อาการที่ควรหยุด ออกกำลัง กาย

ข้อควรระวังของการออกกำลังกาย

อาการที่ควรหยุด ออกกำลัง กาย

  1. ควรออกกำลังกายอยู่นขอบเขตที่หมาะสม ไม่ฝืน ไม่หักโหมจนเกินไป
  2. ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคประจำตัว ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ ควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนเริ่มออกกำลังกาย
  3. ขณะออกกำลังกายหากมีอาการผิดปกติ ให้หยุดออกกำลังกาย และร้องขอความช่วยเหลือ เช่น ใจสั่นหรือรู้สึกใจเต้นไม่เป็นจังหวะ เหงื่อออกมากผิดปกติ เจ็บแน่นหน้าอกเวียนศีรษะเหมือนจะเป็นลม หายใจไม่ทัน หายใจลำบาก

ข้อมูล ณ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2561

ที่มา : อ.พญ.สกุณี ภระกูลสุขสถิตย์


บทความที่เกี่ยวข้อง


��ô�� �ͧ���."�����㴷��������͡���ѧ���".��ͪ�Ǻ�ҹ. 23,247 (��Ȩԡ�¹ 2544) : 48-49.
����͡���ѧ��¨з�����آ�Ҿ���ç��鹷�駷ҧ��ҧ�����ШԵ� �����ҡ���͡���ѧ��¨��ռŴյ���آ�Ҿ�ҹѻ��� ��������¡óշ�������Ѵ���ѧ ���ͧ��͡���ѧ��ª��Ǥ��� ����������˹�觢ͧ��ҧ��´ѧ���仹�� �纻�����ʺ�� ��੾�����ҧ��觶�������������ҡ���ѡ�ʺ�����ǹ���ǹ˹�觢ͧ��ҧ��� ��ѧ�ҡ����������� � �����ҧ����ѧ��͹�������� �ҡ�͡���ѧ��� �з������ҧ��������͹���������ª�� ��ѧ��áԹ������������� � ���Шз�������ʹ��к�������¹�١�����㹡����������� ���Щй�����ʹ���������§�����������ǹ����͡���ѧ��¡��Ŵŧ ����������������͹���ö�Ҿ ����繵�Ф�������� ��ǧ���ҷ�����ҡ����͹�Ѵ���ͺ�����ҡ ������ҧ��¨��٭�����˧��� ��й��ҡ���һ��� �������ҧ�����͹���� �˹���§��� �����������ʵ��� �ҡ�÷��觺͡��Ҥ����ش�͡���ѧ��� ���� ����֡�˹���¼Դ���� ���ҡ����鹼Դ���� �ҡ�âѴ�������������Ƿ�ͧ �ҡ�����¹����� �ҡ�ä������ �ҡ��˹���״ �վ�������ǡ��� 140 ����/�ҷ� (㹼���٧����) ���� 160 ����/�ҷ� (���˹������)�ҡ���ҡ�����ҧ����ҧ˹���Դ��鹵�ͧ��ش�͡���ѧ��·ѹ��


เผยแพร่: 5 มี.ค. 2562 16:20   โดย: ผู้จัดการออนไลน์

อย่างที่ทราบกันดีว่า การออกกำลังกายนั้นสามารถช่วยให้ร่างกายมีสุขภาพที่แข็งแรงมากยิ่งขึ้น และยิ่งถ้าออกกำลังตามความเหมาะสมกับอายุ-น้ำหนักด้วยแล้วจะมีความเหมาะสมด้วยเช่นกัน แต่ในขณะเดียวกัน หากมีสัญญาณดังกล่าวขึ้น ควรที่จะหยุดออกกำลังกายไว้เพื่อที่จะสามารถดูแลและรักษาได้ด้วยตนเองได้ทันท่วงที

1.หน้าซีด หายใจไม่คงที่

อาการนี้เกิดจากชีพจรที่มีการเต้นเร็ว หายใจถี่ มือเท้าเย็น รู้สึกเหมือนจะไม่ได้สติ บางรายอาจจะมีอาการเพ้อ มีอาการเซื่องซึมหรือกระวนกระวาย ส่วนสาเหตุอาจจจะมาจากการขาดออกซิเจนของสมอง ขาดน้ำ ระบบเมตาบอลิซึมในร่างกายไม่สมดุล มีความผิดปกติเกี่ยวกับฮอร์โมน ทำให้นอนหลับไม่เพียงพอ หรือมีปัญหาสุขภาพจิต

2.กระดูกผิดรูป ข้อเคลื่อนหลุด หรือขยับบริเวณกระดูกหรือข้อต่อรู้สึกผิดปกติ

อาการนี้จะมีการปวดบริเวณกระดูกหรือข้อหลังจากอุบัติเหตุ มีอาการบวม ฟกช้ำ หรือผิดรูป มาจากสาเหตุ คือ ล้ม ถูกกระแทก ได้รับบาดเจ็บของกระดูกและข้อต่อ ซึ่งก็อยู่ที่ความรุนแรงกับลักษณะอาการบาดเจ็บที่พบเจอมา

3.ใจสั่น เจ็บหน้าอก หายใจติดขัดเหนื่อย

สาเหตุนี้มาจากการเหนื่อยง่ายหรือมากกว่าปกติ อ่อนเพลีย วิงเวียนศีรษะ หน้ามืด หายใจไม่อิ่ม มาจากภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด

4.อาการอ่อนแรง กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต

สำหรับอาการเกร็งหรือกระตุกกล้ามเนื้อนั้นจะไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อให้เคลื่อนไหว หรือทำงานได้ตามปกติ ตัวอย่างเช่น อาการแขนขาอ่อนแรง ยกอวัยวะจำพวกแขนไม่ขึ้น โดยอาจจะเป็นอาการบ่งชี้ของโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงบางชนิด หรือ ALS หรือเกิดความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับสมอง เช่น เส้นเลือดสมองฝ่อหรือแตก โรคไขสันหลังกระดูกต้นคอ และเส้นประสาทต่างๆ ที่ควบคุมกล้ามเนื้อ

5.มีความปวดเรื้อรังหรือมีอาการแย่ลง

ส่วนอาการนี้มีการปวดหลังจากการได้รับบาดเจ็บมาสักระยะหนึ่ง ทั้งที่ได้รับหรือไม่ได้รับการรักษา มีอาการเป็นซ้ำหรือรุนแรงขึ้น โดยเฉพาะเมื่อทำกิจกรรมแบบเดิม เช่น เจ็บข้อเท้าขณะวิ่ง เมื่อหยุดวิ่งอาการจะหายไป แล้วถ้ากลับมาวิ่งอาการก็มาเหมือนเดิม เป็นต้น อาจเกิดจากอาการบาดเจ็บที่ได้รับการดูแลไม่ถูกต้องเหมาะสม หรือมีการบาดเจ็บที่ยังไม่ได้รับการรักษา จำเป็นต้องได้รับการตรวจและวินิจฉัย

อย่างไรก็ตาม ก่อนที่จะออกกำลังกายก็ควรให้ความสำคัญต่อการเตรียมพร้อมของร่างกาย อย่าฝืนออกกำลังกายให้มากเกินกำลังของตนเองเช่นเดียวกัน


1.  กล้ามเนื้อ เอ็น กระดูกบาดเจ็บ
     กล้ามเนื้อ เอ็น กระดูกเป็นส่วนสำคัญที่ร่างกายใช้ระหว่างการออกกำลังกาย  หากถูกใช้งานอย่างหนักเกินไป  ก็จะส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บได้  เช่น เอ็นอักเสบ ฉีกขาด  กล้ามเนื้ออักเสบ กระดูกร้าว  หากคุณมีอาการบาดเจ็บดังกล่าว  ควรหยุดและพบแพทย์เพื่อรับการรักษาและรับโปรแกรมที่เหมาะสมในการเริ่มออกกำลังกายครั้งต่อไป  จำไว้ ” เจ็บแล้วอย่าฝืน เพราะจะทำให้เจ็บเรื้อรังได้ “

2.  นอนไม่หลับ จิตใจว้าวุ่น
     เนื่องจากการออกกำลังกายอย่างหนัก  ส่งผลให้ร่างกายตื่นตัวตลอดเวลา ซึ่งไม่ใช่ผลดี เพราะร่างกายคนเราต้องการการพักผ่อนที่เพียงพอ  หากคุณมีอาการนอนไม่หลับ จิตใจว้าวุ่น  กระสับกระส่าย นั่นอาจเป็น 1 ในสัญญาณเตือนว่าคุณกำลังออกกำลังกายหนักเกินไป

3.  ระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง
     งงไหม ? ทำไมระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง  นั่นเป็นเพราะการออกกำลังกายหนักเกินไป  ทำให้ระบบต่าง ๆ ในร่างกายทำงานหนัก  ส่งผลให้ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอและนั่นทำให้คุณป่วยง่าย  ตรงกันข้ามกับการออกกำลังกายที่พอดีที่จะทำให้คุณแข็งแรง

4.  ภาวะหัวใจล้มเหลว
     คุณอาจเคยได้ยินข่าวร้ายแบบนี้มาบ้าง  นั่นเป็นเพราะหัวใจคนเรานั้นก็คือ กล้ามเนื้อ  การออกกำลังกายหนักเกินไปทำให้หัวใจทำงานหนักและอ่อนล้าได้  นี่เป็นผลกระทบร้ายแรงที่เราไม่อยากให้เกิดเพราะฉะนั้นเรามาออกกำลังกายแบบพอดีกันเถอะ

แล้วแค่ไหนที่เรียกว่า  ออกกำลังกายแบบ พอดี และ ดีพอ ?
     การออกกำลังแบบคาร์ดิโอ  ควรทำ 150 นาทีต่อสัปดาห์  นี่คือพื้นฐานสำหรับคนทั่วไป  โดยคุณอาจจะแบ่งเป็นวิ่ง 30 นาทีต่อวัน  รวม 5 วันต่อสัปดาห์ หรือปรับตามความเหมาะสม  เท่านี้ก็เพียงพอให้ร่างกายคุณแข็งแรงแล้ว  แต่จริง ๆ แล้วโปรแกรมการออกกำลังกายจะแตกต่างกัน ตามความต้องการและสภาพร่างกายของแต่ละคน  เช่น คนที่ต้องการลดน้ำหนัก, นักวิ่งมาราธอนคนที่ต้องการเพิ่มความฟิตของร่างกายคนที่อยากเทรนกล้ามเนื้อ, ผู้สูงอายุ  หรือแม้กระทั่งผู้ที่ได้รับการผ่าตัดหัวใจ  ควรได้รับโปรแกรมการออกกำลังกายที่เฉพาะเจาะจงและการดูแลที่เหมาะสมจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ  เพื่อผลลัพธ์ที่ตรงเป้าหมายและปลอดภัย

__________________________________________

บทความจาก แพทย์หญิง สุวรรณิการ์ ปาลี
.
ทำนัดแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู
หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
คลินิกเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลรวมแพทย์พิษณุโลก
.
เช็คเวลาออกตรวจแพทย์ได้ที่นี่ >> https://bit.ly/2Uh4bcY
.
—————————————-
โทรสายด่วนสุขภาพ☎️
055-219307-16 , 055-259631-34
โรงพยาบาลรวมแพทย์ พิษณุโลก

ทำไมเวลาออกกำลังกายถึงหน้ามืด

ขณะออกกำลังกาย หัวใจจะเต้นเร็วขึ้น เพื่อเพิ่มการสูบฉีดของเลือด การหยุดออกกำลังกายอย่างกะทันหันจะทำให้เลือดที่ไหลมาเลี้ยงหัวใจ ลดน้อยลงแต่หัวใจยังคงสูบฉีดเลือดได้ ในปริมาณเท่าเดิมอยู่ จึงส่งผลให้เกิดอาการวิงเวียน หน้ามืด หรือในบางคนอาจจะวูบหมดสติไปเลยก็ได้ ซึ่งเราสามารถสังเกตอาการของเราได้ หากมีอาการเหล่านี้ แปลว่า เรา ...

ทำไมออกกำลังกายแล้วตัวสั่น

มี 2 สาเหตุที่ทำให้แขนและขาของคุณสั่นระหว่างฝึกเพื่อสร้างความแข็งแกร่ง โดยอาการขาดน้ำเป็นหนึ่งในนั้น เนื่องจากกระบวนการรับรู้ของเนื้อเยื่อในร่างกายต้องการของเหลวเพื่อการทำงานอย่างถูกต้อง เมื่อร่างกายไม่ได้รับน้ำอย่างเหมาะสมก็จะส่งผลต่อสมดุลย์ของอีเล็กทรอไลต์ที่ส่งผลต่อการรัดตัวของกล้ามเนื้อ ดังนั้นจึงควรดื่มน้ำให้มาก ...

ควรหยุดออกกำลังเมื่อใดเพื่อความปลอดภัย

เมื่อใดที่ควรหยุดออกกำลังกาย เกิดอาการปวดบริเวณน่อง หรือน่องมีอาการบวม เจ็บหน้าอก ทารกดิ้นน้อยลง มีอาการเวียนศีรษะ หรือหน้ามืดคล้ายจะเป็นลม

โทษของการไม่ออกกําลังกาย มีอะไรบ้าง

ผลร้ายของการขาดการออกกำลังกาย.
1. โรคประสาทเสียดุลยภาพ ... .
2. โรคหลอดเลือดหัวใจเสื่อมสภาพ ... .
3. โรคความดันเลือดสูง ... .
4. โรคอ้วน ... .
5. โรคเบาหวาน ... .
6. โรคของข้อต่อและกระดูก.