึงแล้วค่ะ แต่สงสัยว่า ใส่ polar heart rate แล้วสังเกตุดูว่าเริ่มวิ่งได้ไม่ทันไร หัวใจปาไป 170 ปลายๆ ถึง180 up ตลอดเลยค่ะ วิ่งขึ้้นเนินจะขึ้นไปที่ 193 ค่ะ TT เหนื่อยค่ะ แต่ปกติเราเป็นพวกชอบวิ่งจนเหนื่อยระดับนี้ประจำติดเป็นนิสัยอ่ะค่ะ วิ่งช้าๆเดินๆไม่ให้เหนื่อย มันรู้สึกไม่มันทันใจ

ทุกเช้าจะวิ่งแบบนี้หนึ่งชั่วโมงได้ระยะเกือบแปดกิโล ก็วิ่งไม่เร็วมากแต่หัวใจมันเต้นสูงจัง ถ้าวิ่งหัวใจระดับนี้ตลอด นานๆไปจะมีผลเสียหรือผลดีคะ การวิ่งมันจะพัฒนามั้ยคะ

   ในปัจจุบันผู้คนหันมาสนใจในเรื่องของการมีสุขภาพที่ดี SiPH จึงเห็นว่าการที่เราจะมีสุขภาพที่ดีได้นั้น มาจากพฤติกรรมหลายอย่าง หลายคนนั้นทำทุกอย่างเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง บ้างก็ออกกำลังกาย กินอาหารเสริม ควบคุมอาหาร แต่ถึงอย่างไรนั้น วิธีที่ดีที่สุดที่ SiPH จะแนะนำก็คือ การออกกำลังกาย นั่นเอง ฉะนั้นวันนี้ SiPH ก็มีเทคนิคง่าย ๆ 3 คำ ท่องไว้ สำหรับที่อยากจะออกกำลังกาย เพื่อการลดน้ำหนักอย่างมีประสิทธิภาพและสุขภาพที่ดี นั่นก็คือ หนัก นาน บ่อย

หนัก (Intensity) โดยปกติเราใช้อัตราการเต้นของหัวใจเป็นตัววัดความหนักของงาน ถ้าเป็นการออกกำลังกาย เพื่อลดน้ำหนักหรือเพื่อสุขภาพ อัตราการเต้นของหัวใจของผู้ออกกำลังกายควรอยู่ในอัตรา 60 - 80% ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด ซึ่งการออกกำลังกายก็มีอยู่ 2 ประเภทด้วยกัน

  1. คาร์ดิโอ (Cardio Exercise) เป็นหนึ่งในการออกกำลังกาย ที่เป็นการเสริมความแข็งแรงของระบบไหลเวียนเลือด หัวใจและปอด ให้สามารถนำออกซิเจนมาใช้ได้มากขึ้น เพิ่มศักยภาพในการออกกำลังกายให้ดีขึ้น และช่วยในการเผาผลาญแคลอรี่ เพื่อการลดน้ำหนักได้ดี
  2. เวทเทรนนิ่ง (Weight training) หรืออาจจะเรียกอีกอย่างว่า Resistance training หรือ การออกกำลังกายแบบมีแรงต้าน เช่น การยกน้ำหนักที่เราสามารถใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นดัมเบลล์ บาร์เบล ยางยืด หรือน้ำหนักตัวของเราเอง

รู้ได้อย่างไรว่าแค่ไหนหนักพอ?

โดยคำนวณจาก ชีพจรสูงสุดของแต่ละอายุ =  220 – อายุ

ตัวอย่างเช่น : อายุ 40 ปี ชีพจรสูงสุดของคนอายุ 40 ปี = 220 - 40  = 180 ครั้ง/นาที

ต้องการออกกำลังกายที่ 60-80% ของชีพจรสูงสุด สามารถคำนวณได้ดังนี้

  • ชีพจรเป้าหมาย ( Target Heart Rate ) 60% = 60/100*180 = 108 ครั้ง/นาที
  • ชีพจรเป้าหมาย ( Target Heart Rate ) 80% = 80/100*180 = 144 ครั้ง/นาที

ดังนั้น คนอายุ 40 ปี หากจะออกกำลังเพื่อลดน้ำหนักควรให้หัวใจเต้นระหว่าง 108 – 144 ครั้งต่อนาที หรือสามารถดูได้จากตารางนี้

หัวใจเต้นเร็ว 180 ครั้งต่อนาที

นาน (Duration) โดยทั่วไปแล้วการออกกำลังกายให้มีประสิทธิภาพ จะแนะนำให้ทำอย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์ วันละประมาณ 20 - 30 นาที   หรือสามารถเพิ่มได้ถึงครั้งละ 60 นาที

บ่อย (Frequency) ควรออกกำลังกายอย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ หรือสามารถออกกำลังกายเพื่อลดน้ำหนักได้มากกว่า 5 วัน/สัปดาห์

เคล็ดลับ

  • ชนิดของการออกกำลังกายเพื่อลดน้ำหนัก (Type) ควรเป็นแบบแอโรบิค (Aerobic Exercise) เน้นการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่
  • จัดให้มีความสมดุลกันระหว่างการออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรง การออกกำลังการเพื่อสร้างความยืดหยุ่นให้ร่างกาย

การออกกำลังกายแบบแอโรบิค คือ การออกกำลังกายที่ร่างกายต้องการใช้ออกซิเจน โดยการออกกำลังกายแบบแอโรบิค จะออกกำลังกายด้วยระดับความหนักที่กำลังพอดี คือทำให้ระบบหลอดเลือดหัวใจของคุณ สามารถส่งออกซิเจนไปให้กล้ามเนื้อและคงระดับการออกกำลังกายขณะนั้นต่อไปได้เรื่อย ๆ โดยให้ระดับความหนักในการออกกำลังกายอยู่ประมาณ 60-80 เปอร์เซ็นต์ของอัตราการเต้นหัวใจสูงสุด ตัวอย่างการออกกำลังแอโรบิค เช่น การเดิน (เร็วๆ) การวิ่ง ว่ายน้ำ กระโดดเชือก เต้นแอโรบิค ถีบจักรยาน เป็นต้น

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คลิก!!ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ชั้น 3 โซน C

   ในปัจจุบันผู้คนหันมาสนใจในเรื่องของการมีสุขภาพที่ดี SiPH จึงเห็นว่าการที่เราจะมีสุขภาพที่ดีได้นั้น มาจากพฤติกรรมหลายอย่าง หลายคนนั้นทำทุกอย่างเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง บ้างก็ออกกำลังกาย กินอาหารเสริม ควบคุมอาหาร แต่ถึงอย่างไรนั้น วิธีที่ดีที่สุดที่ SiPH จะแนะนำก็คือ การออกกำลังกาย นั่นเอง ฉะนั้นวันนี้ SiPH ก็มีเทคนิคง่าย ๆ 3 คำ ท่องไว้ สำหรับที่อยากจะออกกำลังกาย เพื่อการลดน้ำหนักอย่างมีประสิทธิภาพและสุขภาพที่ดี นั่นก็คือ หนัก นาน บ่อย

หนัก (Intensity) โดยปกติเราใช้อัตราการเต้นของหัวใจเป็นตัววัดความหนักของงาน ถ้าเป็นการออกกำลังกาย เพื่อลดน้ำหนักหรือเพื่อสุขภาพ อัตราการเต้นของหัวใจของผู้ออกกำลังกายควรอยู่ในอัตรา 60 - 80% ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด ซึ่งการออกกำลังกายก็มีอยู่ 2 ประเภทด้วยกัน

  1. คาร์ดิโอ (Cardio Exercise) เป็นหนึ่งในการออกกำลังกาย ที่เป็นการเสริมความแข็งแรงของระบบไหลเวียนเลือด หัวใจและปอด ให้สามารถนำออกซิเจนมาใช้ได้มากขึ้น เพิ่มศักยภาพในการออกกำลังกายให้ดีขึ้น และช่วยในการเผาผลาญแคลอรี่ เพื่อการลดน้ำหนักได้ดี
  2. เวทเทรนนิ่ง (Weight training) หรืออาจจะเรียกอีกอย่างว่า Resistance training หรือ การออกกำลังกายแบบมีแรงต้าน เช่น การยกน้ำหนักที่เราสามารถใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นดัมเบลล์ บาร์เบล ยางยืด หรือน้ำหนักตัวของเราเอง

รู้ได้อย่างไรว่าแค่ไหนหนักพอ?

โดยคำนวณจาก ชีพจรสูงสุดของแต่ละอายุ =  220 – อายุ

ตัวอย่างเช่น : อายุ 40 ปี ชีพจรสูงสุดของคนอายุ 40 ปี = 220 - 40  = 180 ครั้ง/นาที

ต้องการออกกำลังกายที่ 60-80% ของชีพจรสูงสุด สามารถคำนวณได้ดังนี้

  • ชีพจรเป้าหมาย ( Target Heart Rate ) 60% = 60/100*180 = 108 ครั้ง/นาที
  • ชีพจรเป้าหมาย ( Target Heart Rate ) 80% = 80/100*180 = 144 ครั้ง/นาที

ดังนั้น คนอายุ 40 ปี หากจะออกกำลังเพื่อลดน้ำหนักควรให้หัวใจเต้นระหว่าง 108 – 144 ครั้งต่อนาที หรือสามารถดูได้จากตารางนี้

หัวใจเต้นเร็ว 180 ครั้งต่อนาที

นาน (Duration) โดยทั่วไปแล้วการออกกำลังกายให้มีประสิทธิภาพ จะแนะนำให้ทำอย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์ วันละประมาณ 20 - 30 นาที   หรือสามารถเพิ่มได้ถึงครั้งละ 60 นาที

บ่อย (Frequency) ควรออกกำลังกายอย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ หรือสามารถออกกำลังกายเพื่อลดน้ำหนักได้มากกว่า 5 วัน/สัปดาห์

เคล็ดลับ

  • ชนิดของการออกกำลังกายเพื่อลดน้ำหนัก (Type) ควรเป็นแบบแอโรบิค (Aerobic Exercise) เน้นการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่
  • จัดให้มีความสมดุลกันระหว่างการออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรง การออกกำลังการเพื่อสร้างความยืดหยุ่นให้ร่างกาย

การออกกำลังกายแบบแอโรบิค คือ การออกกำลังกายที่ร่างกายต้องการใช้ออกซิเจน โดยการออกกำลังกายแบบแอโรบิค จะออกกำลังกายด้วยระดับความหนักที่กำลังพอดี คือทำให้ระบบหลอดเลือดหัวใจของคุณ สามารถส่งออกซิเจนไปให้กล้ามเนื้อและคงระดับการออกกำลังกายขณะนั้นต่อไปได้เรื่อย ๆ โดยให้ระดับความหนักในการออกกำลังกายอยู่ประมาณ 60-80 เปอร์เซ็นต์ของอัตราการเต้นหัวใจสูงสุด ตัวอย่างการออกกำลังแอโรบิค เช่น การเดิน (เร็วๆ) การวิ่ง ว่ายน้ำ กระโดดเชือก เต้นแอโรบิค ถีบจักรยาน เป็นต้น

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คลิก!!ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ชั้น 3 โซน C

หัวใจเต้นเร็วแค่ไหนอันตราย

หัวใจเต้น 60-100 ครั้งต่อนาที : ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติ หัวใจเต้นเกิน 100 ครั้งต่อนาที : มีภาวะหัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นเกิน 150 ครั้งต่อนาที : มีภาวะหัวใจเต้นเร็วมากเข้าขั้นอันตราย

หัวใจเต้นเร็วมาก เกิดจากอะไร

1. หัวใจเต้นเร็วเพราะหัวใจถูกกระตุ้น ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติของไฟฟ้าหัวใจ เช่น อยู่ในภาวะตกใจ หรือไปออกกำลังกาย เสียเลือดมากจนซีด ขาดน้ำ ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ หรือเกิดภาวะไทรอยด์เป็นพิษ การดื่มชา กาแฟ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งก็จะส่งผลให้หัวใจเต้นเร็วได้

SVT อันตราย ไหม

อาการที่ว่ามาถือว่า "อันตรายมาก" และหากปล่อยทิ้งไว้ อาจเกิดภาวะช็อคจากการทำงานของหัวใจ หรือ Cardiogenic Shock ได้ ดังนั้นอย่ารีรอที่จะไปพบแพทย์

ทํายังไงไม่ให้หัวใจเต้นเร็ว

การรักษา.
งดเหล้า บุหรี่ กาแฟและสารเสพติด.
รักษาต้นเหตุของใจสั่น เช่น ไทรอยด์ อาการไข้ โรควิตกกังวล.
การรักษาด้วยาเพื่อควบคุมการเต้นของหัวใจ.
การรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือด.
การช็อคด้วยไฟฟ้า.
การจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง.
การใส่เครื่องกระตุ้น หรือกระตุ้นหัวใจ.