หลักสูตรภาษาไทย ประถมศึกษา doc

หลักสูตรภาษาไทย ประถมศึกษา doc
ตัวอย่างการวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดภาษาไทย ป.3 ปี 2563

ดาวน์โหลดไฟล์ ตัวอย่างการวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดภาษาไทย ป.3 ปี 2563

สวัสดีครับคุณครูทุกท่าน วันนี้ สื่อการสอนฟรี ดอทคอม ขอนำเสนอดาวน์โหลด ตัวอย่างการวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดภาษาไทย ป.3 ปี 2563 และขอขอบคุณข้อมูลดีๆจาก New สื่อ&นวัตกรรม สำหรับคุณครู

หลักสูตรภาษาไทย ประถมศึกษา doc
หลักสูตรภาษาไทย ประถมศึกษา doc
หลักสูตรภาษาไทย ประถมศึกษา doc
หลักสูตรภาษาไทย ประถมศึกษา doc

สำหรับคุณครูภาษาไทย ป.3
การวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดภาษาไทย ป.3 ปี 2563 (21หน้า)
ตัวอย่างการวิเคราะห์หลักสูตรสู่หน่วยการเรียนรู้
ตัวอย่างการวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้สู่แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง คำควบกล้ำ

ดาวน์โหลดไฟล์ที่นี่

ที่มา New สื่อ&นวัตกรรม สำหรับคุณครู

Back to top button

ประกาศโรงเรียนบา้ นวงั ตาอินทร์
เรอื่ ง ให้ใชห้ ลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านวงั ตาอนิ ทร์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

………………………….......…….

โรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต ๒ ได้
ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช ๒๕๖4 และเอกสารประกอบ
หลักสูตรขึ้น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และฉบับปรับปรุง พุทธศักราช
2560 เพอ่ื กำหนดใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรยี นบ้านวังตาอนิ ทร์ เพ่ือให้การ
จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และ
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เป็นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
กำลังคนของชาติใหส้ ามารถเพมิ่ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ การยกระดับคุณภาพการศึกษาและ
การเรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานสากล สอดคล้องกับประเทศไทย 4.0 โลกในศตวรรษที่ 21 และทัดเทียม
กับนานาชาติ ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและดํารงชีวิตอย่างสร้างสรรค์ ในประชาคมโลก ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

โดยโรงเรียนไดจ้ ดั ทำและพฒั นาหลักสูตรตามแนวคิดหลักสตู รองิ มาตรฐาน คือ กำหนดมาตรฐานการ
เรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดในหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มี
จิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การ
ประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถ
เรยี นร้แู ละพัฒนาตนเองได้เตม็ ตามศักยภาพ

ทั้งนี้ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช 2564 ได้รับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่ 10 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖4 จึงประกาศให้ใช้หลักสูตร
โรงเรียนตั้งแต่บดั นเ้ี ป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖4

ลงช่ือ ลงชื่อ
(นายองอาจ เพชรขนุ ทด ) (นางวาสนา น้ำเพ็ชร )

ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นวงั ตาอนิ ทร์
โรงเรียนบา้ นวงั ตาอินทร์

คำนำ

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช 2564 ได้จัดทำขึ้นตามแนวทางที่กำหนดไว้ใน
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเป็นไปตามมาตรา 27 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซึ่งกำหนดให้สถานศึกษามีหน้าที่จัดทำสาระของ
หลักสูตรสถานศึกษาตามหลักการจุดหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดเพื่อตอบสนองต่อ
ความต้องการในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อให้
เยาวชนเปน็ สมาชิกท่ดี ีของครอบครวั ชุมชน สงั คมและประเทศชาติ

การศึกษาข้อมูลทิศทางและกรอบยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
(พ.ศ. 2560 - 2564) ซึ่งเกิดข้ึนในช่วงเวลาของการปฏิรูปประเทศ และสถานการณ์โลกท่ีเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็
และเชื่อมโยงใกล้ชิดกันมากขึ้น โดยจัดทำบนพนื้ ฐานของกรอบยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ซึ่งเป็น
แผนหลักของการพัฒนาประเทศ และเป้าหมายของการพัฒนาที่ย่ังยนื (Sustainable Development Goals :SDGs)
แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 รวมท้งั การปรับโครงสร้างประเทศไปสู่ประเทศไทย 4.0 ซง่ึ ยทุ ธศาสตร์
ชาติทจี่ ะใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาในระยะ 20 ปี ตอ่ จากนี้ ประกอบด้วย 6 ยทุ ธศาสตร์ ได้แก่ (1) ยทุ ธศาสตร์
ด้านความมั่นคง (2) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน (3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้าง
ศักยภาพคน (4) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (5) ยุทธศาสตร์ด้านการ
สร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ิตท่ีเปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อมและ (6) ยทุ ธศาสตร์ด้านการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการ
บริหารจัดการภาครัฐ เพื่อมุ่งสู่วิสัยทัศน์ และทิศทางการพัฒนาประเทศ “ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” เป็นประเทศ
พัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

เพื่อให้การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อเตรียมความพร้อมคนให้สามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการ
เปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม กระทรวงศึกษาธิการจึงกำหนดเป็นนโยบายสำคัญและเร่งด่วนให้มีการปรับปรุง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ
สาระภมู ิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รวมท้ังเทคโนโลยี ในกลุ่มสาระการเรียนรู้
การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยมอบหมายให้สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ดำเนินการปรบั ปรุง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และสาระเกีย่ วกับเทคโนโลยี
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี และมอบหมายให้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ดำเนินการปรับปรุงสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ทั้งนี้ การดำเนินงาน
ประกาศใช้หลักสูตรยังคงอยู่ในความรับผิดชอบของ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ ยังคงหลักการและโครงสร้างเดิมของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 คือ ประกอบด้วย 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ และ
ภาษาต่างประเทศ แต่มุ่งเน้นการปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัย ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้า
ทางวิทยาการต่าง ๆ คำนึงถึงการส่งเสริมให้ผู้เรียน มีทักษะที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นสำคัญ
เตรียมผู้เรียนให้มคี วามพร้อมที่จะเรยี นรู้สิ่งต่าง ๆ พร้อมที่จะประกอบอาชีพ เมื่อจบการศึกษา หรือสามารถศึกษาต่อ
ในระดับท่ีสูงขึ้น สามารถแข่งขันและอยู่รว่ มกับประชาคมโลกได้

หลักสูตรสถานศึกษา ฉบับนี้ ประกอบด้วย ส่วนนำ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา คำอธิบายรายวิชา
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และเกณฑ์การจบการศึกษา ซึ่งทางโรงเรียนได้กำหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อให้ผู้ท่ี
เกี่ยวข้องและผู้ที่นำหลักสูตรไปใช้ได้เข้าใจ และสามารถนำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง และบรรลุผลตามที่ต้องการหลักสูตร
สถานศึกษาโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช 2564 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับนี้ สำเร็จลุล่วงไป
ด้วยดี ด้วยความร่วมมือและช่วยเหลือจากบุคลหลายฝ่าย ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาลพบุรี เขต 2 หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ผู้อำนวยการโรงเรียน คณะครูและผู้ที่มีส่วน
เก่ยี วขอ้ งทกุ ภาคส่วนท่ีมสี ่วนร่วมดำเนินการ ทางโรงเรยี นจงึ ขอขอบพระคณุ ท่านมา ณ โอกาสนี้

( นางวาสนา นำ้ เพช็ ร )
ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์

คำชีแ้ จง

ตามที่โรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต ๒ ได้ มอบหมายให้
คณะกรรมการจัดทำหลักสูตรสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โดยได้วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับ
ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖0) น้ันเพื่อจดั ทำหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๖4 คณะทำงานได้ร่วมกนั ศึกษา วิเคราะห์
และจัดทำคำอธิบายรายวชิ า มาตรฐาน ตัวชี้วัด โครงสรา้ งรายวชิ า หน่วยการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น สาระ
การเรียนรู้เพิ่มเติม การออกแบบการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน
โดยแยกเป็น ๒ ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา(ป.๑-๖) และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-๓) ซึ่งเอกสารหลักสูตร
สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เล่มนี้จะเป็นแนวทางให้ครูใช้ในการจัดการเรียนรูต้ ามแนวทางการปฏิรูป
การศึกษาของโรงเรียนได้ชดั เจนตามวสิ ัยทัศน์ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่สถานศึกษาต้องการ โดยนำหน่วยการ
เรียนรู้ ตัวชี้วัด ไปออกแบบการเรียนรู้ จัดทำเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ลงสู่ห้องเรียนคุณภาพอย่างมีประสิทธิภาพ
เกิดประสิทธผิ ลกบั ผูเ้ รียน ผูเ้ รียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม เกง่ ดีและมีสขุ

สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ในหลักสูตรโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ฉบับนี้ ประกอบด้วย ความสำคัญ คุณภาพ
ผู้เรียน โครงสร้างเวลาเรียน สาระมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดรายปี คำอธิบายรายวิชา การจัดหน่วยการเรยี นรู้ แนว
ทางการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สื่อการเรียน แหล่งเรียนรู้ ซึ่งทางโรงเรียนได้กำหนดไว้ใน
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ในหลกั สูตรโรงเรยี นบา้ นวงั ตาอินทร์ พุทธศกั ราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ฉบบั น้ี เพ่อื ให้ผทู้ เี่ ก่ียวข้องได้เข้าใจ และสามารถนำไปใช้
ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและบรรลผุ ลตามทีต่ ้องการ

สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ในหลักสูตรโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ฉบับนี้ สำเร็จลุล่วงไปด้วยดีก็ด้วยความ
ร่วมมือจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน ผู้ปกครองนักเรียน คณะครูและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุก
ภาคส่วนทม่ี สี ่วนรว่ มดำเนินการ ทางโรงเรยี นจึงขอขอบพระคณุ ทา่ นมา ณ โอกาสน้ี

(นางสาวลักขณา นารอด)
ครูผสู้ อนรายวิชาภาษาไทย ระดับประถมศึกษา

โรงเรียนบา้ นวังตาอินทร์
สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลพบรุ ี เขต ๒

สารบญั หนา้

ประกาศโรงเรียน ก
คำนำ ค
คำชแี้ จง ง
สารบัญ 1
ส่วนท่ี 1 ความนำ 2
3
ความนำ 3
วสิ ัยทัศนห์ ลักสุตรสถานศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๖4 3
เป้าประสงค์หลักสูตร 4
วสิ ยั ทศั น์ 4
พนั ธกจิ 4
เปา้ ประสงค์ 5
ตัวชี้วดั 5
ค่านยิ มในองค์กร 6
อตั ลักษณ์ เอกลักษณ์ คำขวญั ของสถานศึกษา 6
กลยุทธ์ 7
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 8
คา่ นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ตามนโยบายของ คสช. 9
หลกั สูตรตา้ นทจุ รติ ศึกษา 10
สว่ นท่ี 2 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรยี นบา้ นวังตาอนิ ทร์ ระดับประถมศกึ ษา 11
โครงสรา้ งหลกั สูตรโรงเรยี นบ้านวังตาอนิ ทร์ 19
โครงสรา้ งเวลาเรียนของหลกั สตู รสถานศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๖4
ส่วนที่ 3 หลกั สูตรโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ กล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย 20
ระดบั ประถมศกึ ษา 20
สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย 20
ความนำ 20
ทำไมต้องเรียนภาษาไทย 21
เรียนรูอ้ ะไรในภาษาไทย 22
คุณภาพผเู้ รียน 22
โครงสร้างเวลาเรียน 22
สาระมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ดั ชน้ั ปี 35

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ง
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2

สารบญั (ต่อ) หนา้

ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 47
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 60
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 73
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 87
สือ่ /แหลง่ เรียนรู้ 102
การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ 103
เกณฑก์ ารตัดสนิ ผลการเรียน 111
บรรณานุกรม 112

ภาคผนวก 114
ภาคผนวก ก คำอภิธานศัพท์ 122
ภาคผนวก ข คำสง่ั โรงเรียนบ้านวังตาอนิ ทร์ 127
ภาคผนวก ค ประกาศ/คำสง่ั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 142

คณะผจู้ ดั ทำ

สว่ นที่ 1
ความนำ

1

ความนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ.
๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๗ สงิ หาคม ๒๕๖๐ และคำสั่งสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลง
วันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และ
วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคำสง่ั ให้โรงเรียนดำเนินการใชห้ ลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้
ใช้ในชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๑ และ ๔ ต้ังแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดย
กำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรยี นร้เู ปน็ เปา้ หมายและกรอบทศิ ทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นมพี ัฒนาการเต็ม
ตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมายข อง
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

โรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ จึงได้ทำการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖0 ในกลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และ
สาระภูมศิ าสตรใ์ นกลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อนำไปใชป้ ระโยชน์และเป็นกรอบในการ
วางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจดั การเรยี นการสอน โดยมีเป้าหมายในการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน ให้
มีกระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชวี้ ัด โครงสรา้ งเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผล
ให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถกำหนดทิศทางในการจัดทำหลักสูตรการ
เรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางที่ชัดเจนเพื่อตอบสนอง
นโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพร้อมในการกา้ วสู่สงั คมคณุ ภาพ มคี วามรู้อยา่ งแท้จริง และมที ักษะในศตวรรษท่ี ๒๑

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในทุกระดับเห็นผล
คาดหวังท่ตี อ้ งการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรยี นทีช่ ดั เจนตลอดแนว ซ่งึ จะสามารถช่วยใหห้ นว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องใน
ระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทำให้การจัดทำหลักสูตรในระดับสถานศึกษามี
คุณภาพและมีความเป็นเอกภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยให้เกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และ
ชว่ ยแกป้ ญั หาการเทยี บโอนระหวา่ งสถานศึกษา ดงั นั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทกุ ระดับตั้งแต่ระดับชาติจนกระท่ังถึง
สถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน รวมทั้งเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุมผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายในระดับ
การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

การจดั หลกั สตู รการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจะประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวงั ได้ ทกุ ฝา่ ย ที่เก่ียวข้องท้ัง
ระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทำงานอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ในการ
วางแผน ดำเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาติไปสู่คุณภาพ
ตามมาตรฐานการเรยี นรูท้ ่ีกำหนดไว้

2

วิสัยทศั นห์ ลกั สูตรสถานศกึ ษา พทุ ธศักราช ๒๕๖4

หลักสูตรโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) เป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนเป็นบุคคลแห่งการ
เรียนรู้สู่มาตรฐานสากลและเป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งร่างกาย ความรู้คู่คุณธรรม มีความเป็นผู้นำของสังคมมี
จิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลกโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงยึดมั่นในการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐานสามารถใช้นวัตกรรมและ
เทคโนโลยีรวมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาในการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิตโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็น
สำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ เมื่อจบการศึกษาตาม
หลักสตู ร จะไดร้ บั การพัฒนาคณุ ภาพ 3 มิติ ดงั น้ี

1. ทกั ษะวิชาการ
มคี วามรู้ความสามารถ ครบถว้ นทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้

2. ทักษะชวี ติ
ทักษะชวี ติ มี 4 ดา้ น ได้แก่
1. การจดั การกับอารมณ์และความเครยี ด
2. การสร้างสัมพันธภาพที่ดีกบั ผู้อน่ื
3. การตระหนักรูแ้ ละเห็นคณุ ค่าในตนเองและผ้อู ื่น
4. การคิดวเิ คราะหต์ ดั สินใจและแก้ปญั หาอยา่ งสร้างสรรค์

3. ทกั ษะอาชพี
ส่งเสริมให้คนพบตัวเอง สามารถใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ในทุกขั้นตอน นอกจากจะช่วยให้คิดเป็น สร้าง
ความเข้มแขง็ เพอ่ื การประกอบอาชีพในอนาคตอยา่ งยงั่ ยืน

เปา้ ประสงค์หลกั สตู ร (Corporate objective)

๑. เพื่อให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีการพัฒนาเต็ม
ตามศกั ยภาพ มที ักษะชีวติ มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตดี นำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาเป็นแนวทางการ
ดำเนินชีวิต เป็นผู้นำที่ดีของสังคมและมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้และการสื่อสารอย่าง
หลากหลาย ผู้เรยี นมศี กั ยภาพเป็นพลโลก (World Citizen)

2. เพื่อให้สถานศึกษามีระบบการบริหารและจัดการศึกษาด้วยระบบคุณภาพ ( Quality System
Management) เพอื่ รองรับการกระจายอำนาจอย่างทว่ั ถึง

3. เพ่อื ใหบ้ คุ ลากรทุกคนมีทักษะวชิ าชีพในการพัฒนาการเรียนการสอนและใชน้ วตั กรรมเทคโนโลยีที่ทันสมัย
ยกระดับการจัดการเรยี นการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล (Worle Class standard)

4. เพ่อื ให้การใชง้ บประมาณและทรัพยากรของทุกหน่วยงานเป็นไปตามเป้าหมายได้อย่างมีประสทิ ธิภาพและ
ประสิทธผิ ลสูงสุด

วิสยั ทัศน์ (Vision)

โรงเรียนบ้านวงั ตาอินทร์ สรา้ งคณุ ภาพผ้เู รยี น สมู่ าตรฐานสากล
ชุมชนมสี ว่ นร่วมจัดการศึกษา นอ้ มนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

3

พันธกจิ (Mission)

1. พัฒนานักเรยี นใหม้ ผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนสงู ข้นึ
2. ส่งเสรมิ นักเรียนให้รู้จกั แสวงหาความรดู้ ้วยตนเองอย่างเต็มศกั ยภาพ
3. ส่งเสรมิ นกั เรยี นใหม้ คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ประพฤติตนตามวิถไี ทย
4. สง่ เสรมิ นกั เรยี นใหม้ ีทกั ษะอาชพี และนำเอาหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในชีวิตประจำวัน
5. ส่งเสริมให้ครูจดั การเรียนการสอน โดยใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย เทคนิคการสอนต่างๆ เพื่อให้นักเรียนมี
คณุ ภาพ
6. สง่ เสริมใหค้ รูทกุ คนไดร้ บั การพฒั นาให้เป็นครมู ืออาชีพ
7. ส่งเสรมิ ใหผ้ ปู้ กครอง ชุมชน และองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ เข้ามามีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา
8. พัฒนาโรงเรยี นใหม้ ีการบริหารงานจัดการที่มีคุณภาพให้เปน็ โรงเรยี นมาตรฐานสากล
9. พัฒนาโรงเรียนให้มกี ารพัฒนาแหล่งเรยี นรตู้ า่ งๆท้ังภายในและภายนอกโรงเรยี นทที่ ันสมยั มาใชใ้ นการ
จัดการเรียนการสอน

เป้าประสงค์ (Goal)

1. นกั เรียนมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนสงู ขึ้น
2. นักเรยี นรู้จักแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองอย่างเตม็ ศกั ยภาพ
3. นักเรยี นมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ประพฤตติ นตามวถิ ีไทย
4. นกั เรียนมีทักษะอาชพี และนำเอาหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน
5. ครจู ัดการเรยี นการสอน โดยใชส้ ือ่ เทคโนโลยที ่ที นั สมัย เทคนคิ การสอนตา่ งๆ เพ่อื ให้นกั เรียนมีคุณภาพ
6. ครทู กุ คนได้รับการพัฒนาใหเ้ ป็นครูมอื อาชพี
7. ผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินเขา้ มามสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษา
8. โรงเรียนมกี ารบริหารงานจัดการทมี่ คี ุณภาพให้เป็นโรงเรยี นมาตรฐานสากล
9. โรงเรยี นมีการพฒั นาแหล่งเรียนรู้ต่างๆท้ังภายในและภายนอกโรงเรยี นทีท่ นั สมัยมาใช้ในการจัดการเรยี น
การสอน

ตัวช้ีวดั

1. รอ้ ยละของนักเรยี นท่ีได้ผลการเรยี นระดับ 3 ขึ้นไปในระดบั ช้ัน ป.1-ม.3 ทกุ กล่มุ สาระ
2. คะแนนเฉล่ียทกุ รายวิชาจากการทดสอบระดบั ชาติ O-NET, NT, RT สงู กวา่ คา่ เฉล่ยี ระดับประเทศ
3. รอ้ ยละ 80 ของนักเรยี นรจู้ กั แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ
4. รอ้ ยละ 90 ของนักเรียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ประพฤติตนตามวิถีไทยและสามารถดำรงชีวติ อย่ใู นสงั คม
อยา่ งมีความสขุ
5. ร้อยละ 90 ของนกั เรียนท่ีจบชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 มพี ฤตกิ รรมดา้ นทักษะอาชพี
6. รอ้ ยละ 90 ของนกั เรยี นทปี่ ฏบิ ตั ิตนตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน
7. ร้อยละ 80 ของครูจัดการเรียนการสอน โดยใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย เทคนิคการสอนต่างๆ เพื่อให้
นักเรยี นมคี ณุ ภาพ
8. ร้อยละ 100 ของครูทกุ คนไดร้ ับการพฒั นาใหเ้ ป็นครูมืออาชีพ
10. ผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วมทุกครั้งในการจัดการศึกษา หรือ
ประชุมหาแนวทางการจดั การศึกษา

4

11. โรงเรยี นมีการบรหิ ารงานจัดการท่ีมีคุณภาพให้เป็นโรงเรยี นมาตรฐานสากล ระดับ ดีข้นึ ไป
12. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ต่างๆทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
อย่างมคี ุณภาพ

ค่านิยมในองคก์ ร

โรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ ได้กำหนดคา่ นยิ มซ่ึงเป็นวฒั นธรรมองคก์ ร ในการปฏิบตั งิ าน คือ
SMART มคี วามหมาย ดงั น้ี

“SMART”

• Skill

S • มีความรู้ ทักษะและความสามารถในการปฏบิ ตั ิงาน

• Moral

M • มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรรม ปฏบิ ตั ติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

• Altruism

A • คานึงถงึ ประโยชนข์ องผู้เรียนและส่วนรวมเป็นท่ตี ้ัง

• Relation

R • สรา้ งความสัมพันธท์ ด่ี ีในองค์กรและชุมชน

• Technology

T • ก้าวทันเทคโนโลยีทีท่ นั สมยั

อตั ลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา

คุณธรรม นำความรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง

เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา

เรยี นดี กฬี าเด่น เน้นคณุ ธรรม นอ้ มนำเศรษฐกิจพอเพียง

คำขวัญของโรงเรยี น

ประพฤตดิ ี มวี ชิ า สามัคคี มวี นิ ยั

5

กลยทุ ธ์

จากวิสัยทัศน์ของโรงเรียน “โรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ สร้างคุณภาพผู้เรียน สู่มาตรฐานสากลชุมชนมี
สว่ นร่วมจดั การศกึ ษา น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” โรงเรยี นบ้านวงั ตาอินทร์ จึงกำหนดกลยทุ ธ์ ดงั ต่อไปน้ี

กลยทุ ธร์ ะดบั โรงเรยี น
โรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ มีกลยุทธใ์ นการจัดการศกึ ษา ทงั้ หมด 5 กลยทุ ธ์ ดังน้ี
กลยุทธ์ที่ 1 พฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น
กลยทุ ธ์ที่ ๒ พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรสมู่ ืออาชีพ
กลยทุ ธท์ ่ี ๓ พัฒนาโรงเรียนใหม้ คี ณุ ภาพสู่มาตรฐานสากล
กลยทุ ธท์ ี่ 4 ส่งเสรมิ การมสี ่วนรว่ มของชมุ ชน
กลยุทธท์ ่ี 5 สร้างสถานศึกษาและชมุ ชนเปน็ แหลง่ เรียนรู้

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรโรงเรียนบ้านว)ังตาอินทร์ พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งจะช่วยให้
ผ้เู รียนเกดิ สมรรถนะสำคญั และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ดังน้ี

สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน

๑. ความสามารถในการส่อื สาร เป็นความสามารถในการรบั และส่งสาร มวี ัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอด
ความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะ
เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถู กต้อง
ตลอดจนการเลอื กใช้วธิ กี ารสอื่ สาร ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่มี ตี อ่ ตนเองและสังคม

๒. ความสามารถในการคดิ เปน็ ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคดิ อยา่ งสร้างสรรค์
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
เก่ียวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง
ถกู ต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธแ์ ละการเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกนั และแก้ไขปัญหา และมีกาตัดสินใจ
ท่มี ปี ระสิทธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่เี กิดขนึ้ ต่อตนเอง สงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนิน
ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ สร้าง
เสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับ
การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จกั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่สง่ ผลกระทบต่อตนเอง
และผ้อู นื่

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยดี ้านต่าง ๆ และมีทักษะ
กระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปัญหา
อย่างสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

6

คุณลักษณะที่พึงประสงค์

หลักสูตรโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มคี ุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผูอ้ ื่นในสังคมได้อย่างมี
ความสุข ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้

๑. รกั ษช์ าติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซอื่ สตั ย์สจุ รติ
๓. มวี นิ ัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง
๖. มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มีจิตเป็นสาธารณะ

คา่ นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ตามนโยบายของ คสช.

1. ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
2. ซ่ือสัตย์ เสยี สละ อดทน มอี ุดมการณใ์ นสิ่งที่ดงี ามเพ่อื ส่วนรวม
3. กตญั ญูตอ่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครบู าอาจารย์
4. ใฝห่ าความรู้ หมนั่ ศึกษาเล่าเรียนท้งั ทางตรง และทางอ้อม
5. รักษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม
6. มีศลี ธรรม รกั ษาความสัตย์ หวงั ดตี อ่ ผอู้ ืน่ เผอื่ แผ่และแบ่งปนั
7. เขา้ ใจเรยี นรกู้ ารเป็นประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุขท่ีถกู ต้อง
8. มีระเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผนู้ อ้ ยรูจ้ ักการเคารพผู้ใหญ่
9. มีสติร้ตู ัว รูค้ ดิ รทู้ ำ รูป้ ฏบิ ัตติ ามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว
10. รจู้ ักดำรงตนอยู่โดยใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
11. มีความเข้มแข็งท้งั ร่ายกาย และจิตใจ ไมย่ อมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายตำ่ หรอื กิเลสมีความละอายเกรง กลัวต่อ
บาปตามหลักของศาสนา
12. คำนงึ ถงึ ผลประโยชนข์ องส่วนรวม และของชาติมากกวา่ ผลประโยชน์ของตนเอง

7

หลกั สูตรต้านทจุ รติ ศกึ ษา

หลกั สตู รตา้ นทุจรติ ศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาต(ิ ป.ป.ช.) ร่วมกับ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้จัดทำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา สำหรับใช้ในทุกระดับ
การศึกษา ในส่วนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดทำหลักสูตร้านทุจริตศึกษา รายวิชาเพ่ิม
เติม “การป้องกันการทุจริต” ขึ้นและคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม
2561 และให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องนำหลักสูตรต้านทุจรติ ศกึ ษา ไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนในสถานศกึ ษา
โดยมุ่งเน้นการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเก่ียวกับความหมายและขอบเขตของการกระทำทุจริตในลักษณะต่าง
ๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อมความเสียหายที่เกิดจากการทุจริตความสำคัญของการต่อต้านการทุจริตรวมทั้งจัดให้มีการ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ของการจัดหลักสตู รในแต่ละชว่ งวยั ของผู้เรียนดว้ ย หลักสูตรต้านทจุ รติ ศึกษา (Anti – Corruption
Education) รายวชิ าเพ่ิมเติม “การปอ้ งกนั การทุจริต” ประกอบด้วย 4 หน่วยการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่

1) การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม
2) ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ
3) STRONG: จิตพอเพยี งต้านทจุ รติ
4) พลเมอื งกับความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม
ที่สถานศึกษาจัดให้กับผู้เรียนเพื่อปลูกฝังป้องกันการทุจริตไม่ให้เกิดขึ้นและโดยเริ่มปลูกฝังผู้เรียนตั้งแต่ชั้น
ปฐมวัยจนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการ มีสมรรถนะที่สำคัญและมี
คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์

8

ส่วนที่ 2

โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรียนบา้ นวังตาอินทร์
ระดบั ประถมศกึ ษา

9

โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนบ้านวังตาอนิ ทร์

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กำหนดโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อให้ผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดการ
เรียนรู้ตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษามแี นวปฏิบัติ ดังน้ี

ระดบั การศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ )พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน

พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ จดั การศกึ ษา ดังน้ี
ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-6) การศึกษาระดับนี้เป็นช่วงแรกของการศึกษาภาคบังคับ มุ่งเน้น

ทักษะพืน้ ฐานดา้ นการอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ ทักษะการคิดพ้นื ฐาน การติดตอ่ สือ่ สาร กระบวนการเรียนรู้ทาง
สังคม และพื้นฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์และสมดุลทั้งในด้านร่างกาย สติปัญญา
อารมณ์ สังคม และวฒั นธรรม โดยเนน้ จดั การเรียนรู้แบบบูรณาการ

ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓) เปน็ ชว่ งสดุ ท้ายของการศึกษาภาคบังคับ มุง่ เน้นให้ผู้เรียน
ได้สำรวจความถนัดและความสนใจของตนเอง ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน มีทักษะในการคิดวิจารณญาณ คิด
สร้างสรรค์ และคิดแก้ปัญหา มีทักษะในการดำเนินชีวิต มีทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครือ่ งมือในการเรียนรู้ มีความ
รบั ผดิ ชอบต่อสังคม มีความสมดุลท้ังด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม และมคี วามภูมิใจในความเป็นไทย ตลอดจนใช้เป็น
พ้ืนฐานในการประกอบอาชีพหรือการศึกษาต่อ

การจดั เวลาเรียน
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านวังตาอนิ ทร์ (ฉบ)ับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖4) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ได้จดั เวลาเรียนตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 8 กลุม่ สาระ และกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น โดย
จัดให้เหมาะสมตามบรบิ ท จดุ เนน้ ของโรงเรยี น และสภาพของผ้เู รยี น ดงั น้ี

ระดบั ประถมศึกษา (ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑-๖) จดั เวลาเรยี นเป็นรายปี โดยมีเวลาเรียนวนั ละ ๖ ชวั่ โมง
ระดบั มธั ยมศกึ ษา (ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑-3) จัดเวลาเรียนเปน็ รายภาค โดยมีเวลาเรยี นวนั ละ ๖ ชว่ั โมง

โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประกอบดว้ ยโครงสรา้ งเวลาเรยี นและโครงสรา้ งหลักสตู รช้นั ปี ดังนี้

1. โครงสร้างเวลาเรียน เป็นโครงสร้างที่แสดงรายละเอียดในภาพรวม เวลาเรียนของแต่ละกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระ ที่เป็นเวลาเรียนพื้นฐาน เวลาเรียนรายวิชาเพิ่มเติม และเวลาในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
จำแนกแต่ละชัน้ ปี ในระดับประถมศกึ ษา ดังน้ี

10

โครงสร้างเวลาเรียนของหลักสตู รสถานศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๖4

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช 2564 กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียน
ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๑ - ๖ ดังนี้

เวลาเรยี น

กลมุ่ สาระการเรียนรู้/กิจกรรม ระดบั ประถมศกึ ษา

ป.๑ ป.๒ ป.3 ป.๔ ป.4 ป.6

กลุม่ สาระการเรยี นรู้

ภาษาไทย ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐

คณิตศาสตร์ ๑๖๐ 160 ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 120 120 120 120 120 120
 วิทยาศาสตร์
 เทคโนโลยี(วทิ ยาการคำนวณ)

สังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ 120 ๑๒๐ ๑๒๐

 ศาสนาศีลธรรม จรยิ ธรรม
 หน้าทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนนิ ชวี ติ ในสังคม
 ภูมศิ าสตร์ ๘๐ ๘0 ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

 เศรษฐศาสตร์

 ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

ศิลปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

การงานอาชพี ๔๐ ๔๐ ๔๐ 4๐ 4๐ 4๐

ภาษาต่างประเทศ ๑20 ๑20 ๑20 ๘๐ ๘๐ ๘๐

รวมเวลาเรยี น (พ้ืนฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ 840 ๘4๐ ๘4๐

รายวชิ าเพมิ่ เตมิ

เสรมิ ทกั ษะภาษาไทย ๔๐ ๔๐ ๔๐ 4๐ 4๐ 4๐

ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 80 80 80 - - -

เสรมิ ทกั ษะคณติ ศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - - -

เสรมิ ทักษะวทิ ยาศาสตร์ - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐

คอมพวิ เตอร์ - - - 80 80 80

สาระการเรยี นรเู้ พิม่ เติม หลักสตู รตา้ นทจุ รติ ศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

รวมเวลาเรียน (เพ่มิ เติม) 200 200 200 200 200 200

กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน

 กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

 กจิ กรรมนกั เรยี น

- ลกู เสอื -เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

- ชมุ นุม* ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐

 กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐

รวมเวลาเรียน(กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น) 120 120 120 120 120 120

รวมเวลาเรียน ........๑,๑๖๐........ชวั่ โมง/ปี

11

หมายเหตุ
1. การจดั สาระการเรียนรู้หน้าท่พี ลเมือง จดั รวมในรายวิชา สงั คมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม
2. การจัดรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยจัดสอบสอน แบบแยกรายวิชาวิทยาการคำนวณ

40 ช่วั โมง/ปี สอนคู่ขนานกับรายวิชาวิทยาศาสตร์ 80 ชวั่ โมง/ปี รวมเวลาเรียน 120 ชว่ั โมง/ปี และตัดเกรดร่วมกัน
โดยบริหารจัดการด้านคะแนนดังนี้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ใหน้ ้ำหนักคะแนน 70 และวิชาวิทยาการคำนวณให้น้ำหนัก
คะแนน 30 รวมคะแนน 100 คะแนน

3. ผเู้ รียนปฏิบตั ิกิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน์ ในกจิ กรรมลกู เสือ-เนตรนารี และชมุ นมุ
4. กิจกรรมชุมนุมนักเรียนเลือกเรียนตามความสนใจ ดังนี้ 1. ชุมนุมคลีนิครักการอ่าน 2. ชุมนุม
ประดิษฐ์ของชำรว่ ย(ป.1-3) 3. ชุมนมุ จับจีบผ้า(ป.4-6) 4. ชมุ นุมนาฎศิลป์(ป.4-6) และ 5. ชุมนุมคอมพวิ เตอร์
๒. โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี เป็นโครงสร้างที่แสดงรายละเอียดเวลาเรียนของรายวิชาพื้นฐาน รายวิชา/กิจกรรม
เพิม่ เติม และกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียนจำแนกแตล่ ะช้นั ปี ดังน้ี

12

โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์

ระดับประถมศกึ ษา ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑

รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น
ช่ัวโมง/ปี ชว่ั โมง/สัปดาห์
รหสั วิชา รายวิชาพน้ื ฐาน
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๘๔๐ 21
ค๑๑๑๐๑ 160 4
ว๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑ 160 4
ส๑๑๑๐๑ 120 3
ส๑๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑ 80 2
พ๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑ ๔๐ ๑
ศ๑๑๑๐๑ ๔๐ ๑
ง๑๑๑๐๑ ประวัตศิ าสตร์ ๑ 80 2
อ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๑ ๔๐ ๑
รหสั วชิ า ศิลปะ ๑ 120 3
ท๑๑๒๐๑ การงานอาชีพ ๑ 200 5
อ๑๑๒๐๑ ๔๐ ๑
ค๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ 80 2
ส๑๑๒๐๑ ๔๐ ๑
รหัสกจิ กรรม รายวิชาเพ่ิมเติม ๔๐ ๑
ก๑๑๙๐๑ เสรมิ ทักษะภาษาไทย 1 120 3
ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร 1 ๔๐ ๑
ก๑๑๙๐๒ เสริมทักษะคณติ ศาสตร์ 1
ก๑๑๙๐๓ ๑
การป้องกนั การทุจริต 1 ๔๐ ๑
กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ๓๐ ๑

 กิจกรรมแนะแนว ๑๐ ผนวกในกิจกรรม
 กิจกรรมนกั เรียน ชมุ นมุ

 ลกู เสือ/เนตรนารี
 ชุมนมุ *

ก๑๑๙๐๔  กิจกรรมเพื่อสงั คมและ ๑,๑60 29
สาธารณประโยชน์
 กจิ กรรมเพ่ิมความรู้

รวมเวลาเรียนทั้งหมดตามโครงสรา้ งหลกั สตู ร

13

โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านวังตาอนิ ทร์

ระดับประถมศกึ ษา ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 2

รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น
ช่ัวโมง/ปี ชว่ั โมง/สัปดาห์
รหสั วิชา รายวิชาพน้ื ฐาน
ท๑2๑๐๑ ภาษาไทย 2 ๘๔๐ 21
ค๑2๑๐๑ 160 4
ว๑2๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 2 160 4
ส๑2๑๐๑ 120 3
ส๑2๑๐๒ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 80 2
พ๑2๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 ๔๐ ๑
ศ๑2๑๐๑ ๔๐ ๑
ง๑2๑๐๑ ประวัตศิ าสตร์ 2 80 2
อ๑2๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 2 ๔๐ ๑
รหสั วชิ า ศิลปะ 2 120 3
ท๑2๒๐๑ การงานอาชีพ 2 200 5
อ๑2๒๐๑ ๔๐ ๑
ค๑2๒๐๑ ภาษาองั กฤษ 2 80 2
ส๑2๒๐๑ ๔๐ ๑
รหัสกจิ กรรม รายวิชาเพ่ิมเติม ๔๐ ๑
ก๑2๙๐๑ เสรมิ ทักษะภาษาไทย 2 ๑๒๐ ๓
ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร 2 ๔๐ ๑
ก๑2๙๐๒ เสริมทักษะคณติ ศาสตร์ 2
ก๑2๙๐๓ ๑
การป้องกนั การทุจริต 2 ๔๐ ๑
กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ๓๐ ๑

 กิจกรรมแนะแนว ๑๐ ผนวกในกิจกรรม
 กิจกรรมนกั เรียน ชมุ นมุ

 ลกู เสือ/เนตรนารี
 ชุมนมุ *

ก๑2๙๐๔  กิจกรรมเพื่อสงั คมและ ๑,๑60 29
สาธารณประโยชน์
 กจิ กรรมเพ่ิมความรู้

รวมเวลาเรียนทั้งหมดตามโครงสรา้ งหลกั สตู ร

14

โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านวงั ตาอนิ ทร์

ระดับประถมศกึ ษา ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรยี น
ชัว่ โมง/ปี ชว่ั โมง/สัปดาห์
รหัสวชิ า รายวิชาพน้ื ฐาน
ท๑3๑๐๑ ภาษาไทย 3 ๘๔๐ 21
ค๑3๑๐๑ 160 4
ว๑3๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 3 160 4
ส๑3๑๐๑ 120 3
ส๑3๑๐๒ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 80 2
พ๑3๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 3 ๔๐ ๑
ศ๑3๑๐๑ ๔๐ ๑
ง๑3๑๐๑ ประวัตศิ าสตร์ 3 80 2
อ๑3๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา 3 ๔๐ ๑
รหัสวชิ า ศลิ ปะ 3 120 3
ท๑3๒๐๑ การงานอาชีพ 3 200 5
อ๑3๒๐๑ ๔๐ ๑
ค๑3๒๐๑ ภาษาอังกฤษ 3 80 2
ส๑3๒๐๑ ๔๐ ๑
รหัสกิจกรรม รายวิชาเพ่ิมเติม ๔๐ ๑
ก๑๓๙๐๑ เสรมิ ทกั ษะภาษาไทย 3 ๑๒๐ ๓
ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร 3 ๔๐ ๑
ก๑๓๙๐๒ เสรมิ ทักษะคณติ ศาสตร์ 3
ก๑๓๙๐๓ ๔๐ ๑
การป้องกันการทจุ รติ 3 ๓๐ ๑
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น
๑๐ ผนวกในกิจกรรม
 กิจกรรมแนะแนว ชมุ นมุ
 กิจกรรมนักเรียน

 ลกู เสอื /เนตรนารี
 ชุมนมุ *

ก๑๓๙๐๔  กิจกรรมเพื่อสงั คมและ ๑,๑60 29
สาธารณประโยชน์
 กจิ กรรมเพ่ิมความรู้

รวมเวลาเรียนท้ังหมดตามโครงสร้างหลกั สตู ร

15

โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านวงั ตาอนิ ทร์

ระดบั ประถมศึกษา ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4

รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น

รหสั วิชา รายวชิ าพนื้ ฐาน ชั่วโมง/ปี ช่วั โมง/สัปดาห์
ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔
ค๑๔๑๐๑ ๘40 21
ว๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๔ 160 4
ส๑๔๑๐๑ 160 4
ส๑๔๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔ 120 3
พ๑๔๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔ ๘๐ ๒
ศ๑๔๑๐๑ ประวัติศาสตร์ ๔ ๔๐ ๑
ง๑๔๑๐๑ ๘๐ ๒
อ๑๔๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔ ๘๐ 2
รหสั วิชา ศิลปะ ๔ 40 1
ท๑๔๒๐๑ ๘๐ ๒
ว14201 การงานอาชีพ ๔ 200 5
ว๑๔๒๐2 4๐ 1
ส๑๔๒๐๑ ภาษาองั กฤษ ๔ 40 1
รหสั กจิ กรรม รายวิชาเพ่มิ เติม 80 2
ก๑๔๙๐๑ ๔๐ ๑
เสรมิ ทกั ษะภาษาไทย 4 ๑๒๐ 3
ก๑๔๙๐๒ เสริมทกั ษะวิทยาศาสตร์ 4 ๔๐ ๑
ก๑๔๙๐๓
คอมพวิ เตอร์ ๔ ๔๐ ๑
๓๐ ๑
การป้องกันการทจุ รติ ๔
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ๑๐ ผนวกในกิจกรรม
ชุมนมุ
 กิจกรรมแนะแนว
 กจิ กรรมนักเรียน

 ลูกเสอื /เนตรนารี
 ชุมนุม*

ก๑๔๙๐๔  กิจกรรมเพ่ือสงั คมและ ๑,๑60 29
สาธารณประโยชน์
 กจิ กรรมเพิ่มความรู้

รวมเวลาเรยี นทง้ั หมดตามโครงสร้างหลกั สูตร

16

โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านวังตาอนิ ทร์

ระดบั ประถมศกึ ษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5

รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน

รหัสวิชา รายวชิ าพนื้ ฐาน ชัว่ โมง/ปี ชว่ั โมง/สัปดาห์
ท๑5๑๐๑ ภาษาไทย 5
ค๑5๑๐๑ คณิตศาสตร์ 5 ๘40 ๒1
ว๑5๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5 160 4
ส๑5๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 5 160 4
ส๑5๑๐๒ ประวัติศาสตร์ 5 120 3
พ๑5๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา 5 ๘๐ ๒
ศ๑5๑๐๑ ศิลปะ 5 ๔๐ ๑
ง๑5๑๐๑ ๘๐ ๒
อ๑5๑๐๑ การงานอาชีพ 5 ๘๐ 2
รหสั วชิ า ภาษาองั กฤษ 5
ท๑5๒๐๑ 40 1
ว15201 รายวชิ าเพม่ิ เติม ๘๐ ๒
ว๑5๒๐2 เสริมทกั ษะภาษาไทย 5 200 5
ส๑5๒๐๑ 4๐ 1
รหสั กจิ กรรม เสรมิ ทกั ษะวทิ ยาศาสตร์ 5
ก๑5๙๐๑ คอมพิวเตอร์ 5 40 1
80 2
ก๑5๙๐๒ การป้องกนั การทุจรติ 5 ๔๐ ๑
ก๑5๙๐๓ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๑๒๐ 3

 กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๑
 กิจกรรมนกั เรียน
๔๐ ๑
 ลูกเสอื /เนตรนารี ๓๐ ๑
 ชุมนมุ * ๑๐
ผนวกในกิจกรรม
ก๑5๙๐๔  กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑,๑60 ชุมนุม
 กจิ กรรมเพ่ิมความรู้
29
รวมเวลาเรยี นทัง้ หมดตามโครงสร้างหลักสูตร

17

โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านวังตาอนิ ทร์

ระดับประถมศกึ ษา ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6

รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน

รหัสวชิ า รายวชิ าพืน้ ฐาน ชั่วโมง/ปี ช่วั โมง/สัปดาห์
ท๑6๑๐๑ ภาษาไทย 6
ค๑6๑๐๑ คณิตศาสตร์ 6 ๘40 ๒1
ว๑6๑๐๑ 160 4
ส๑6๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6 160 4
ส๑6๑๐๒ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 6 120 3
พ๑6๑๐๑ ๘๐ ๒
ศ๑6๑๐๑ ประวตั ศิ าสตร์ 6 ๔๐ ๑
ง๑6๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 6 ๘๐ ๒
อ๑6๑๐๑ ๘๐ 2
รหัสวชิ า ศิลปะ 6 40 1
ท๑6๒๐๑ การงานอาชีพ 6 ๘๐ ๒
ว16201 ภาษาองั กฤษ 6 200 5
ว๑6๒๐2 4๐ 1
ส๑6๒๐๑ รายวชิ าเพม่ิ เติม 40 1
รหัสกิจกรรม เสรมิ ทกั ษะภาษาไทย 6 80 2
ก๑6๙๐๑ เสริมทกั ษะวทิ ยาศาสตร์ 6 ๔๐ ๑
๑๒๐ 3
ก๑6๙๐๒ คอมพิวเตอร์ 6 ๔๐ ๑
ก๑6๙๐๓
การป้องกันการทจุ รติ 6 ๔๐ ๑
กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน ๓๐ ๑

 กจิ กรรมแนะแนว ๑๐ ผนวกในกิจกรรม
ชุมนมุ
 กจิ กรรมนกั เรยี น
 ลูกเสอื /เนตรนารี
 ชุมนุม*

ก๑6๙๐๔  กิจกรรมเพื่อสงั คมและ ๑,๑60 29
สาธารณประโยชน์
 กจิ กรรมเพ่ิมความรู้

รวมเวลาเรียนท้ังหมดตามโครงสร้างหลักสูตร

18

สว่ นที่ 3

หลักสตู รโรงเรยี นบา้ นวงั ตาอินทร์
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ระดบั ประถมศึกษา

19

สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ความนำ

ทำไมตอ้ งเรียนภาษาไทย

ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและเสริมสร้าง
บุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเคร่อื งมือในการติดต่อส่ือสารเพ่ือสรา้ งความเขา้ ใจและความสัมพันธ์
ที่ดีต่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิตร่วมกัน ในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข
และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พัฒนา
กระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทาง
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจนอกจากนี้ยังเป็นสื่อ
แสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เป็นสมบัติล้ำค่าควรแก่การเรียนรู้
อนรุ ักษ์ และสบื สาน ให้คงอยูค่ ่ชู าติไทยตลอดไป

เรียนรอู้ ะไรในภาษาไทย

ภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชำนาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การเรียนรู้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ และเพื่อนำไปใช้ในชีวิตจริง

• การอ่าน การอา่ นออกเสยี งคำ ประโยค การอ่านบทร้อยแก้ว คำประพันธ์ชนิดตา่ งๆ การอ่านในใจ
เพ่อื สร้างความเข้าใจ และการคิดวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ความรูจ้ ากสงิ่ ท่อี า่ น เพ่อื นำไปปรับใช้ในชวี ิตประจำวัน

• การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสาร โดยใช้ถ้อยคำและรูปแบบต่างๆ ของการ
เขียน ซึง่ รวมถึงการเขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ รายงานชนดิ ตา่ งๆ การเขียนตามจินตนาการ วเิ คราะหว์ จิ ารณ์ และเขียน
เชงิ สรา้ งสรรค์

• การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก
พดู ลำดบั เรื่องราวต่าง ๆ อยา่ งเปน็ เหตุเปน็ ผล การพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ ท้ังเปน็ ทางการและ ไมเ่ ปน็ ทางการ และการพูด
เพอื่ โนม้ นา้ วใจ

• หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสมกับ
โอกาสและบคุ คล การแต่งบทประพนั ธ์ประเภทตา่ ง ๆ และอิทธพิ ลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

• วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือศกึ ษาข้อมลู แนวความคดิ คุณค่า
ของงานประพนั ธ์ และความเพลดิ เพลิน การเรยี นรู้และทำความเข้าใจบทเห่ บทรอ้ งเลน่ ของเด็ก เพลงพ้ืนบ้านที่เป็น
ภูมิปญั ญาท่ีมีคณุ ค่าของไทย ซงึ่ ได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด คา่ นยิ ม ขนบธรรมเนยี มประเพณี เรื่องราวของสังคมใน
อดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกดิ ความซาบซงึ้ และภมู ใิ จในบรรพบรุ ษุ ทไ่ี ดส้ ง่ั สมสืบทอดมาจนถงึ ปจั จุบนั

20

คุณภาพผู้เรยี น

จบชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3

• อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความ เรื่องสั้น ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ได้ถูกต้องคล่องแคล่ว
เข้าใจความหมายของคำและข้อความที่อ่าน ตั้งคำถามเชิงเหตุผล ลำดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้
ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน ปฏิบัติตามคำสั่ง คำอธิบายจากเรื่องที่อ่านได้ เข้าใจความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนท่ี
และแผนภูมิ อ่านหนังสืออย่างสม่ำเสมอ และมมี ารยาทในการอ่าน

• มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย บันทึกประจำวัน เขียนจดหมายลา
ครู เขียนเรื่องเกี่ยวกบั ประสบการณ์ เขียนเรื่องตามจินตนาการและมมี ารยาทในการเขยี น

• เล่ารายละเอียดและบอกสาระสำคัญ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม รวมทั้งพูดแสดงความคิดความรู้สึก
เกีย่ วกับเรื่องทฟ่ี ังและดู พูดสื่อสารเลา่ ประสบการณแ์ ละพูดแนะนำ หรือพูดเชญิ ชวนใหผ้ อู้ ่ืนปฏิบตั ติ าม และมมี ารยาท
ในการฟงั ดู และพูด

• สะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ ความแตกต่างของคำและพยางค์ หน้าที่ของคำ
ในประโยค มีทักษะการใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคำ แต่งประโยคง่าย ๆ แต่งคำคล้องจอง แต่งคำ
ขวัญ และเลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิน่ ได้เหมาะสมกบั กาลเทศะ

• เข้าใจและสามารถสรุปข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีที่อ่าน รู้จักเพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ซึ่งเป็นวัฒนธรรมของ
ท้องถ่นิ รอ้ งบทร้องเล่นสำหรบั เดก็ ในท้องถิ่น ทอ่ งจำบทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมีคณุ คา่ ตามความสนใจได้

จบชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6

• อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเปน็ ทำนองเสนาะได้ถูกต้อง อธิบายความหมายโดยตรง
และความหมายโดยนยั ของคำ ประโยค ขอ้ ความ สำนวนโวหาร จากเรื่องทีอ่ า่ น เขา้ ใจคำแนะนำ คำอธบิ ายในค่มู ือต่าง
ๆ แยกแยะข้อคิดเห็นและข้อเท็จจริง รวมทั้งจับใจความสำคัญของเรื่องที่อ่านและนำความรู้ความคิดจากเรื่องที่อ่าน
ไปตดั สินใจแกป้ ญั หาในการดำเนนิ ชวี ิตได้ มมี ารยาทและมนี สิ ยั รกั การอ่าน และเห็นคุณคา่ ส่ิงท่ีอา่ น

• มที ักษะในการคัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัดและครึง่ บรรทดั เขียนสะกดคำ แตง่ ประโยคและเขยี น
ข้อความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคำชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาพความคิด เพ่ือ
พัฒนางานเขียน เขียนเรยี งความ ย่อความ จดหมายส่วนตัว กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนแสดงความรู้สึกและความ
คดิ เหน็ เขียนเร่ืองตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ และมีมารยาทในการเขยี น

• พูดแสดงความรู้ ความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู เล่าเรื่องย่อหรือสรุปจากเรื่องที่ฟังและดู ตั้ง
คำถาม ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟังและดู รวมทั้งประเมินความน่าเชื่อถือจากการฟังและดูโฆษณาอย่างมีเหตุผล พูด
ตามลำดบั ข้ันตอนเรื่องต่าง ๆ อยา่ งชดั เจน พดู รายงานหรอื ประเด็นค้นคว้าจากการฟัง การดู การสนทนา และพูดโน้ม
นา้ วได้อย่างมเี หตผุ ล รวมท้ังมมี ารยาทในการดแู ละพดู

• สะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ สำนวน คำพังเพยและสุภาษิต รู้และเข้าใจ ชนิดและหน้าท่ี
ของคำในประโยค ชนิดของประโยค และคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้คำราชาศัพท์และคำสุภาพได้อย่าง
เหมาะสม แตง่ ประโยค แต่งบทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนสภุ าพ และกาพย์ยานี 11

• เข้าใจและเห็นคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพื้นบ้าน ร้องเพลงพื้นบ้านของ
ท้องถิ่น นำขอ้ คิดเห็นจากเรอื่ งทอ่ี า่ นไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ จริง และทอ่ งจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดได้

21

โครงสรา้ งเวลาเรยี น

ระดบั ชน้ั เวลาเรียน รวม

ป.1 รายวิชาพ้ืนฐาน รายวิชาเพิ่มเติม 200
ป.2 200
ป.3 160 40 200
ป.4 160 40 200
ป.5 160 40 200
ป.6 160 40 200
รวม 160 40 1,200
160 40

960 240

สาระมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชวี้ ัดชัน้ ปี

ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1

ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 สาระที่ 1 การอา่ น

มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต

และมีนิสยั รกั การอา่ น

ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.1 ท 1.1 ป.1/1 ➢ การอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคำ คำคล้อง

อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจองและ จอง และข้อความทปี่ ระกอบดว้ ย คำพื้นฐาน คือ คำท่ีใช้ใน
ขอ้ ความส้ัน ๆ
ชีวิตประจำวัน ไม่น้อยกว่า 600 คำ รวมทั้งคำท่ีใช้เรยี นรู้
ท 1.1 ป.1/2
ใน กล่มุ สาระการเรยี นรอู้ ืน่ ประกอบดว้ ย
บอกความหมายของคำและข้อความที่ คำทีม่ ีรปู วรรณยุกต์และไม่มรี ูปวรรณยุกต์
อ่าน - คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตาม

มาตรา

- คำทม่ี พี ยญั ชนะควบกล้ำ

- คำทม่ี อี ักษรนำ

ป.1 ท 1.1 ป.1/3 ➢ การอา่ นจบั ใจความจากส่อื ต่าง ๆ เช่น

ตอบคำถามเกี่ยวกบั เรื่องท่อี า่ น - นทิ าน

ท 1.1 ป.1/4 - เรือ่ งส้ัน ๆ

เลา่ เรือ่ งยอ่ จากเร่อื งท่ีอา่ น - บทรอ้ งเลน่ และบทเพลง

ท 1.1 ป.1/5 - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้

คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่อื งทอ่ี า่ น ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น

22

ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ท 1.1 ป.1/6 ➢ การอ่านหนงั สือตามความสนใจ เชน่

อ่านหนังสือตามควา มสนใจอย่าง - หนงั สือท่ีนักเรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วยั
สม่ำเสมอและนำเสนอเรอ่ื งทีอ่ า่ น
- หนงั สอื ทีค่ รูและนักเรียนกำหนดรว่ มกัน

ท 1.1 ป.1/7 ➢ การอ่านเครื่องหมายหรือสญั ลกั ษณ์ ประกอบด้วย

บอกความหมายของเครื่องหมาย หรือ - เครื่องหมายสัญลักษณ์ต่างๆ ที่พบเห็นในชีวิต

สัญลักษณ์สำคัญที่มักพบเห็ นใน ประจำวนั

ชวี ติ ประจำวนั - เคร่ืองหมายแสดงความปลอดภัยและแสดงอันตราย

ท 1.1 ป.1/8 ➢ มารยาทในการอา่ น เช่น
มมี ารยาท ในการอา่ น
- ไม่อ่านเสียงดงั รบกวนผู้อืน่
- ไม่เลน่ กนั ขณะที่อา่ น
- ไมท่ ำลายหนงั สอื

 สาระที่ 2 การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ

ตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างมีประสิทธิภาพ

ชนั้ ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.1 ท 2.1 ป.1/1 ➢ การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการ

คัดลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทดั เขียนตวั อกั ษรไทย

ท 2.1 ป.1/2 ➢ การเขียนส่อื สาร

เขียนส่ือสารดว้ ยคำและประโยคงา่ ย ๆ - คำทีใ่ ชใ้ นชวี ิตประจำวนั

- คำพื้นฐานในบทเรยี น

- คำคล้องจอง

- ประโยคง่ายๆ

ท 2.1 ป.1/3 ➢ มารยาทในการเขียน เชน่

มมี ารยาทในการเขียน - เขยี นให้อ่านงา่ ย สะอาด ไมข่ ดี ฆา่

- ไม่ขดี เขยี นในทีส่ าธารณะ

- ใช้ภาษาเขยี นเหมาะสมกบั เวลา สถานท่ี และบคุ คล

23

 สาระที่ 3 การฟงั การดู และการพดู
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลอื กฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สกึ ในโอกาสต่าง ๆ

อย่างมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์

ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ป.1 ท 3.1 ป.1/1 ➢ การฟังและปฏิบัตติ ามคำแนะนำ คำส่ังง่าย ๆ

ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่าย ๆ และปฏิบัติ ➢ การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก
ตาม จากเรอ่ื งที่ฟงั และดู ทงั้ ท่ีเป็นความรูแ้ ละความบันเทงิ เชน่
ท 3.1 ป.1/2
- เรอ่ื งเล่าและสารคดีสำหรับเดก็
ตอบคำถามและเล่าเร่ืองที่ฟังและดู ทั้งที่ - นิทาน
เป็นความรแู้ ละความบนั เทิง
- การต์ ูน
ท 3.1 ป.1/3
- เร่อื งขบขนั
พูดแสดงความคิดเห็นและความรูส้ กึ จาก

เรื่องทฟ่ี งั และดู

ท 3.1 ป.1/4 ➢ การพดู ส่อื สารในชีวิตประจำวนั เช่น
พูดส่ือสารไดต้ ามวตั ถุประสงค์
- การแนะนำตนเอง

- การขอความช่วยเหลือ

- การกล่าวคำขอบคุณ

- การกลา่ วคำขอโทษ

ท 3.1 ป.1/5 ➢ มารยาทในการฟัง เชน่

มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู - ต้ังใจฟงั ตามองผพู้ ูด

- ไมร่ บกวนผู้อ่นื ขณะทฟี่ ัง

- ไม่ควรนำอาหารหรือเครื่องดื่มไปรับประทานขณะท่ี

ฟัง

- ใหเ้ กยี รตผิ ู้พดู ด้วยการปรบมือ

- ไม่พดู สอดแทรกขณะทฟ่ี ัง

➢ มารยาทในการดู เชน่

- ตัง้ ใจดู

- ไมส่ ง่ เสยี งดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธขิ องผู้อ่ืน

➢ มารยาทในการพดู เชน่

- ใช้ถอ้ ยคำและกริ ิยาทสี่ ุภาพเหมาะสมกับกาลเทศะ

- ใช้นำ้ เสยี งนมุ่ นวล

- ไมพ่ ดู สอดแทรกในขณะทผี่ อู้ ื่นกำลังพดู

24

 สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญา

ทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ

ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.1 ท 4.1 ป.1/1 ➢ พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์

บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ➢ เลขไทย
และเลขไทย

ท 4.1 ป.1/2 ➢ การสะกดคำ การแจกลูก และการอา่ นเปน็ คำ

เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ➢ มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไมต่ รงตามมาตรา
ของคำ ➢ การผนั คำ
➢ ความหมายของคำ

ท 4.1 ป.1/3 ➢ การแต่งประโยค
เรียบเรยี งคำเป็นประโยคงา่ ย ๆ ➢ คำคล้องจอง

ท 4.1 ป.1/4
ตอ่ คำคลอ้ งจองง่าย ๆ

 สาระที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ

นำมาประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจรงิ

ชน้ั ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ป.1 ท 5.1 ป.1/1 ➢ วรรณกรรมร้อยแกว้ และรอ้ ยกรองสำหรบั เดก็ เชน่

บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟัง - นทิ าน
วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรอง - เรอ่ื งสนั้ ง่ายๆ
สำหรบั เด็ก
- ปริศนาคำทาย

- บทร้องเลน่

- บทอาขยาน

- บทรอ้ ยกรอง

- วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรียน

ท 5.1 ป.1/2 ➢ บทอาขยานและบทรอ้ ยกรอง

ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด และ - บทอาขยานตามที่กำหนด
บทร้อยกรองตามความสนใจ
- บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ

25

คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน

ท 11101 ภาษาไทย 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 เวลา 160 ช่วั โมง/ปี

ศึกษาและฝึกอ่านออกเสียงคำพื้นฐานที่ใช้ในชีวิตประจำวัน รวมทั้งคำที่ใช้เรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น

บอกความหมายของคำและข้อความที่อ่าน อ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ แล้วสามารถตอบคำถาม เล่าเรื่องย่อ

คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน อ่าน

เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน และมีมารยาทในการอ่าน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตาม

รปู แบบการเขียนตัวอักษรไทย เขยี นสอ่ื สารด้วยคำและประโยคง่าย ๆ และมมี ารยาทในการเขยี น ฟังคำแนะนำ คำสั่ง

ง่าย ๆ และปฏบิ ัติตาม จับใจความจากเรื่องที่ฟังและดู ท้งั ท่เี ป็นความรู้และความบันเทิง โดยตอบคำถาม เล่าเรื่อง พูด

แสดงความคิดเหน็ และความรสู้ กึ พดู แนะนำตนเอง ขอความช่วยเหลือ กล่าวคำขอบคณุ ขอโทษ และมีมารยาทในการ

ฟัง การดู และการพูด บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมายของ

คำ เรยี บเรียงคำเปน็ ประโยคง่าย ๆ และต่อคำคลอ้ งจองง่าย ๆ บอกขอ้ คิดทไี่ ด้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อย

แก้วและรอ้ ยกรองสำหรับเด็ก และทอ่ งจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ

กิจกรรมการเรียนรู้เน้นให้ผู้เรียนฝึกทักษะการฟัง การดู และการพูด ด้วยการฟงั นิทาน สงั เกตภาพ สำรวจสิ่ง

รอบตัว สนทนาจากประสบการณ์ ทายปริศนา เล่นเกม และร้องเพลง โดยสอดแทรกกิจกรรมให้ฝึกฝนการอ่านและ

การเขียน

เพื่อให้เกิดความเข้าใจหลักภาษา เกิดทักษะในการใช้ภาษาสื่อสาร สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มี

ความชนื่ ชม เหน็ คุณค่าภูมิปัญญาไทย และภูมใิ จในภาษาประจำชาติ

รหสั ตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒, ป. ๑/๓, ป. ๑/๔, ป. ๑/๕, ป. ๑/๖, ป. ๑/๗, ป. ๑/๘
ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒, ป. ๑/๓
ท ๓.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒, ป. ๑/๓, ป. ๑/๔, ป. ๑/๕
ท ๔.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒, ป. ๑/๓, ป. ๑/๔
ท ๕.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒

รวม 5 มาตรฐาน 22 ตัวช้ีวัด

26

โครงสรา้ งรายวชิ า

ท 11101 ภาษาไทย 1 กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย

ชัน้ ประถมศกึ ษาท่ี 1 เวลา 160 ชว่ั โมง/ปี

หน่วย ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา สัดส่วน
ท่ี การเรียนรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน

๑ เตรยี มพร้อมดี ท ๔.๑ ป. ๑/๑ ตัวอักษรเป็นเครื่องหมายที่ใช้แทน ๔ ๑

ไม่มปี ญั หา เสียง ตัวอักษรไทยมีพยญั ชนะ สระ

ว ร ร ณ ย ุ ก ต ์ แ ล ะ เ ล ข ไ ท ย ซ่ึ ง

พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ใช้

ประสมคำ ใหม้ ีความหมาย

๒ สระ -า ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ -า ออกเสยี ง อา เปน็ สระเสียง ๔ ๒

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ยาว เขียนไว้ข้างหลังพยัญชนะต้น

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ คำที่ใช้สื่อสารในชีวิตประจำวัน มี

คำท่ีประสมดว้ ยสระ -า

๓ สระ - ี ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำสระ - ี ออกเสียง อี เป็นสระ ๔ ๒

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ เสียงยาว เขียนไว้ข้างบนพยัญชนะ

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ต้น คำที่ใช้สื่อสารในชีวิตประจำวัน

มคี ำที่ประสมดว้ ยสระ - ี

๔ สระ -ู ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ -ู ออกเสียง อู เป็นสระเสียง ๔ ๒

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ยาว เขียนไว้ข้างล่างพยัญชนะต้น

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ คำที่ใช้ในชีวิตประจำวัน มีคำที่

ประสมดว้ ย สระ -ู

๕ สระ เ- ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ เ- ออกเสียง เอ เป็นสระเสียง ๔ ๒

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ยาว เขียนไว้ข้างหน้าพยัญชนะต้น

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ คำที่ใช้ในชีวิตประจำวัน มีคำท่ี

ประสมด้วย สระ เ-

๖ สระ แ- ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ แ- ออกเสียง แอ เป็นสระเสยี ง ๔ ๒

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ยาว เขียนไว้ข้างหน้าพยัญชนะต้น

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ คำที่ใช้ในชีวิตประจำวันมีคำท่ี

ประสมด้วยสระ แ-

๗ สระ โ- ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ โ- ออกเสียง โอ เป็นสระเสียง ๔ ๒

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ยาว เขียนไว้ข้างหน้าพยัญชนะต้น

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ คำที่ใช้ในชีวิตประจำวันมีคำที่

ประสมดว้ ยสระ โ-

๘ สระ -อ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ -อ ออกเสยี ง ออ เป็นสระ ๔๒

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ เสียงยาว เขยี นไวข้ ้างหลังพยัญชนะ

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ตน้ คำท่ใี ชใ้ น

ชีวิตประจำวันมีคำที่ประสมด้วย

สระ –อ

27

หน่วย ชือ่ หน่วย มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้ เวลา สดั สว่ น
ท่ี การเรยี นรู้ (ช่วั โมง) คะแนน

๙ สระ -ุ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ -ุ ออกเสียง อุ เป็นสระเสยี งส้นั ๔ ๒

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ เขียนไว้ข้างล่างพยัญชนะต้น คำท่ี

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ใช้ในชีวิตประจำวันมีคำที่ประสม

ดว้ ย สระ - ุ

๑๐ สระ - ิ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ - ิ ออกเสยี ง อิ เป็นสระเสยี ง ๔ ๒

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ส้นั เขยี นไว้ขา้ งบนพยญั ชนะต้น คำ

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ที่ใช้ในชีวติ ประจำวนั มีคำทปี่ ระสม

ด้วยสระ - ิ

๑๑ สระ - ึ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ - ึ ออกเสียง อึ เป็นสระเสียง ๔ ๒

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สน้ั เขยี นไว้ขา้ งบนพยัญชนะต้น คำ

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ที่ใช้ในชีวิตประจำวันมีคำที่ประสม

ด้วยสระ - ึ

๑๒ สระ ไ- ไม้ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ ไ- ออกเสียง ไอ ซึ่งมีเสียง ๔ ๒

มลาย ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ เหมือนเสียง อะ ที่มี ย สะกด เป็น

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ สระเสียงสั้น เขียนไว้ข้างหน้า

พยัญชนะต้น คำที่ใช้ใน

ชีวิตประจำวันมีคำที่ประสมด้วย

สระ ไ-

๑๓ สระ ใ- ไม้มว้ น ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ ใ- ออกเสียงเหมือน สระ ไ- ๔ ๒

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ เป็นสระเสียงสั้น เขียนไว้ข้างหน้า

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ พยัญชนะต้น คำที่ประสมด้วยสระ

ใ- ทใ่ี ช้ในชวี ิตประจำวันมี ๒๐ คำ

๑๔ สระ - ื ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ - ื ออกเสียง อือ เปน็ สระเสียง ๔ ๒

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ยาว เขียนไว้ข้างบนพยัญชนะต้น

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ คำที่ประสมด้วยเสียง อือ แต่ไม่มี

ตัวสะกดจะใช้รูป - ือ คำที่ใช้ใน

ชีวิตประจำวันมีคำที่ประสม

ดว้ ยสระ - ื และ - ือ

๑๕ สระ - ำ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ - ำ ออกเสียง อำ ซึ่งมีเสียง ๔ ๒

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ เหมือนเสียง อะ ที่มี ม สะกด เป็น

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ สระเสียงสั้น เขียน ํ ไว้ข้างบน

พยญั ชนะต้น และเขยี น - า ไว้ ข้าง

หลังพยัญชนะต้น คำที่ใช้ใน

ชีวิตประจำวันมีคำที่ประสมด้วย

สระ -ำ

๑๖ สระ เ-า ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ เ-า ออกเสียง เอา ซึ่งมีเสียง ๔ ๒

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ เหมือนเสียง อะ ที่มี ว สะกด เป็น

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ สระเสียงสั้น เขียน เ- ไว้ข้างหน้า

28

หนว่ ย ช่ือหน่วย มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้ เวลา สัดสว่ น
ที่ การเรียนรู้ (ช่วั โมง) คะแนน
๑๗ สระ เ -ีย ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒
ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ พยัญชนะต้น และเขียน -า ไว้ข้าง ๒
๑๘ สระ เ-ือ ท ๔.๑ ป. ๑/๒
หลังพยัญชนะต้น คำที่ใช้ใน ๒
๑๙ สระ - ัว ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒
๒๐ สระ - ะ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ชีวิตประจำวันมีคำที่ประสมด้วย ๒
ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ๒
๒๑ สระ เ - ะ สระ เ-า
ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ๒
ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ เ-ีย ออกเสียง เอีย เป็นสระ ๔
ท ๔.๑ ป. ๑/๒
เสียงยาว เขียน เ- ไว้ข้างหน้า
ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒
ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/ พยัญชนะต้น เขียน - ี ไว้ข้างบน
๒ ท ๔.๑ ป. ๑/๒
พยัญชนะต้น และเขียน -ย ไว้ข้าง
ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒
ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/ หลังพยัญชนะต้น คำที่ใช้ใน
๒ ท ๔.๑ ป. ๑/๒
ชีวิตประจำวันมีคำที่ประสมด้วย

สระ เ-ีย

สระ เ-ือ ออกเสียง เอือ เป็นสระ ๔

เสียงยาว เขียน เ- ไว้ข้างหน้า

พยัญชนะต้น เขียน - ื ไว้ข้างบน

พยัญชนะต้น และเขียน -อ ไว้ข้าง

หลังพยัญชนะต้น คำที่ใช้ใน

ชีวิตประจำวันมีคำที่ประสมด้วย

สระ เ-ือ

สระ - ัว ออกเสียง อัว เป็นสระ ๔

เสียงยาว เขียน -ั ไว้ข้างบน

พยัญชนะต้น และเขียน - ว ไว้ข้าง

หลังพยัญชนะต้น คำที่ใช้ใน

ชีวติ ประจำวนั มีคำ ที่ประสม

ด้วยสระ - ัว

สระ -ะ ออกเสยี ง อะ เปน็ สระเสียง ๔

สั้น เขียนไว้ข้างหลังพยัญชนะต้น

คำที่ประสมด้วยเสียง อะ ถ้ามี

ตัวสะกดจะใช้รูป -ั เขียนไว้

ข้างบนพยัญชนะต้น คำที่ใช้ใน

ชีวิตประจำวันมีคำที่ประสมด้วย

สระ -ะ และ -ั

สระ เ-ะ ออกเสียง เอะ เป็นสระ ๔

เสียงสั้น เขียน เ- ไว้ข้างหน้า

พยัญชนะต้น และเขียน - ะ ไว้ข้าง

หลังพยัญชนะต้น คำที่ประสมด้วย

เสียง เอะ ถ้ามีตัวสะกดจะใช้รูป เ

-็ คำที่ใช้ในชีวิตประจำวันมีคำท่ี

ประสมด้วยสระ เ - ะ และ เ –็

29

หน่วย ชือ่ หน่วย มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้ เวลา สดั สว่ น
ที่ การเรยี นรู้ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ (ช่วั โมง) คะแนน
๒๒ สระ แ-ะ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒
ท ๔.๑ ป. ๑/๒ สระ แ-ะ ออกเสียง แอะ เป็นสระ ๔ ๒
๒๓ สระ เ-าะ
๒๔ สระ โ-าะ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ เสียงสั้น เขียน แ- ไว้ข้างหน้า ๒
ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ๒
๒๕ สระ เ-อะ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ พยัญชนะต้น และเขียน - ะ
๒๖ สระ เ-อ ๒
ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ไว้ข้างหลังพยัญชนะต้น คำท่ี ๒
๒๗ มาตรา ก กา ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒
ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ประสมด้วยเสียง แอะ ถ้ามีตัวสะกด ๑

ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ จะใช้รูป แ -็ คำที่ใช้ในชีวิต
ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒
ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ประจำวันมีคำที่ประสมด้วยสระ แ

ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ - ะ และ แ -็
ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒
ท ๔.๑ ป. ๑/๒ สระ เ-าะ ออกเสียง เอาะ เป็นสระ ๔

ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ เสียงสั้น เขียน เ- ไว้ข้างหน้า
ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒
ท ๔.๑ ป. ๑/๒ พยัญชนะต้น และเขียน -าะ ไว้

ข้างหลังพยัญชนะต้น คำที่ใช้ใน

ชีวิตประจำวันมีคำที่ประสม

ด้วยสระ เ-าะ

สระ โ-ะ ออกเสียง โอะ เป็นสระ ๔

เสียงสั้น เขียน โ- ไว้ข้างหน้า

พยัญชนะต้น และเขียน -ะ ไว้

ข้างหลังพยัญชนะต้น คำที่ประสม

ด้วยเสียง โอะ ถ้ามีตัวสะกดจะไม่

ปรากฏรูปสระ คำที่ใช้ใน

ชีวิตประจำวันมีคำที่ประสม

ด้วยสระ โ-ะ

สระ เ-อะ ออกเสียง เออะ เป็นสระ ๔

เสียงสั้น เขียน เ- ไว้ข้างหน้า

พยัญชนะต้นและเขียน -อะ ไว้

ข้างหลังพยัญชนะต้น คำที่ใช้ใน

ชีวิตประจำวันมีคำที่ประสม

ดว้ ยสระ เ- อะ

สระ เ-อ ออกเสียง เออ เป็นสระ ๔

เสยี งยาว คำที่ประสมดว้ ยเสยี ง เออ

ถ้าไม่มีตัวสะกด จะใช้รูป เ-อ ถ้ามี

ย สะกด จะใช้รปู เ-ย ถา้ มีตัวสะกด

อื่น ๆ จะใช้รูป เ- ิ คำที่ใช้ใน

ชีวิตประจำวันมีคำที่ประสม

ดว้ ยสระ เ-อ เ-ย และ เ- ิ

คำที่ไม่มีตัวสะกดทุกคำ จัดเป็นคำ ๔

ในมาตรา ก กา

30

หนว่ ย ชื่อหน่วย มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้ เวลา สัดสว่ น
ที่ การเรยี นรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน

๒๘ มาตรา กง ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำทีม่ ี ง เปน็ ตวั สะกดทุกคำ จัดเป็น ๔ ๑

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำในมาตรา กง

ท ๔.๑ ป. ๑/๒

๒๙ มาตรา กม ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำที่มี ม เป็นตัวสะกดทุกคำ ๔ ๑

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ จัดเปน็ คำในมาตรา กม

ท ๔.๑ ป. ๑/๒

๓๐ มาตรา เกย ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำที่มี ย เป็นตัวสะกดทุกคำ ๔ ๑

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ จัดเป็นคำในมาตรา เกย

ท ๔.๑ ป. ๑/๒

๓๑ มาตรา เกอว ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำทีม่ ี ว เปน็ ตวั สะกดทกุ คำ จัดเป็น ๔ ๑

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำในมาตรา เกอว

ท ๔.๑ ป. ๑/๒

๓๒ มาตรา กน ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำที่มีเสียงตัวสะกดเหมือนเสียง น ๔ ๑

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ทุกคำ ไม่ว่าจะใช้ น ณ ญ ร ล ฬ

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ เป็นตวั สะกด เปน็ คำในมาตรา กน

๓๓ มาตรา กก ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำที่มีเสียงตัวสะกดเหมือนเสียง ก ๔ ๑

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ทุกคำ ไม่ว่าจะใช้ ก ข ค ฆ เป็น

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ตัวสะกด จดั เป็นคำในมาตรา กก

๓๔ มาตรา กบ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำที่มีเสียงตัวสะกดเหมือนเสียง บ ๔ ๑

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ทุกคำ ไม่ว่าจะใช้ บ ป พ ฟ ภ เป็น

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ตวั สะกด จัดเป็นคำในมาตรา กบ

๓๕ มาตรา กด ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำที่มีเสียงตัวสะกดเหมือนเสียง ด ๔ ๑

ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ทุกคำ ไม่ว่าจะใช้ ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส เป็นตัวสะกด

จัดเป็นคำในมาตรา กด

๓๖ อกั ษรควบและ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ๑. คำอักษรควบมพี ยัญชนะต้น ๒ ๔ ๒

อักษรนำ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ตวั ทีอ่ อกเสยี งพร้อมกนั

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ๒. คำอกั ษรนำมีพยัญชนะตน้ ๒

ตวั ออกเสยี งเหมือนมี ห นำ บาง

คำออกเสยี งครง้ั เดียว บางคำออก

เสียงสองคร้ัง

๓๗ การผันคำ ท ๑.๑ ป. ๑/๑ การผันคำใช้เสียงและรปู วรรณยุกต์ ๔ ๒

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ทำให้เสียงและความหมายของคำ

เปลีย่ นไป

๓๘ คำคล้องจอง ท ๑.๑ ป. ๑/๑ คำคล้องจองที่ไม่มตี วั สะกด จะต้อง ๔ ๒

ท ๔.๑ ป. ๑/๒ มีเสียงสระเหมือนกัน ส่วนคำคล้อง

31

หน่วย ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน/ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้ เวลา สดั สว่ น
ท่ี การเรยี นรู้ (ชวั่ โมง) คะแนน

๓๙ การแตง่ จองที่มตี วั สะกดต้องมเี สียงสระและ ๒
ประโยค
เสียงตัวสะกดเหมอื นกนั ๒
๔๐ การฟัง การดู
และการพดู ท ๑.๑ ป. ๑/๑ ประโยคจะมีคำตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไป ๔ 70
30
ท ๒.๑ ป. ๑/๒, ป. ๑/๓ และบอกให้ทราบว่า ใคร ทำอะไร 100

ท ๔.๑ ป. ๑/๓ หรอื เปน็ อย่างไร

ท ๓.๑ ป. ๑/๑,ป. ๑/๒, ทักษะการฟัง การดู และการพูด ๔

ป. ๑/๓, ป. ๑/๔, เป็นพื้นฐานการใช้ภาษาที่สำคัญ

ป. ๑/๕ นำไปสกู่ ารพัฒนาการอ่าน และการ

เขยี น

รวมคะแนนระหว่างปี

คะแนนทดสอบปลายปี

รวม ๑๖๐

32

คำอธบิ ายรายวิชาเพม่ิ เติม

ท 1๑๒01 เสรมิ ทักษะภาษาไทย ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ เวลา ๔0 ช่ัวโมง/ปี

ฝึกอา่ นสะกดคำตามมาตราตัวสะกด การผันวรรณยกุ ต์ อกั ษรสงู อกั ษรกลาง และอักษรต่ำ การอา่ นออกเสียง
ถูกต้องตามอกั ษรวิธี อา่ นได้คลอ่ ง จำคำไดแ้ ม่นยำ เข้าใจความหมายของคำและขอ้ ความท่อี ่าน

ฝึกปฏิบตั ิตนในการเขยี นคำสะกดคำใหม่ การเขียนตามคำบอก และบอกความหมายของคำ การเรยี งประโยค
จากคำที่กำหนด จดบนั ทึกประจำวนั ท้ังความรู้ ประสบการณ์ และเรอื่ งราวในชีวติ ประจำวนั

ฝึกนสิ ัยรักการอา่ นและเขียน มีมารยาทในการอ่านและเขยี นอย่างถูกต้อง เพื่อใหม้ ีทกั ษะในการอ่านและเขียน
อ่านและเขียนได้อย่างถูกต้องสวยงาม มีระเบียบ สื่อความหมายได้ และสามารถนำการอ่านและเขียนไปใช้ประโยชน์
ในชวี ิตจริงได้ มนี ิสัยทด่ี ีในการอ่านและเขยี น

ผลการเรยี นรู้
๑. ผู้เรยี นสามารถสะกดคำตามมาตราตัวสะกดได้
๒. ผู้เรียนสามารถผันวรรณยุกต์ อักษรสงู อักษรกลาง และอกั ษรต่ำ และอ่านออกเสียงถูกต้องตามอักษรวิธี
๓. ผเู้ รยี นสามารถเขา้ ใจความหมายของคำและข้อความท่ีอ่าน
๔. ผเู้ รียนสามารถเขียนตามคำบอกและบอกความหมายของคำได้อยา่ งถกู ต้อง
๕. ผู้เรยี นเขยี นประโยคไดอ้ ย่างถูกต้อง

รวมท้ังหมด ๕ ผลการเรยี นรู้

33

โครงสร้างรายวชิ าเพม่ิ เติม

ท 1๑๒01 เสริมทกั ษะภาษาไทย ๑ กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๑ เวลา ๔0 ช่ัวโมง/ปี

หนว่ ย ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้ เวลา คะแนน
ที่ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, (ช่วั โมง) (70:30)

๑ นักอ่านคนเกง่ การอ่าน การเขียน และการ ๕ ๘

๒ กลอ่ มน้องนอน ป. ๑/๒, ฟังวรรณคดีและวรรณกรรม ๕ ๘
ร้อยแก้วและร้อยกรอง ๕ ๙
๓ นทิ านพาเพลิน ป. ๑/๓, สำหรับเด็กทำให้ได้ข้อคิดที่

๔ บ้านและครอบครวั ป. ๑/๔, นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิต ๕ ๙

๕ โรงเรียนของเรา ป. ๑/๕, ประจำวนั ๕๙

๖ เพ่ือนกนั ป. ๑/๖, ๕๙

๗ ส่ิงแวดลอ้ มรอบตวั ป. ๑/๗, ๕๙

๘ ชาติ ศาสนา ป. ๑/๘ ๕๙
พระมหากษัตริย์ ท ๕.๑ ป. ๑/๑,

ป. ๑/๒

คะแนนระหว่างปี ๗๐
๓๐
คะแนนสอบปลายปี ๔๐ ๑๐๐

รวม

34

ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 2

ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง
 สาระที่ 1 การอา่ น
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต

และมนี ิสัยรักการอ่าน

ชนั้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.2 ท 1.1 ป.2/1 ➢ การอ่านออกเสียงและการบอกวามหมายของคำ คำ

อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความ คล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ ที่
และบทร้อยกรองง่าย ๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง
ประกอบด้วยคำพื้นฐานเพิ่มจาก ป. 1 ไม่น้อยกว่า 800
ท 1.1 ป.2/2
คำ รวมทั้งคำที่ใช้เรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน
อธิบายความหมายของคำและข้อความ ประกอบด้วย
ทีอ่ า่ น - คำทม่ี รี ูปวรรณยกุ ต์และไม่มีรูปวรรณยุกต์

- คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตาม

มาตรา

- คำท่มี ีพยญั ชนะควบกล้ำ

- คำทม่ี อี ักษรนำ

- คำทมี่ ีตวั การนั ต์

- คำที่มี รร

- คำที่มีพยญั ชนะและสระที่ไม่ออกเสียง

ท 1.1 ป.2/3 ➢ การอ่านจับใจความจากสือ่ ต่าง ๆ เชน่

ตั้งคำถามและตอบคำถามเกีย่ วกับเร่ือง - นิทาน

ทีอ่ า่ น - เรอื่ งเลา่ ส้ัน ๆบทเพลงและบทร้อยกรองง่ายๆ
ท 1.1 ป.2/4
- เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้
ระบุใจความสำคัญและรายละเอียดจาก ภาษาไทย และกล่มุ สาระการเรียนรูอ้ ่นื
เรื่องที่อา่ น
- ข่าวและเหตกุ ารณ์ประจำวนั
ท 1.1 ป.2/5

แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตกุ ารณ์

จากเรื่องทอี่ ่าน

ท 1.1 ป.2/6 ➢ การอา่ นหนังสือตามความสนใจ เชน่

อา่ นหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอ - หนังสอื ทนี่ กั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั วัย
และนำเสนอเร่ืองทอี่ ่าน
- หนงั สอื ท่คี รูและนกั เรยี นกำหนดรว่ มกัน

ท 1.1 ป.2/7 ➢ การอา่ นขอ้ เขยี นเชงิ อธิบาย และปฏบิ ตั ิตามคำส่ังหรอื

อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตาม ขอ้ แนะนำ
คำส่งั หรือขอ้ แนะนำ
- การใชส้ ถานทีส่ าธารณะ

- คำแนะนำการใช้เครื่องใช้ที่จำเป็นในบ้านและใน

โรงเรียน

35

ช้ัน ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ท 1.1 ป.2/8 ➢ มารยาทในการอา่ น เชน่
มีมารยาทในการอ่าน
- ไมอ่ ่านเสียงดังรบกวนผู้อื่น
- ไมเ่ ลน่ กันขณะท่ีอ่าน
- ไมท่ ำลายหนังสือ
- ไม่ควรแย่งอ่านหรือชะโงกหน้าไปอ่านขณะที่ผู้อื่น
กำลังอ่านอยู่

 สาระที่ 2 การเขยี น
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ

ตา่ ง ๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ป.2 ท 2.1 ป.2/1 ➢ การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการ
คัดลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัด
เขยี นตัวอักษรไทย
ท 2.1 ป.2/2
เขียนเรอ่ื งสัน้ ๆ เก่ียวกับประสบการณ์ ➢ การเขยี นเรื่องสั้น ๆ เกี่ยวกับประสบการณ์
ท 2.1 ป.2/3
เขยี นเรอ่ื งสั้นๆ ตามจนิ ตนาการ ➢ การเขียนเรื่องสัน้ ๆ ตามจนิ ตนาการ
ท 2.1 ป.2/4
มีมารยาทในการเขียน ➢ มารยาทในการเขยี น เช่น

- เขียนให้อา่ นง่าย สะอาด ไม่ขีดฆ่า
- ไม่ขดี เขยี นในทสี่ าธารณะ
- ใชภ้ าษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานท่ี และบุคคล
- ไม่เขยี นลอ้ เลียนผอู้ ื่นหรอื ทำให้ผูอ้ ื่นเสยี หาย

 สาระท่ี 3 การฟงั การดู และการพูด
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลอื กฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สกึ ในโอกาสต่าง ๆ

อย่างมีวิจารณญาณและสรา้ งสรรค์

ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ป.2 ท 3.1 ป.2/1 ➢ การฟังและปฏบิ ัติตามคำแนะนำ คำสั่งที่ซับซ้อน

ฟังคำแนะนำ คำสั่งที่ซับซ้อน และปฏิบัติ

ตาม

ท 3.1 ป.2/2 ➢ การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก

เล่าเรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้และ จากเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ความบันเทิง
เชน่
ท 3.1 ป.2/3
- เรอื่ งเลา่ และสารคดสี ำหรับเด็ก
บอกสาระสำคญั ของเร่อื งท่ีฟงั และดู

36

ชัน้ ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ท 3.1 ป.2/4 - นิทาน การ์ตูน และเรอื่ งขบขนั

ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องท่ี - รายการสำหรับเดก็

ฟังและดู

ท 3.1 ป.2/5 - ข่าวและเหตกุ ารณ์ประจำวนั

พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจาก - เพลง

เรอื่ งทฟ่ี ังและดู

ท 3.1 ป.2/6 ➢ การพูดสื่อสารในชีวิตประจำวัน เช่น

พดู สื่อสารไดช้ ัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ - การแนะนำตนเอง

- การขอความช่วยเหลอื

- การกลา่ วคำขอบคุณ

- การกล่าวคำขอโทษ

- การพูดขอรอ้ งในโอกาสตา่ ง ๆ

- การเล่าประสบการณใ์ นชวี ติ ประจำวนั

ท 3.1 ป.2/7 ➢ มารยาทในการฟงั เช่น

มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพดู - ตัง้ ใจฟงั ตามองผู้พูด

- ไม่รบกวนผู้อน่ื ขณะที่ฟัง

- ไม่ควรนำอาหารหรือเครื่องดื่มไปรับประทานขณะ

ทีฟ่ งั

- ไมพ่ ดู สอดแทรกขณะท่ีฟงั
➢ มารยาทในการดู เชน่

- ต้งั ใจดู

- ไม่สง่ เสียงดงั หรือแสดงอาการรบกวนสมาธขิ องผู้อื่น
➢ มารยาทในการพูด เชน่

- ใชถ้ อ้ ยคำและกริ ิยาที่สภุ าพ เหมาะสมกับกาลเทศะ

- ใช้น้ำเสยี งนุ่มนวล

- ไมพ่ ดู สอดแทรกในขณะท่ผี อู้ ื่นกำลังพดู

- ไม่พูดล้อเลยี นให้ผูอ้ น่ื ไดร้ ับความอับอายหรือเสียหาย

 สาระท่ี 4 หลกั การใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญา

ทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ขิ องชาติ

ช้นั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.2 ท 4.1 ป.2/1 ➢ พยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์

บอกและเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ ➢ เลขไทย
และเลขไทย

37

ช้นั ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ท 4.1 ป.2/2 ➢ การสะกดคำ การแจกลกู และการอา่ นเปน็ คำ

เขยี นสะกดคำและบอกความหมาย ของ ➢ มาตราตัวสะกดทต่ี รงตามมาตราและไม่ตรงตาม

คำ มาตรา
➢ การผันอักษรกลาง อักษรสงู และอักษรต่ำ
➢ คำทม่ี ีตัวการันต์
➢ คำที่มีพยัญชนะควบกลำ้
➢ คำทม่ี ีอกั ษรนำ
➢ ความหมายของคำ

➢ คำท่มี ีความหมายตรงขา้ มกัน
➢ คำทีม่ ี รร

ท 4.1 ป.2/3 ➢ การแต่งประโยค

เรยี บเรยี งคำเปน็ ประโยคได้ตรงตามเจตนา ➢ การเรยี บเรียงประโยคเป็นข้อความสน้ั ๆ

ของการสอ่ื สาร

ท 4.1 ป.2/4 ➢ คำคลอ้ งจอง

บอกลกั ษณะคำคล้องจอง

ท 4.1 ป.2/5 ➢ ภาษาไทยมาตรฐาน

เลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและ ภาษาถิ่น ➢ ภาษาถนิ่

ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ

 สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ

นำมาประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ จริง

ชัน้ ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.2 ท 5.1 ป.2/1 ➢ วรรณกรรมรอ้ ยแกว้ และร้อยกรองสำหรับเดก็ เช่น

ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟัง - นิทาน
วรรณกรรมสำหรับเด็กเพื่อนำไปใช้ใน - เร่ืองสน้ั งา่ ย ๆ
ชวี ติ ประจำวนั
- ปริศนาคำทาย

- บทอาขยาน

- บทร้อยกรอง

- วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน

ท 5.1 ป.2/2 ➢ บทร้องเล่นทม่ี คี ณุ คา่
รอ้ งบทร้องเล่นสำหรับเด็กในท้องถิ่น
- บทร้องเล่นในท้องถิน่

- บทรอ้ งเลน่ ในการละเลน่ ของเดก็ ไทย

ท 5.1 ป.2/3 ➢ บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองท่มี คี ุณค่า

ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบท - บทอาขยานตามทีก่ ำหนด
รอ้ ยกรองทม่ี คี ณุ คา่ ตามความสนใจ
- บทร้อยกรองตามความสนใจ

38

คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

ท 12101 ภาษาไทย 2 กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 2 เวลา 160 ชั่วโมง/ปี

ศึกษาและฝึกอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคำพื้นฐาน คำที่ใช้เรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น คำ
คล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่าย ๆ อ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ แล้วสามารถ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม ระบุ
ใจความสำคัญ และรายละเอียดแสดงความคิดเห็น และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน อ่านหนังสือตามความ
สนใจอย่างสม่ำเสมอ และนำเสนอเรื่องที่อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำและมี
มารยาทในการอ่าน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย เขียนเรื่องสั้น ๆ เกี่ยวกับ
ประสบการณ์และเรอื่ งส้นั ๆ ตามจินตนาการ และมีมารยาทในการเขียน ฟังคำแนะนำ คำสั่งทซี่ ับซอ้ น และปฏิบตั ิตาม
จับใจความจากเรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง โดยเล่าเรื่อง บอกสาระสำคัญ ตั้งคำถาม และตอบ
คำถาม พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟัง และดู พูดแนะนำตนเอง ขอความช่วยเหลือ กล่าวคำ
ขอบคณุ กลา่ วคำขอโทษ พดู ขอรอ้ งในโอกาสตา่ ง ๆ เล่าประสบการณ์ในชวี ิตประจำวนั และมีมารยาทในการฟัง การดู
และการพูด บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำ และบอกความหมายของคำ แต่ง
ประโยค และเรียบเรียงประโยคเป็นข้อความสั้น ๆ ได้ตรงตามเจตนาของการสื่อสาร บอกลักษณะของคำคล้องจอง
และเลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือฟัง
วรรณกรรมรอ้ ยแก้วและร้อยกรอง สำหรบั เดก็ เพือ่ นำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน รอ้ งบทร้องเลน่ สำหรับเดก็ ในท้องถ่ิน และ
ทอ่ งจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนด และบทรอ้ ยกรองทม่ี ีคณุ ค่าตามความสนใจ

กิจกรรมการเรียนรู้เน้นให้ผู้เรียนฝึกทักษะการอ่านและการเขียน อ่านเรื่องสั้น ๆ แข่งขันเขียนคำ รวมทั้ง
สอดแทรกการฝึกทักษะอนื่ ควบคู่กันไป ซ่งึ กจิ กรรมจะอย่ใู นลกั ษณะของบทบาทสมมุติ เกม ร้องเพลง ทายปริศนา การ
อภิปราย การระดมสมอง และการวาดภาพสื่อจินตนาการ

เพือ่ ใหเ้ กิดความเข้าใจหลกั ภาษา เกดิ ทักษะในการใชภ้ าษาเพ่ือการสื่อสารสามารถนำไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้
มคี วามชนื่ ชม เหน็ คณุ คา่ ภูมปิ ัญญาไทยและภมู ิใจในภาษาประจำชาติ

รหสั ตวั ช้ีวดั
ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔, ป. ๒/๕, ป. ๒/๖, ป. ๒/๗, ป. ๒/๘
ท ๒.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔
ท ๓.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔, ป. ๒/๕, ป. ๒/๖, ป. ๒/๗
ท ๔.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔, ป. ๒/๕
ท ๕.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓

รวม ๕ มาตรฐาน ๒๗ ตัวชี้วดั

39

โครงสร้างรายวชิ า

ท 12101 ภาษาไทย 2 กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2
หน่วย ช่ือหน่วยการ เวลา 160 ช่ัวโมง/ปี

ที่ เรียนรู้ มาตรฐาน/ สาระการเรียนรู้ เวลา สดั สว่ น
๑ ตัวอักษรไทย ตวั ชีว้ ดั (ชั่วโมง) คะแนน
ท ๔.๑ ป. ๒/๑
๒ มาตรา ก กา ตัวอักษรไทยประกอบด้วย ๗ ๓
ท ๑.๑ ป. ๒/๑,
๓ มาตรา กง ป. ๒/๒ พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลข

๔ มาตรา กม ท ๒.๑ ป. ๒/๑ ไทย ซึ่งสามารถนำมาประกอบเป็น
ท ๔.๑ ป. ๒/๒
๕ มาตรา เกย คำเพื่อใชใ้ นการส่ือสาร
ท ๑.๑ ป. ๒/๑,
๖ มาตรา เกอว ป. ๒/๒ มาตรา ก กา เป็นคำทีไ่ มม่ ตี วั สะกด ๗ ๓

๗ มาตรา กก ท ๒.๑ ป. ๒/๑ ก า ร อ ่ า น ก า ร เ ข ี ย น แ ล ะ รู้
ท ๔.๑ ป. ๒/๒
๘ มาตรา กด ความหมายของคำที่ถูกต้องทำให้
ท ๑.๑ ป. ๒/๑,
ป. ๒/๒ สามารถนำคำไปใช้ใน

ท ๒.๑ ป. ๒/๑ ชวี ติ ประจำวันได้
ท ๔.๑ ป. ๒/๒
มาตรา กง เป็นคำที่มี ง เป็น ๗ ๓
ท ๑.๑ ป. ๒/๑,
ป. ๒/๒ ตัวสะกดการอ่าน การเขียน และรู้

ท ๒.๑ ป. ๒/๑ ความหมายของคำที่ถูกต้องทำให้
ท ๔.๑ ป. ๒/๒
สามารถนำคำไปใช้ใน
ท ๑.๑ ป. ๒/๑,
ป. ๒/๒ ชวี ิตประจำวันได้

ท ๒.๑ ป. ๒/๑ มาตรา กม เป็นคำที่มี ม เป็น ๗ ๓
ท ๔.๑ ป. ๒/๒
ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ตัวสะกดการอ่าน การเขียน และรู้

ป. ๒/๒ ความหมายของคำที่ถูกต้องทำให้
ท ๒.๑ ป. ๒/๑
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ สามารถนำคำไปใช้ใน
ท ๑.๑ ป. ๒/๑,
ชวี ติ ประจำวนั ได้
ป. ๒/๒
มาตรา เกย เป็นคำที่มี ย เป็น ๗ ๓

ตัวสะกดการอ่าน การเขียน และรู้

ความหมายของคำที่ถูกต้องทำให้

สามารถนำคำไปใช้ใน

ชีวติ ประจำวนั ได้

มาตรา เกอว เป็นคำที่มี ว เป็น ๗ ๓

ตัวสะกดการอ่าน การเขียน และรู้

ความหมายของคำท่ีถูกตอ้ ง

มาตรา กก เป็นคำที่มี ก ข ค ฆ ๗ ๓
เปน็ ตวั สะกด ซึง่ ออกเสยี งเหมือน ก ๗ ๓
สะกด การอ่าน การเขียน และรู้
ความหมายของคำที่ถูกต้อง

มาตรา กด เป็นคำที่มีพยัญชนะท่ี
เป็นตวั สะกดไดห้ ลายตวั ซึง่ ออก

40

หน่วย ช่ือหน่วยการ มาตรฐาน/ สาระการเรียนรู้ เวลา สดั สว่ น
ที่ เรยี นรู้ ตวั ชว้ี ัด (ชั่วโมง) คะแนน
เสียงเหมือน ด สะกด การอ่าน การ
๙ มาตรา กน ท ๒.๑ ป. ๒/๑ เขียน และรู้ความหมายของคำที่ ๘ ๓
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ ถูกต้อง ๘ ๓
๑๐ มาตรา กบ มาตรา กน เป็นคำที่มี น ญ ณ ร ล ๘ ๓
ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ฬ เปน็ ตวั สะกด ซึ่งออกเสียงเหมือน
๑๑ การผันอกั ษร ป. ๒/๒ น สะกด การอ่าน การเขียน และรู้ ๘ ๓
ความหมายของคำทถี่ กู ต้อง
ท ๒.๑ ป. ๒/๑ ๘ ๓
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ มาตรา กบ เป็นคำที่มี บ ป พ ฟ ภ
ท ๑.๑ ป. ๒/๑, เปน็ ตัวสะกด ซึง่ ออกเสยี งเหมอื น บ
สะกด การอ่าน การเขียน และรู้
ป. ๒/๒ ความหมายของคำท่ถี ูกต้อง
ท ๒.๑ ป. ๒/๑
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ การผันอักษร เป็นการเปลี่ยนเสียง
ท ๑.๑ ป. ๒/๑, คำต่าง ๆ ตามเสียงวรรณยุกต์ให้ได้
คำใหม่ที่มีความหมายแตกต่างจาก
ป. ๒/๒ คำเดิม การเข้าใจอักษรสูง อักษร
ท ๒.๑ ป. ๒/๑ กลาง และอักษรต่ำ จะทำให้ผัน
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ อกั ษรได้ถกู ตอ้ ง

๑๒ คำที่มีพยัญชนะ ท ๑.๑ ป. ๒/๑, คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำเป็นคำที่มี
พยัญชนะต้น ๒ ตัว ประสมสระตัว
ควบกล้ำ ป. ๒/๒ เดียวกนั พยญั ชนะทมี่ าควบคือ ร ล
ว บางคำออกเสียงพยัญชนะต้น ๒
ท ๒.๑ ป. ๒/๑ ตัวกล้ำกัน บางคำออกเสียงเฉพาะ
พยัญชนะตัวแรก และบางคำออก
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ เสียง ทร เป็นเสียง ซ การอ่าน การ
เขียน และรู้ความหมายของคำท่ี
๑๓ คำทมี่ ีอกั ษรนำ ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ถกู ตอ้ ง
ป. ๒/๒ คำทีม่ ีอกั ษรนำ เป็นคำที่มีพยญั ชนะ
ต้น ๒ ตัว ประสมสระเดียวกัน
ท ๒.๑ ป. ๒/๑ พยัญชนะต้นตัวแรกจะเป็นอักษร
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ สูงหรืออักษรกลาง ส่วนพยัญชนะ
ตัวที่สองจะเป็นอักษรต่ำ บางคำ
ออกเสียงพยางค์เดียว บางคำออก
เสียง ๒ พยางค์ โดยพยางค์แรก
ออก -เสยี ง อะ ก่ึงเสยี ง ส่วนพยางค์
หลังออกเสียงเหมือนมี ห นำ การ
อ่าน การเขียน และรู้ความหมาย
ของคำทถ่ี กู ต้อง

41

หน่วย ช่ือหน่วยการ มาตรฐาน/ สาระการเรยี นรู้ เวลา สัดสว่ น
ท่ี เรยี นรู้ ตวั ชวี้ ัด (ชว่ั โมง) คะแนน
คำท่ีมตี วั การนั ต์ เปน็ คำทม่ี ไี ม้
๑๔ คำทม่ี ตี วั การันต์ ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ทณั ฑฆาตกำกับอยู่บนพยัญชนะที่ ๘ ๓
ป. ๒/๒ ไม่ต้องการออกเสียง ตวั การันตม์ ที ั้ง
พยญั ชนะตัวเดยี ว พยญั ชนะ ๒ ตวั ๘ ๓
ท ๒.๑ ป. ๒/๑ การอา่ นจะไม่อา่ นออกเสยี ง
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ พยญั ชนะและสระนนั้ การเขียน ๘ ๓
และรูค้ วามหมายของคำทถี่ ูกตอ้ ง ๘ ๓
๑๕ คำทม่ี ี รร ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ๘ ๔
ป. ๒/๒ คำท่มี ี รร อา่ นออกเสียงเหมอื น ๘ ๕
พยญั ชนะต้นประสมสระ อะ ถ้าคำ
ท ๒.๑ ป. ๒/๑ นน้ั ไม่มีตวั สะกดจะออกเสียง
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ เหมือนมี น เป็นตัวสะกด แต่ถา้ คำ
นั้นมตี วั สะกดจะออกเสียงตามเสียง
๑๖ คำที่มีพยัญชนะ ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ตวั สะกดของคำ การเขียน และรู้
ความหมายของคำที่ถูกต้อง ทำให้
และสระที่ไม่ออก ป. ๒/๒ สามารถนำคำไปใชใ้ น
ชีวิตประจำวันได้
เสยี ง ท ๒.๑ ป. ๒/๑
คำบางคำมีพยัญชนะและสระที่ไม่
๑๗ คำทม่ี ีความหมาย ท ๔.๑ ป. ๒/๒ ออกเสียง บางคำไม่ออกเสียง ร ซ่ึง
ตรงขา้ มกนั เป็นตัวสะกดตัวที่สอง บางคำไม่
ออกเสียง ห
๑๘ คำคลอ้ งจอง ท ๑.๑ ป. ๒/๑
ท ๒.๑ ป. ๒/๑ คำในภาษาไทยมีคำที่มีความหมาย
ท ๔.๑ ป. ๒/๔ ตรงข้ามกัน ใช้เปรียบเทียบเพื่อสื่อ
ความหมายให้ชัดเจน การเข้าใจ
๑๙ ภ า ษ า ไ ท ย ท ๔.๑ ป. ๒/๕ ความหมายของคำ ทำให้สามารถ
มาตรฐานและ นำไปใช้ในชวี ติ ประจำวันไดถ้ ูกต้อง
ภาษาถิน่
คำคล้องจองเป็นคำที่มีเสียงสระ
และเสียงตัวสะกดเหมือนกัน ทำให้
ภาษาไทยมีความไพเราะ และจดจำ
ได้ง่าย

ภาษาไทยมาตรฐานเป็นภาษาที่ใช้
ติดต่อสื่อสารกันทั่วไป ส่วนภาษา
ถิ่น เป็นภาษาที่ใช้ติดต่อสื่อสารกัน
ภายในท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง การ
เรียนรู้ภาษาถิ่นทำให้เข้าใจการ
สื่อสารของคนกลุ่มต่าง ๆ และ
เลอื กใช้ภาษา

42

หนว่ ย ช่ือหน่วยการ มาตรฐาน/ สาระการเรยี นรู้ เวลา สดั สว่ น
ท่ี เรยี นรู้ ตวั ชีว้ ดั (ชั่วโมง) คะแนน

๒๐ การเขียน ท ๒.๑ ป. ๒/๒, ๑. การแต่งประโยคได้ตรงตาม ๘ ๕

ป. ๒/๓, จุดประสงค์จะทำให้การสื่อสาร ๕

ป. ๒/๔ ชดั เจน 70
30
ท ๔.๑ ป. ๒/๓ ๒. การเขียนเรื่องสั้น ๆ เกี่ยวกับ 100

ประสบการณ์เป็นการเขียน

เรื่องราวที่เกิดจากการกระทำ หรือ

ได้พบเหน็ มาดว้ ยตนเองถ่ายทอดให้

ผู้อื่นรับรู้ เพื่อแลกเปลี่ยน

ประสบการณ์

๓. การเขียนเรื่องสั้น ๆ ตาม

จินตนาการ ทำให้ มี คว า ม คิ ด

สร้างสรรค์๔. การมีมารยาทในการ

เขียนจะทำให้งานเขียนมีคุณภาพ

เป็นที่ชื่นชมของผู้ที่ได้อ่านงาน

เขียนน้นั

๒๑ การฟงั การดู และ ท ๓.๑ ป. ๒/๑, ๑. การฟังคำแนะนำหรอื คำสง่ั อย่าง ๘

การพูด ป. ๒/๒, ตงั้ ใจและคดิ ตามจะทำให้เข้าใจและ

ป. ๒/๓, สามารถปฏบิ ตั ติ ามได้ถกู ตอ้ ง

ป. ๒/๔, ๒. การฟังและดูเรื่องราวต่าง ๆ

ป. ๒/๕, อย่างตั้งใจจะทำให้สามารถจับ

ป. ๒/๖, ใจความของเรื่องได้ สามารถนำไป

ป. ๒/๗ ถ่ายทอดแสดงความคิดเห็นและ

ความร้สู ึกไดอ้ ยา่ งถูกต้อง

๓. การพูดสื่อสารในชีวิตประจำวัน

ต้องเลือกใช้ถ้อยคำและแสดงกิริยา

ท่าทางให้เหมาะสมกับกาลเทศะ

และบุคคล

๔. การมีมารยาทในการฟัง การดู

และการพูดเกิดขึ้นจากความตั้งใจ

ทำให้ผู้อื่นชื่นชม และการสื่อสาร

ประสบความสำเรจ็

รวมคะแนนระหวา่ งปี

คะแนนทดสอบปลายปี

รวม ๑๖0

43