ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ตัวอย่าง

17.ผลหรือประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย (Expected Benefits & Application)

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย เป็นความสำคัญของการวิจัยที่ผู้วิจัยพิจารณาว่าการวิจัยเรื่องนั้น  ทำให้ทราบผลการวิจัยเรื่องอะไร และผลการวิจัยนั้นมีประโยชน์ต่อใคร อย่างไร เช่น การระบุประโยชน์ที่เกิดจากการนำผลการวิจัยไปใช้ ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มพูนความรู้ หรือนำไปเป็น แนวทางในการปฏิบัติ หรือแก้ปัญหา หรือพัฒนาคุณภาพ หลักในการเขียนมีดังนี้

1. ระบุประโยชน์ที่อาจเกิดจากผลที่ได้จากการวิจัย
2. สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และอยู่ในขอบเขตของการวิจัยที่ได้ศึกษา
3. ในกรณีที่ระบุประโยชน์มากกว่า 1 ประการ ควรระบุเป็นข้อ
4. เขียนด้วยข้อความสั้น กะทัดรัด ชัดจน
5. การระบุนั้นผู้วิจัยต้องตระหนักว่ามีความเป็นไปได้

อรุณรุ่ง  ปภาพสิษฐ (2555:4)  ได้กล่าวถึง  หลักการเขียนประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับการวิจัย มีดังนี้

1  เป็นการกล่าวถึงผลที่ได้รับจากการวิจัย จะนำมาใช้ประโยชน์ในทางปฏิบัติจริงสำหรับใคร  อย่างไร

2  ผลการวิจัยจะเป็นประโยชน์ต่อความเจริญก้าวหน้าทางวิชาการอย่างไร

3  เป็นแนวทางที่จะใช้ในการวิจัยในเรื่องอื่น ๆ ได้อย่างไร

บุญชม  ศรีสะอาด  (2554:19)  ได้กล่าวไว้ว่า ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ในการทำวิจัยแต่ละเรื่องจะต้องทราบว่าเมื่อทำวิจัยเสร็จแล้วจะนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์อย่างไร ประโยชน์ของการวิจัย อาจใช้ได้ลักษณะ เช่น บางหน่วยงานอาจจะนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการกำหนดนโยบาย ปรับปรุงการเรียนการสอน ใช้เป็นแนวทางในการตัดสินใจแก้ปัญหาที่กำลังประสบหรือทำข้อเสนอแนะ เป็นต้น

สรุป

                ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ในการทำวิจัยแต่ละเรื่องจะต้องทราบว่าเมื่อทำวิจัยเสร็จแล้วจะนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์อย่างไร ประโยชน์ของการวิจัย อาจใช้ได้ลักษณะ เช่น บางหน่วยงานอาจจะนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการกำหนดนโยบาย ปรับปรุงการเรียนการสอน ใช้เป็นแนวทางในการตัดสินใจแก้ปัญหาที่กำลังประสบหรือทำข้อเสนอแนะหลักในการเขียนมีดังนี้


1. ระบุประโยชน์ที่อาจเกิดจากผลที่ได้จากการวิจัย
2. สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และอยู่ในขอบเขตของการวิจัยที่ได้ศึกษา
3. ในกรณีที่ระบุประโยชน์มากกว่า 1 ประการ ควรระบุเป็นข้อ
4. เขียนด้วยข้อความสั้น กะทัดรัด ชัดจน
5. การระบุนั้นผู้วิจัยต้องตระหนักว่ามีความเป็นไปได้

ที่มา:

http://www.unc.ac.th/elearning/elearning1/Duddeornweb/impact1.htm  เข้าถึงเมื่อ 25 ธันวาคม 2555.

อรุณรุ่ง  ปภาพสิษฐ.  (2555).  เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง เค้าโครงการวิจัย. 

บุญชม  ศรีสะอาด. (2554) . การวิจัยเบื้องต้น . (พิมพ์ครั้งที่ 9) .กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1.ได้คู่มือสำหรับใช้ในการออกแบบและปรับปรุงอาคารรวมถึงแบบอาคารต้นแบบในการจัดการคุณภาพแสงภายในอาคารแต่ละประเภทของการเคหะแห่งชาติ สำหรับนำไปใช้ประยุกต์การก่อสร้างอาคารในอนาคต
2.ประชาชนทั่วไปได้รับทราบถึงความก้าวหน้าในการดำเนินงานทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมของการเคหะแห่งชาติ
3.ได้องค์ความรู้ และเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านนวัตกรรมการอยู่อาศัยระหว่างหน่วยงานวิจัยในประเทศ อันจะทำให้เกิดการขยายผล ต่อยอด และก้าวเข้าสู่การเป็นผู้นำในด้านนวัตกรรมที่อยู่อาศัยเพี่อการอนุรักษ์พลังงาน และช่วยรักษาสภาวะแวดล้อมตามยุทธศาสตร์และเป้าหมายของชาติ
4.ประชาชนในโครงการที่อยู่อาศัยของการเคหะแห่งชาติมีคุณภาพชีวิตที่ดี และได้รับประโยชน์จากสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในด้านคุณภาพแสงภายในอาคารและประหยัดพลังงาน
5.เกิดการกระตุ้นทางสังคมในการตระหนักถึงความสำคัญในด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงาน
6.ได้องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับแนวทางและมาตรฐานในการออกแบบแสงสว่างสำหรับอาคารพักอาศัยสำหรับคนไทย

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย

อธิบายถึงประโยชน์ที่จะนำไปใช้ได้จริง ในด้านวิชาการ เช่น จะเป็นการค้นพบทฤษฎีใหม่ซึ่งสนับสนุนหรือ คัดค้านทฤษฎีเดิม และประโยชน์ในเชิงประยุกต์ เช่น นำไปวางแผนและกำหนดนโยบายต่างๆ หรือประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อหาแนวทางพัฒนาให้ดีขึ้น เป็นต้น โดยครอบคลุมทั้ง ผลในระยะสั้น และระยะยาว ทั้งผลทางตรง และทางอ้อม และควรระบุในรายละเอียดว่า ผลดังกล่าว จะตกกับใคร เป็นสำคัญ

ยกตัวอย่าง เช่น โครงการวิจัยเรื่อง การฝึกอบรมอาสาสมัคร ระดับหมู่บ้าน

ผลในระยะสั้น ก็อาจจะได้แก่ จำนวนอาสาสมัครผ่านการอบรมในโครงนี้

ส่วนผลกระทบ (impact) โดยตรง ในระยะยาว ก็อาจจะเป็น คุณภาพชีวิตของคนในชุมชนนั้น ที่ดีขึ้น

ส่วนผลทางอ้อม อาจจะได้แก่ การกระตุ้นให้ประชาชน ในชุมชนนั้น มีส่วนร่วม ในการพัฒนาหมู่บ้าน ของตนเอง  (คณะกรรมการฝึกอบรมและสอบความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม  สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว  ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย)

ตัวอย่างที่ 1

ชื่อเรื่องวิจัย  การนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ในสิ่งพิมพ์โฆษณา  (ผู้วิจัย : นายสถาพร  หาญพานิช)

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทำให้ทราบถึงรูปแบบในการนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ในงานโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ที่นำมาใช้ในช่วงเวลา 10 ปี
  2. ทำให้ทราบถึงวิธีการสร้างความแตกต่างในงานโฆษณาด้วยรูปแบบการนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ต่าง ๆ

สำหรับุคคลทั่วไปที่สนใจเรียนตัดต่อวีดิโอด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 5.5 แบบออนไลน์ (โดยผมเป็นวิทยากรเอง) สามารถศึกษารายละเอียดและสมัครเรียนได้ตามลิงก์ข้างล่างครับ

https://edumall.co.th/courses/primiere-pro-cs5_pipit/detail

โดยท่านสามารถส่งอีเมล์ขอรับรหัสโปรโมชั่นได้ที่ เพื่อใช้ลดราคาในการซื้อคอร์สเรียนจากราคา 1,999 บาท เหลือราคา 899 บาท

Effective date: 8th Sep 2017 – 8th Oct 2017


ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับมีอะไรบ้าง

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ.
ส่วนนี้จะเป็นการบอกถึงว่าเมื่อโครงการที่ทำสิ้นสุดลง จะมีผลกระทบในทางที่ดีที่คาดว่าจะเกิดขึ้นโดยตรงและโดยอ้อม โดยระบุให้ชัดเจนว่าใครจะได้รับผลประโยชน์และผลกระทบนั้นได้รับในลักษณะอย่างไร ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพนอกจากส่วนประกอบทั้ง 11 รายการที่ได้กล่าวแล้ว.
1. โครงการอะไร หมายถึง ชื่อโครงการ.

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัยคืออะไร

1. ทำให้ได้ความรู้ใหม่ที่ทำให้เกิดความเจริญก้าวหน้าทางวิชาการใหม่ๆ ทั้งในด้านทฤษฎีและปฏิบัติ 2. ทำให้เกิดความเข้าใจในปรากฎการณ์และพฤติกรรมต่างๆ ที่มีอยู่ให้ดียิ่งขึ้น ตลอดจนสามารถทำนายสิ่งเหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ทำให้ทราบข้อเท็จจริงต่างๆ ที่จะนำไปเป็นประโยชน์ในการแก้ไข ปรับปรุง หรือพัฒนาด้านต่างๆ ให้ดียิ่งขึ้น

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ" ผู้วิจัยต้องเขียนโดยคำนึงถึงอะไรเป็นหลัก

การเขียนประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัยจะเป็นการ ก าหนดว่าเมื่อท าวิจัยเสร็จแล้ว จะสามารถน าผลการวิจัยไปใช้ ประโยชน์อย่างไรได้บ้างมีวิธีการเขียนดังนี้ 1. ควรเขียนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย 2. เขียนให้บ่งชี้ถึงความจาเป็นและความส าคัญที่ต้องทาวิจัย ปัญหานั้น ๆ 3. ควรระบุว่าจะน าผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ส าห ...

ประโยชน์ของโครงร่างการวิจัย มีอะไรบ้าง

โครงร่างการวิจัย มีประโยชน์คือจะทำให้ได้แนวดำเนินการวิจัยไปสู่เป้าหมาย ทำให้ผู้วิจัย คาดถึงปัญหาไว้ล่วงหน้าสามารถเตรียมการเพื่อป้องกันปัญหา มีการประมาณการค่าใช้จ่าย เวลา บุคลากร ช่วยให้ผู้วิจัย สามารถติดตาม นิเทศ ควบคุม กำกับงาน และประเมินผลการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง นอกจากนี้