ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน

อำนาจทางการเมืองมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของประชาชน ประชาชนจะมีชีวิตมั่งคั่งสมบูรณ์ ยากจน ล้าหลัง ก็ขึ้นอยู่กับระบอบการเมือง หากระบบดีและมีผู้นำที่ดีก็จะใช้อำนาจในการแก้ปัญหาให้ประชาชนอยู่ดีกินดีได้ หากระบอบการเมืองไม่ดี และมีผู้นำไม่ดี การใช้อำนาจจะทำให้ประชาทุกข์ยากลำบาก เดือดร้อน ยากจน การศึกษาต่ำ ขาดโอกาสที่จะเลือกเส้นทางการดำเนินชีวิต ดังนั้นการเมืองจึงมีความสำคัญต่อวิถีชีวิตของประชาชน

ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน
ประชาชนทุกคนต้องอยู่ภายใต้ระบอบการเมืองการปกครองแบบใดแบบหนึ่ง และต้องดำเนินชีวิตตามบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญ 
ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน
ประเทศนั้นๆ ดังเช่น ประเทศที่ปกครองด้วยระบอบเผด็จการ ประชาชนต้องปฏิบัติตามคำสั่งของรัฐบาลตลอดเวลา ไม่สามารถเรียกร้องหรือคัดค้านได้ ส่วนประชาชนที่อยู่ในประเทศที่ปกครองระบอบประชาธิปไตย
ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน
ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน
ก็จะมีสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญบัญญัติคุ้มครองไว้อย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน ดังตัวอย่างการแสดงออกพฤติกรรมของประชาชนที่มีต่อระบอบเผด็จการในประเทศพม่าที่ นางอองซาน ซูจี
ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน
ผู้เรียกร้องประชาธิปไตยถูกกักบริเวณไว้ในบ้านเป็นเวลากว่า 20 ปี ทำให้ประชาชนในประเทศประชาธิปไตยหลายประเทศรวมตัวกันกดดันให้พม่าดำเนินการปฏิรูประบอบการเมืองการปกครอง เรียกร้องให้เคารพสิทธิเสรีภาพของประชาชนให้มากขึ้น โดยใช้การกดดันหลายรูปแบบ เช่นร่วมกันประณามรัฐบาลของประเทศที่ใช้เผด็จการให้เคารพสิทธิมนุษยชน ทำให้นางอองซาน ซูจีได้รับการปลดปล่อยตัวในที่สุด
ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน

สำหรับประเทศไทยเคยได้รับการตำหนิว่าปกครองด้วยระบอบเผด็จการ

ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน
ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน
แต่มีเหตุการณ์ การปฏิวัติ รัฐประหาร การชุมนุมของคนบางกลุ่ม เรียกร้องเพื่อให้แก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อให้เป็นประชาธิปไตยอยู่เสมอมา ผลจากเหตุการณ์ดังกล่าวนำไปสู่ความคิดเห็นทางการเมืองที่แตกต่างกันอย่างหนักในสังคมไทย ซึ่งกล่าวได้ว่าอิทธิพลของระบอบการเมืองการปกครองมีผลต่อการดำเนินชีวิตของคนไทยดังนี้

ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน

1. ทำให้คนในสังคมไทยได้เห็นความสำคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่ประชาชนทุกคนมี สิทธิเสรีภาพ  เท่าเทียมกัน และได้ตระหนักถึง หน้าที่ของตน ต่อการปกครอง
2. ทำให้ประชาชนมีความตื่นตัวทางการเมือง เช่นให้การสนับสนุนพรรคการเมืองโดยการสมัครเป็นสมาชิกของพรรคการเมือง
3. ส่งเสริมให้เกิดการแสดงความคิดเห็นทั้งที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วย
4. ทำให้เกิดการร่วมกลุ่มทางเศรษฐกิจ กลุ่มผลประโยชน์
5. ทำให้ชีวิตของคนในท้องถิ่นมีโอกาสสัมพันธ์กันในเรื่องต่างๆ เพื่อปกป้องผลประโยชน์ในท้องถิ่นของตน

ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน

            สถานการณ์ทางการเมืองการปกครองของไทยในปัจจุบัน  เผชิญกับสิ่งที่ไม่พึงประสงค์หลายประการ ดังเช่น
1. การทุจริตในหมู่นักการเมืองและข้าราชการสาเหตุเพราะสังคมทุนนิยมที่เน้นบริโภคนิยมให้ความสำคัญกับวัตถุนิยม ทำให้ผู้คนต้องการวัตถุและผลประโยชน์อย่างไม่มีข้อจำกัด
2. การซื้อขายเสียงในการเลือกตั้ง
3. พรรคการเมืองเป็นพรรคส่วนบุคคล อำนาจเป็นของนักการเมืองมืออาชีพที่มีเครือข่ายนักการเมืองกว้างขวางและมีทุนทรัพย์มากมายมหาศาลคุมการเมืองอยู่
4. ความสัมพันธ์ในระบบอุปถัมภ์ เป็นความสัมพันธ์ระหว่างนักการเมืองและผู้เลือกตั้งเนื่องจากประชาชนในชนบทยังช่วยตนเองไม่ได้ ต้องอาศัยผู้มีอิทธิพลให้การคุ้มครองและช่วยเหลือทางการเงินและการเลี้ยงชีพ
            5. การต่อสู้แบบทำลายล้าง การเมืองเป็นเรื่องของอำนาจและผลประโยชน์จึงมีการทำลายล้างระหว่างนักการเมืองฝ่ายตรงข้ามอยู่เสมอ

ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน

1. ปัญหาความคิดเห็นทางการเมืองของคนไทยที่แตกต่างกัน คนไทยเริ่มมีความคิดเห็นขัดแย้งกันมาเป็นระยะๆ แต่แสดงออกอย่างชัดเจน ตั้งแต่ปี 2549 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งอาจจะนำไปสู่ความรุนแรงในอนาคต
2. ปัญหาความอ่อนแอของฝ่ายบริหาร สาเหตุของความไม่ต่อเนื่องของการบริหารประเทศเนื่องจากการเปลี่ยนรัฐบาลบ่อย
3. ปัญหาที่เกิดจากระบบพรรคการเมือง มีพรรคการเมืองจำนวนมากเกินไป ทำให้มีความหลากหลายในแนวนโบยาย การบริหารประเทศ
4. นักการเมืองขาดคุณธรรมจริยธรรม

ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน

การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศหมายถึง การตกลงทำข้อผูกพันร่วมกันในเรื่องต่างๆเพื่อให้เกิดความมั่นคงทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยการแบ่งปันผลประโยชน์และแลกเปลี่ยนความก้าวหน้า รวมทั้งความรู้ข้อมูลข่าวสารต่างๆ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศมีความสำคัญอย่างยิ่งในทางการทูต การเมือง การค้า และการทหาร ซึ่งเป็นการรักษาผลประโยชน์ร่วมกันของทุกฝ่าย

ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน

ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน

ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน

ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน

ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน

ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองจากการมีผู้ปกครองคนเดียว คือ พระมหากษัตริย์ หรือเรียกที่ว่า ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยคณะราษฎรได้ยึดอำนาจจากรัชกาลที่ 7 เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 การเมืองการปกครองไทยจึงได้นำการปกครองแบบประชาธิปไตยมาใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 โดยเป็นระบอบประชาธิปไตยแบบประเทศอังกฤษ ซึ่งมีการเขียนไว้เป็นลายลักษณ์อักษรเรียกว่า รัฐธรรมนูญ และถือเป็นกฎหมายสูงสุด ปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 คือ รัฐธรรมนูญ 2560 โดยบัญญัติให้มีสถาบันทางการเมืองประกอบด้วยฝ่ายนิติบัญญัติ ได้แก่ องค์กรรัฐสภาเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ ประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา มีอำนาจหน้าที่ในการออกกฎหมายและตรวจสอบการใช้อำนาจของฝ่ายบริหาร คือ รัฐบาล ฝ่ายบริหาร ได้แก่ รัฐบาล ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า รวมทั้งองค์การของรัฐบาล ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในการบริหารราชการแผ่นดินตามกฎหมาย และฝ่ายตุลาการ ได้แก่ องค์กรศาลยุติธรรม ศาลปกครอง และศาลทหาร ซี่งมีอำนาจหน้าที่ในการตรวจสอบควบคุมบังคับให้ทุกภาคส่วนของสังคมไทยปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย และยังมีองค์กรอิสระ ได้แก่ คณะกรรมการการเลือกตั้ง  ผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน และคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ คือ องค์กรอัยการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นสถาบันทางการเมืองตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยที่มีอำนาจหน้าที่ตามที่รัฐธรรมนูญและกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญบัญญัติไว้

Downloads

Download data is not yet available.

References

กวี อิศริวรรณ. (2530). 20 ความคิดทางการเมือง. กรุงเทพมหานคร : บริษัท สยามบรรณ จำกัด.

จิรโชค (บรรพต) วีระสย และคณะ. (2547). รัฐศาสตร์ทั่วไป. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย รามคำแหง.

จิรโชค (บรรพต) วีระสย และคณะ. (2557). รัฐศาสตร์ทั่วไป. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2552). รัฐ, กรุงเทพมหานคร : บริษัท พี.เพรส จำกัด.

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2557). รัฐศาสตร์แนววิพากษ์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ทินพันธุ์ นาคะตะ. (2551). รัฐศาสตร์ : ทฤษฎี แนวความคิด ปัญหาสำคัญ และแนวทางการศึกษาวิเคราะห์การเมือง. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหายบล็อกและการพิมพ์.

ทินพันธุ์ นาคะตะ. (2551). ศาสตร์และศิลป์ การเมืองการบริหารไทย. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหายบล็อกและการพิมพ์.

ทินพันธุ์ นาคะตะ. (2555). การเมืองไทย ระบบที่ไม่มีสูตรสำเร็จรูปในการแก้ปัญหา. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ปัญญาชน.

ทินพันธุ์ นาคะตะ. (2564). รัฐศาสตร์ ทฤษฎี แนวคิด ปัญหาสำคัญ และแนวทางวิเคราะห์การเมือง. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์. (2556). รวมบทความวิชาการรัฐศาสตร์ ครบรอบ 31 ปี สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมราช. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ. (2563). การเมืองไทยร่วมสมัย. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ศูนย์การพิมพ์แก่นจันทร์ จำกัด.

ลิขิต ธีรเวคิน. (2548) วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วิทยา เชียงกูร. (2551). การปฏิวัติประชาธิปไตยเพื่อแก้ไขวิกฤติของชาติ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เดือน ตุลา.

ศิริพร เชาวลิต. (2557). การเมืองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สมเกียรติ วันทะนะ. (2551). อุดมการณ์ทางการเมืองร่วมสมัย. กรุงเทพมหานคร : เอส.พ.วี. การพิมพ์ (2550).

สุรพล นิติไกรพจน์และคณะ. (2548). รวมกฎหมายปกครอง. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร : บริษัทโฟปริ้นติ้ง จำกัด.

สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง หนังสือรวมกฎหมาย ระเบียบ และประกาศที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง (ม.ป.ป.).

อนุสรณ์ ลิ้มมณี. (2558). รัฐ สังคม และการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพมหานคร : บริษัท สำนักพิมพ์สยามปริทัศน์ จำกัด.

ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน

Downloads

  • PDF

เผยแพร่แล้ว

2021-11-08

How to Cite

More Citation Formats

  • ACM
  • ACS
  • APA
  • ABNT
  • Chicago
  • Harvard
  • IEEE
  • MLA
  • Turabian
  • Vancouver

Download Citation

  • Endnote/Zotero/Mendeley (RIS)
  • BibTeX

ฉบับ

ปีที่ 26 ฉบับที่ 2 (2021): (กรกฎาคม-ธันวาคม)

บท

บทความวิชาการ

License

Copyright (c) 2021 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

ระบอบการปกครองของไทยในปัจจุบัน

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.

ในปัจจุบันประเทศไทยมีการปกครองเป็นแบบใด

ประเทศไทยเป็นรัฐเดี่ยวซึ่งมีการปกครองในกรอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภาภายใต้ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยที่พระมหากษัตริย์ ซึ่งปัจจุบันคือพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นประมุขแห่งรัฐ ส่วนนายกรัฐมนตรี ซึ่งปัจจุบันคือประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นหัวหน้ารัฐบาล รัฐบาลไทยเป็นผู้ใช้อำนาจบริหาร อำนาจนิติบัญญัติอยู่กับรัฐสภาไทย ...

ระบบการเมืองการปกครองของไทยมีกี่แบบ

เขตการปกครองของประเทศไทย แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ การปกครองส่วนภูมิภาค และการปกครองส่วนท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ที่แบ่งการบริหารราชการแผ่นดินออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค และราชการส่วนท้องถิ่น

การปกครองระบอบประชาธิปไตยเกิดขึ้นในสมัยใด

คำว่า ประชาธิปไตย ปรากฏขึ้นครั้งแรกในแนวคิดทางการเมืองและทางปรัชญาในกรีซโบราณ ปราชญ์เพลโตเปรียบเทียบประชาธิปไตยซึ่งเขาเรียกว่าเป็น "การปกครองโดยผู้ถูกปกครอง" ว่าเป็นรูปแบบทางเลือกสำหรับระบอบราชาธิปไตย คณาธิปไตย และเศรษฐยาธิปไตย ชาวนครเอเธนส์สถาปนาระบอบที่ถือกันว่าเป็นประชาธิปไตยแห่งแรกของโลกเมื่อ 508–507 ปีก่อน ค.ศ. ...

ระบบการเมืองการปกครอง มีอะไรบ้าง

การปกครอง คือการใช้อำนาจอธิปไตยตามกฎหมายในการบริหารและจัดการประเทศ การปกครองมีหลายรูปแบบ เช่น การปกครองแบบประชาธิปไตย และการปกครองแบบเผด็จการ นอกจากนี้การปกครองยังมีได้หลายระดับ เช่น การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และ การปกครองส่วนท้องถิ่น