สรุปโครงการเปิดบ้านวิชาการ

1

2

บนั ทึกขอ้ ความ

ส่วนราชการ โรงเรียนบา้ นเสด็จพิทยาคม อำเภอเคียนซา จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี

ที่ ………/2565 วนั ที่ 14 กนั ยายน 2565

เร่อื ง สง่ รายงานผลการดำเนินกิจกรรมเปดิ บ้านวชิ าการ Bansadet Open House “School of learning”

เรยี น ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นเสดจ็ พทิ ยาคม

ตามท่โี รงเรยี นบ้านเสด็จพิทยาคม มอบหมายให้กลุ่มงานบริหารวิชาการ จดั กิจกรรม เปิดบ้าน
วิชาการ Bansadet Open House “School of learning” ประจำปีการศกึ ษา 2565 วันที่ 5
สิงหาคม 2565 เพ่ือเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการของนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ใน
ความสำเร็จด้านการจดั การเรียนการสอนและการบริหารจัดการตอ่ สาธารณชน นั้น

บัดนก้ี ารดำเนินกิจกรรม เปิดบ้านวชิ าการ Bansadet Open House “School of learning”
ประจำปีการศึกษา 2565 ไดเ้ สรจ็ สนิ้ เรยี บร้อยแลว้ กลุ่มงานบริหารวิชาการ ขอนำส่งเอกสาร รายงาน
ผลการดำเนนิ กจิ กรรมเปิดบ้านวิชาการ Bansadet Open House “School of Leaning” เอกสารดงั
แนบ

จึงเรยี นมาเพอื่ โปรดพิจารณา

ลงชอ่ื ............................................... ผู้รายงาน
(นายสุนทร ปานเลก็ )
ตำแหน่งครู

ความเหน็ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบ้านเสด็จพิทยาคม
………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………

(นางสาวอรชพร มีพฒั น)์
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นเสดจ็ พทิ ยาคม

………../…………………./………….…

3

คำนำ
เอกสารฉบบั นเ้ี ปน็ เอกสารรายงานโครงการเปิดบ้านวชิ าการ Bansadet Open House “School of
Leaning” ประจำปีการศึกษา 2565 เพ่ือเป็นการประสานความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครอง ชมุ ชน องค์กรอืน่ ๆ
อยา่ งเหมาะสมและทวั่ ถงึ ในการ พัฒนาการศึกษา เพื่อใหม้ ีการประชาสมั พนั ธก์ ารจดั การศึกษาและประกัน
คุณภาพภายในของโรงเรียน และ เพื่อเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นได้แสดงความรคู้ วามสามารถดา้ นตา่ ง ๆ ในการ
สง่ เสรมิ และพฒั นาการจัดการเรยี น การสอนใหม้ ีประสิทธภิ าพโดยมุ่งสง่ เสริมทกุ ด้าน เพือ่ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรียนให้สงู ขน้ึ และเป็น ส่ือกลางใหโ้ รงเรยี นและผ้ปู กครองได้มโี อกาสรว่ มกนั พัฒนาคุณภาพของนกั เรียน
ทัง้ นใี้ นการดำเนนิ กิจกรรมผูจ้ ัดทำขอขอบพระคุณผู้บรหิ ารโรงเรยี นบ้านเสดจ็ พทิ ยาคม ทเ่ี ออื้ อำนวย
ความ สะดวกของสถานทีใ่ นการจัดกิจกรรม ขอขอบพระคุณผู้อำนวยการทีส่ ง่ เสรมิ สนับสนุน คอยให้คำแนะนำ
ดา้ น การจัดกิจกรรมและขอบคุณคณะครทู กุ ทา่ นทใี่ ห้ความรว่ มมือในการดำเนนิ กจิ กรรมเปน็ อย่างดีผู้จัดทำหวัง
เปน็ อย่างยง่ิ วา่ เอกสารฉบับนี้จะเป็นแนวทางการจัดกจิ กรรมในคร้งั ต่อไป

หากมขี ้อผิดพลาดประการใดผ้จู ัดทำจะไดน้ ำไปปรบั ปรุงในคร้ังตอ่ ไป

นายสนุ ทร ปานเล็ก
หัวหนา้ งานบรหิ ารวิชาการ

ผู้จัดทำ

สารบญั 4

บทท่ี 1 บทนำ หน้า
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ ก่ียวข้อง 1
บทท่ี 3 วิธกี ารดำเนินงาน 4
บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งาน 8
บทที่ 5 สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ 11
ภาคผนวก 13

1

บทท่ี 1
บทนำ
ท่ีมาและความสำคัญของปัญหา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542ได้กำหนดจุดมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษาไว้
เพื่อพัฒ นาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ท้ังร่างกายจิตใจสติปัญญ าความรู้และคุณ ธรรมมี จริยธรรมและ
วฒั นธรรมในการดำรงชวี ิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุขโดยกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสา
นึกท่ีถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขรู้จักรักษา
และส่งเสริมสิทธิหน้าที่เสรีภาพความเคารพกฎหมายความเสมอภาคและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์มีความ
ภาคภูมิใจในความเป็นไทยรู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติรวมทั้งส่งเสริมศาสนา
ศิลปะวัฒนธรรมของชาติการกีฬาภูมิปัญญาท้องถิ่นภูมิปัญญาไทยและความรู้อันเป็นสากลตลอดจนอนุรักษ์
ท รัพ ย า กร ธ ร รม ช าติ แล ะสิ่ งแว ด ล้ อม มี คว า ม ส าม าร ถใน การ ป ร ะกอ บ อ าชี พ รู้ จั ก พ่ึ งตน เอ งมี ค วาม คิ ดริ เร่ิ ม
สรา้ งสรรคใ์ ฝร่ ูแ้ ละเรียนรดู้ ว้ ยตนเองอย่างต่อเนอื่ งในการจัดการศกึ ษาตอ้ งยึดหลกั ว่าผู้เรยี นทุกคนมีความสามารถ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญท่ีสุดกระบวนการจั ดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน
สามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเตม็ ศักยภาพ(กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 : 3)
จากความสำคัญดังกล่าวข้างต้นโรงเรียนจึงเลง็ เห็นความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของโรงเรียนจึงได้กำหนดแผนงานประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ผลงานทางวิชาการของนักเรยี น ครู และบุคลากร
ทางการศึกษา ในความสำเร็จด้านการจัดการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ ตลอดจนสรุปกิจกรรมและ
โครงการเด่นท่ีประสบผลสำเร็จในรอบปีการศึกษาท่ีผ่านมาและเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ชุมชนได้มีโอกาสแสดง
ความคิดเห็น และเย่ียมชมผลงาน เพ่ือเปิดบ้านรับนักเรียนใหม่ ในปีการศึกษา 2558และผู้มีส่วนร่วมได้
เสนอแนะเก่ียวกับการดำเนินงานต่างๆของโรงเรียนเป็นการแสดงถึงความภาคภูมิใจในผลงานทางวิชาการของ
นักเรียน ครูที่จัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาบรรลุตามเป้าหมาย พร้อมท้ังยังเป็นการเผยแพร่ผลงานทาง
วิชาการให้ผ้ปู กครอง ชุมชนได้รับรู้ข้อมูลขา่ วสารท่ีถูกต้องของสถานศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับการพฒั นาโรงเรยี นสู่
มาตรฐานการจัดการศึกษาทั้งนี้ยังรองรับการประเมินความย่ังยืนคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในฝัน เพ่ือคง
สภาพความเป็นโรงเรียนในฝันท่ีมุ่งจัดการศึกษาให้มีคุณภาพได้มาตรฐานทางการศึกษาของชาติและสอดคล้อง
กับความต้องการของท้องถ่ิน เป็นท่ียอมรับของนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับ
ชุมชนและสังคม มกี ารบริหารจัดการท่มี ีประสทิ ธิภาพ
ดังน้นั กล่มุ งานวชิ าการ โรงเรียนบ้านเสดจ็ พทิ ยาคม จงึ ไดจ้ ัดกิจกรรม Bansadet open house
“School of learning” ประจำปกี ารศึกษา 2565 และสรุปผลการดำเนินงานโครงการพฒั นาครูและโรงเรยี น
เพ่ือยกระดับคณุ ภาพการศึกษาอยา่ งต่อเนอื่ ง (TSQP) ในสงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา
สุราษฎรธ์ านี ชมุ พร ข้นึ

2

วัตถุประสงค์
1. เพ่อื สง่ เสรมิ นักเรยี นใหม้ ีทักษะในการทำโครงงาน และสามารถคิด วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ได้
2. เพื่อสง่ เสรมิ นักเรยี นใหร้ ้จู ักการใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ ในการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน
3. เพื่อสง่ เสริมนักเรยี นให้รูจ้ กั การนำเสนอผลงานตนเอง กล้าแสดงออกในส่ิงท่ีถูกตอ้ ง
4. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนได้นำประสบการณ์ตรงไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดำเนนิ ชีวติ และพฒั นาตนเองอย่าง

ตอ่ เนื่อง
5. เพือ่ การเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการของนักเรยี น ครู และบุคลากรทางการศึกษา ในความสำเร็จ

ดา้ นการจดั การเรียนการสอนและการบริหารจดั การต่อสาธารณชน
6. เพ่ือสรุปผลการดำเนินงานโครงการพฒั นาครแู ละโรงเรียนเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาอยา่ ง
ต่อเนื่อง (TSQP) ใน

ขอบเขตของการดำเนนิ งาน
1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
ประชากรท่ใี ช้ ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนบ้านเสด็จพทิ ยาคม จำนวน 176 คน ครแู ละบุคลากร

โรงเรียนบ้านเสดจ็ พทิ ยาคม 20 คน ครูและนักเรียนโรงเรียนบา้ นทบั ใหม่ จำนวน 15 คน กลมุ่ เครอ่ื งแกง
สมนุ ไพรบา้ นราษฎร์พัฒนา หมู่ 11 จำนวน 20 คน และครูและนักเรียนโรงเรยี นในเครือขา่ ย จำนวน 20 คน
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

กลมุ่ ตวั อยา่ งท่ีใช้ ไดแ้ ก่ นกั เรยี นโรงเรยี นบ้านเสดจ็ พทิ ยาคม จำนวน 176 คน ครแู ละ
บคุ ลากรโรงเรียนบ้านเสด็จพิทยาคม 20 คน ครแู ละนักเรียนโรงเรียนบา้ นทบั ใหม่ จำนวน 15 คน กลุ่ม
เคร่ืองแกงสมุนไพรบ้านราษฎร์พัฒนา หมู่ 11 จำนวน 20 คน และครูและนักเรยี นโรงเรียนในเครือขา่ ย จำนวน
20 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

2. สถานทใี่ นการจดั กิจกรรม
โรงเรยี นบา้ นเสดจ็ พิทยาคม อำเภอบา้ นเสดจ็ จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี

3. ระยะเวลาที่ใช้ในจดั กิจกรรม
วันที่ 5 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2565

3

นยิ ามศพั ท์เฉพาะ
1. กิจกรรม หมายถงึ การปฏบิ ัติการอย่างใดอย่างหนงึ่ เพื่อการเรียนรู้
2. กิจกรรม “ช่วงปัญญา เปิดฟา้ เวยี งแก่น” หมายถึง กิจกรรมการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการของ
นักเรยี น ครู และบุคลากรทางการศึกษา ในความสำเร็จด้านการจดั การเรยี นการสอนและการบริหารจัดการ
ตลอดจนสรปุ กจิ กรรมและโครงการเดน่ ที่ประสบผลสำเรจ็ ในรอบปกี ารศกึ ษาทผ่ี า่ นมาทเี่ ปดิ โอกาสให้ผูป้ กครอง
ชุมชนได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็น และเยี่ยมชมผลงาน
3. การประเมนิ ความยั่งยืนโรงเรียนในฝัน หมายถึง การประเมินเพ่ือคงสภาพความเป็นโรงเรยี นในฝนั
ที่มุ่งจดั การศึกษาให้มีคุณภาพได้มาตรฐานทางการศกึ ษาของชาตแิ ละสอดคลอ้ งกับความต้องการของท้องถิ่น
เป็นทยี่ อมรบั ของนกั เรียน ผู้ปกครองและชุมชน เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ตลอดชีวติ ใหก้ ับชมุ ชนและสังคม มีการบรหิ าร
จดั การท่ีมปี ระสิทธภิ าพ

ประโยชน์ทไี่ ด้รบั จากการจดั กจิ กรรม
1. นักเรยี นและครไู ด้มโี อกาสได้แสดงความร้คู วามสามารถ
2. นักเรยี นและครเู กดิ ความภาคภูมิใจ
3. ชุมชนให้การยอมรบั โรงเรยี นและให้การสนบั สนุน
4. รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาครแู ละโรงเรียนเพ่อื ยกระดับคุณภาพการศึกษา

อย่างต่อเนือ่ ง (TSQP) ใน

4

บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ียวข้อง
กิจกรรม Bansadet open house “School of learning” ปกี ารศึกษา 2565 และสรปุ ผลการ
ดำเนินงานโครงการพัฒนาครูและโรงเรียนเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง (TSQP) ใน ในสงั กัด
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาสรุ าษฎร์ธานี ชุมพร ผจู้ ดั กิจกรรมได้รวบรวมแนวคดิ ทฤษฎีและหลักการ
ต่างๆจากเอกสารทีเ่ กี่ยวข้องดังตอ่ ไปน้ี
1. นทิ รรศการ
1.1 ความหมายของนิทรรศการ
1.2 ประเภทของนิทรรศการ
2. การนำเสนอผลงาน
2.1 ความหมายของการนำเสนอผลงาน
2.2 ลกั ษณะและรปู แบบการนำเสนอผลงาน
2.3 ประเภทของสื่อการนำเสนอผลงาน

นิทรรศการ
ความหมายของนิทรรศการ
นทิ รรศการ (Exhibitions) ตรงกบั ภาษาองั กฤษวา่ "Exhibitions" มีความหมายใกล้เคียงกับคำวา่

"Display" ซึง่ แปลวา่ "การจัดแสดง"ความหมายของนิทรรศการ มนี ักเทคโนโลยีการศึกษาหลายทา่ นได้ให้
ความหมายของนิทรรศการในแง่มมุ ต่างๆ ดังน้ี

เปร่ืองกุมุท (2552:25) ได้ให้ความหมายของนิทรรศการว่าเป็นเครอื่ งมือส่ือสารทีม่ ีบทบาทและอทิ ธพิ ล
มากขนึ้ ทุกขณะ ท้ังในดา้ น การศึกษาวทิ ยาศาสตร์ แพทย์ ธุรกจิ สงั คม การเมอื ง การอุตสาหกรรม และอืน่ ๆ
นอกจากนีย้ ังใหค้ วามหมายในทศั นะของผจู้ ดั ว่าเป็นวธิ ีอันทรงประสทิ ธภิ าพในการกระตนุ้ ให้ผคู้ นสนใจในวตั ถุ
และแนวความคดิ ความอ่านเป็นวธิ ีทส่ี ามารถเขา้ ถึงประชาชนได้ ในเม่อื วิธกี าร อย่างอน่ื ไม่สามารถทำได้ทั้งน้ี
เพราะเสนห่ ์อันเกิดจากผลงานการรวบรวมสรรพสิง่ ทง้ั หลาย การคดั เลอื กการจดั แสดงที่ดี และได้ให้ความหมาย
ของนิทรรศการในทศั นะของผู้ชมหรือประชาชนว่านิทรรศการ หมายถงึ โอกาสของ ความเห็นความช่ืนชมและ
การเรยี นรบู้ างอยา่ งเกินปกติวิสยั ทจ่ี ะได้มโี อกาสเช่นนนั้ เสน่ห์ของนิทรรศการอยทู่ ่ีความพิเศษ หรือโอกาสทหี่ า
ยาก หรือหาชมไดเ้ ปน็ บางคร้ังบางคราวเทา่ น้นั

5

ธีรศกั ด์ิ อัครบวร (2550:56) ไดใ้ ห้ความหมายของนิทรรศการว่า นทิ รรศการ หมายถึงการวางแผนการ
ถา่ ยทอดความรู้ โดยใชโ้ สตทศั นวสั ดุ เครอื่ งมือโสตทัศนศึกษา และกจิ กรรมโสตทศั นศึกษา (A.V. Activities)
อยา่ งใดอย่างหนงึ่ หรือผสมผสานกัน อยา่ งมีระบบ เพอ่ื ใหผ้ ู้ชมได้รับความรู้ ความเขา้ ใจ ตลอดจนมุ่งชักจูง
ความคดิ ความสนใจ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงคท์ ี่ผ้จู ัด ได้กำหนดไว้

Melara, Shelley (1996)ได้กลา่ วถึงนิทรรศการวา่ นิทรรศการเป็นสื่อการเรียนการสอนท่ีให้
ประสบการณร์ ูปธรรมขั้นที่ 6 ของกรวย ประสบการณ์ (Cone of Experience) ท้ังนจ้ี ะตอ้ งเปน็ นิทรรศการทจ่ี ดั
แสดงอยา่ งมคี วามหมาย อาจจดั เป็นชดุ ของรปู ถา่ ย หรอื รูปถ่าย ผสมผสานกับแผนภูมิ และภาพโฆษณา บางคร้ัง
อาจจะมกี ารสาธิตหรอื ฉายภาพยนตรป์ ระกอบ แต่อยา่ งไรก็ตาม ทุก นทิ รรศการมลี ักษณะอยา่ งหน่ึงที่เหมือนกนั
คอื นิทรรศการเปน็ การขมวดความรคู้ วามสนใจของผู้อ่นื ให้มุ่งไปยงั วัสดุอปุ กรณ์ โดยการควบคมุ เง่ือนไข

จากความหมายต่างๆ สรุปได้วา่ นิทรรศการ คือรปู แบบหรือวธิ กี ารถ่ายทอดความรู้ โดยนำเอาวัสดุ
อปุ กรณห์ รือสื่อมาผสมผสานกนั และนำเสนออย่างเป็นระบบ เชน่ ภาพ ของจรงิ หนุ่ จำลอง เอกสาร
คำแนะนำ สไลด์ วดิ ที ัศน์ คอมพวิ เตอร์ ฯลฯ เพื่อกระตุ้นความสนใจและทำให้ผู้ดูเกิดความ เข้าใจในเนื้อหา
ของนิทรรศการได้รวดเรว็ ข้ึน อาจกลา่ วไดว้ ่าเป็นการเรียนรทู้ ีใ่ กล้เคียงกับประสบการณ์ตรงโดยผ้ชู มสามารถรบั รู้
ไดจ้ ากประสาทสมั ผสั ทัง้ ห้า

ประเภทของนิทรรศการ
ธีรศกั ด์ิ อัครบวร (2550:74-80) แบง่ ประเภทนิทรรศการตามลักษณะของวิธกี ารจดั แบง่ ได้เปน็ 3
ประเภทคือ

1. นทิ รรศการถาวร (Permanent Exhibition) หมายถงึ นิทรรศการที่จัดแสดงเร่ืองราวเดิมๆ
ไม่เปลีย่ นแปลง เป็นทรี่ วบรวมสงิ่ แสดงของท่ีใช้จัดอาจจะเปน็ ของจรงิ หุ่นจำลอง รปู ภาพ ฯลฯ ท่ีนำมาแสดงนน้ั
ไม่มีการเปลีย่ นแปลง รปู แบบ และวธิ กี าร จดั อยู่ในอาคารหรอื สถานทีเ่ ดิมไม่เปลยี่ นแปลง ผชู้ มสามารถเขา้ มาชม
ไดต้ ลอดเวลา เพื่อศึกษาหรือหาความรู้/เพลดิ เพลนิ เชน่ พิพธิ ภณั ฑ์วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี พิพธิ ภณั ฑสถาน
แห่งชาติ มจี ดุ ประสงค์เพ่ือการศึกษาทั้งทางประวตั ศิ าสตร์ศิลป์ โบราณคดี ตลอดจนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
นอกจากนยี้ ังมีพพิ ธิ ภัณฑห์ ุ่นขี้ผ้งึ ไทย เปน็ ต้น

2. นทิ รรศการชวั่ คราว (Non Permanent Exhibition)คือการจดั นทิ รรศการเปน็ ครงั้ คราวใน
วาระโอกาสหรือเทศกาลพเิ ศษเพ่ือแสดงความรู้ใหมๆ่ แผนงานพเิ ศษ วาระในวันสำคัญต่างๆ ของหน่วยงาน
นิทรรศการช่วั คราวอาจจัดแสดงในสถานที่เดิมเปน็ ประจำ แตส่ อ่ื ท่นี ำมาแสดงชดุ นั้นๆ จัดอยไู่ มน่ านอาจเปน็
สัปดาห์หรือสองสามเดือนกเ็ ปลย่ี นใหม่ หรอื เลกิ ไป

6

3. นิทรรศการเคล่ือนที่หมายถึง นิทรรศการท่ีจัดขน้ึ เปน็ ชุดสำเร็จ เพ่ือแสดงในหลายๆ สถานที่
หมุนเวียนกันไป รูปแบบและสอ่ื หลักท่นี ำมาแสดง เปน็ แบบเดิมวัตถุประสงค์ในการจดั เป็นแบบเดิม อาจมสี ่งิ ของ
หรอื การแสดงประกอบเพ่มิ เติมในบางครั้ง สว่ นสถานท่จี ดั ก็หมุนเวียน เปล่ยี นไปเรอื่ ยอาจเคลือ่ นท่ีไปต่างจงั หวดั
หรอื จงั หวดั เดยี วกนั แต่เปลี่ยนชุมชนทนี่ ำไปแสดง เช่นนทิ รรศการศลิ ปะ นทิ รรศการตราไปรษณียากร ในการ
เคลือ่ นท่ีกจ็ ะรว่ มกับหน่วยงานในท้องถ่ินซ่ึงหนว่ ยงานหลกั ก็คอื หน่วยงานในสังกัดสำนักงานไปรษณียโ์ ทรเลข
จังหวดั ที่ไปจัด

ประเภทของนิทรรศการแบ่งตามจุดประสงค์การจดั มี 6 ประเภท คือ
1. นิทรรศการทางการศึกษาเป็นนิทรรศการท่ีมุ่งจดั เพ่ือการศึกษาและใหข้ ้อมูลความรู้ทางวชิ าการ

แก่ผู้ชมโดยเฉพาะ อาจจดั เป็นเฉพาะเรอื่ งหรือจดั ในแบบความรู้กวา้ งๆ นทิ รรศการโดยทั่วไปแทบทุกประเภทจะ
มจี ดุ ประสงคเ์ พื่อการศึกษาแฝงอยู่ด้วยเสมอ เชน่ นิทรรศการสัปดาหว์ ันวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี
เพ่อื เผยแพร่วชิ าการด้านวิทยาศาสตร์และความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี นทิ รรศการการศึกษา จดั ได้ทุกสาขาวชิ า
ไม่วา่ จะเป็นวิทยาการทางดา้ น มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปศาสตร์ตลอดจนวิทยาศาสตร์ประยุกต์
สาขาวชิ าตา่ งๆ

2. นทิ รรศการทางการตลาดเปน็ นิทรรศการอีกแบบหนงึ่ ทจี่ ดั กนั แพรห่ ลายพอๆกับนิทรรศการ
ทางการศึกษาๆ ประเภทนี้อาจจัดในรม่ หรือกลางแจ้งกไ็ ดแ้ ต่เป็นนิทรรศการแบบช่ัวคราวเท่านัน้ จุดประสงค์เพ่ือ
การขายสินค้าและการพาณิชย์ นทิ รรศการทางการตลาดท่ีใหญท่ ีส่ ุด คอื งานมหกรรมการแสดงสินคา้ นานาชาติ
(Thailand Expo) ซง่ึ หมุนเวียนจดั ในประเทศตา่ งๆ ท่วั โลก หา้ งสรรพสินค้าหรือศูนย์การค้าใหญ่ๆ ก็มีการจัด
นทิ รรศการทางการตลาดกันตลอดปีเพื่อดึงดดู ลูกคา้ ใหเ้ ข้ามาซอ้ื สินคา้ นั้น ซ่ึงมกี ารจัดกันอยูเ่ สมอโดยทั่วไปจะจัด
ในช่วงเทศกาลตา่ งๆ

3. นทิ รรศการทางการเมืองในหลายๆ ประเทศทางดา้ นการเมืองและรัฐศาสตร์โดยเฉพาะประเทศ
กลมุ่ สังคมนิยม จะใช้ พิพิธภณั ฑเ์ ปน็ เครื่องมอื ปลุกระดมสำนกึ ทางการเมืองของประชาชน เชน่ พิพิธภัณฑ์แสดง
รอ่ งรอยการฆา่ ลา้ งเผา่ พันธุ์ ท่ีจดั แสดงโดยรฐั บาลกัมพชู าประชาธิปไตย เพ่ือปลุกสำนึกของเยาวชนรนุ่ ใหม่ ให้มี
ความรู้สึกรว่ มกับบรรพบุรษุ รุ่นกอ่ น ซ่งึ ถูกกดข่ีทำทารุณกรรม สำหรบั ประเทศไทย นิสิตนักศกึ ษาใน
สถาบันอดุ มศกึ ษาจะจัดนิทรรศการประเภทนี้กนั เป็นประจำ

4. นิทรรศการศิลปวัฒนธรรมและส่งิ แวดล้อมนทิ รรศการทางศิลปะรวมถงึ ศิลปะแขนงอนื่ ๆ ดว้ ย
เช่น อญั มณี เคร่ืองแก้ว งานศิลปหัตถกรรมตา่ งๆ นทิ รรศการวฒั นธรรมนอกจากการจดั แบบถาวรแลว้ กม็ ีการ
จดั นทิ รรศการเก่ยี วกบั การส่งเสริมอนุรักษว์ ฒั นธรรมตา่ งๆ ด้วย นทิ รรศการทางส่ิงแวดล้อม ปจั จบุ ันมหี น่วยงาน

7

สมาคมมลู นธิ ิ สถาบันทางการศกึ ษาทกุ ระดบั จดั กันแพร่หลายโดยเฉพาะการรณรงคเ์ กีย่ วกับการนำมาใชใ้ หม่
นทิ รรศการทางศิลปะที่เด่นดังและดเี ยยี่ มท่ีดที ี่สุดของไทยคือ "นทิ รรศการศิลปาชีพ"ของมูลนิธสิ ่งเสรมิ ศิลปาชีพฯ

5. นทิ รรศการทางการทหารนิทรรศการทางการทหารโดยทวั่ ไปนยิ มจัดแบบถาวรจัดแสดงเพ่ือเปน็
อนสุ รณส์ ถาน และเกยี รติประวตั กิ ารสู้รบของท้ังสามเหล่าทัพ

6. นิทรรศการเพอ่ื การประชาสมั พันธอ์ งค์กรนทิ รรศการตลาดนัดหลกั สูตรโดยคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดขึ้นเพื่อประชาสัมพนั ธ์ใหน้ กั เรียนชัน้ มัธยมปลาย ได้รู้ถงึ หลักสูตรทเี่ ปดิ สอน
อย่ใู นสถาบนั อุดมศึกษาต่างๆ ท่วั ประเทศ และจดั ตามมหาวิทยาลัยในส่วนกลางและสว่ นภูมภิ าค

การนำเสนอผลงาน
ความหมายของคำว่า การนำเสนอผลงาน
ประวีน ณ นคร (2550:37) กล่าวว่า การนำเสนอผลงาน คอื กระบวนการ วธิ กี าร เพื่อใหร้ ู้ ให้

ทราบ ใหเ้ ข้าใจ ในกจิ กรรมขององค์กร ของสถาบัน ของหนว่ ยงาน ไดอ้ ยา่ งชัดเจนการถ่ายทอดเน้ือหา สาระท่ี
ผสมผสานกันระหว่าง ศลิ ปะการพดู กบั การแสดงข้อมูล ในรปู แบบต่างๆ ผ่านสื่อและอุปกรณไ์ ดอ้ ย่างเหมาะสม
ลกั ษณะและรปู แบบการนำเสนอผลงาน

ประวนี ณ นคร (2550:41)ได้กำหนดรูปแบบการนำเสนอผลงาน (ที่นิยมใช้) มี 3 วิธีการ คือ
1. มี ผ้นู ำเสนอ และใช้ เอกสารประกอบ(Handout)เปน็ สว่ นรว่ มในการนำเสนอ
2. มี ผู้นำเสนอ ใช้ วัสดุ-อุปกรณ์เคร่ืองฉาย เป็นส่ือ และมี เอกสารประกอบ เปน็ สว่ นรว่ ม
3. จดั เปน็ Display ในรูปของนทิ รรศการ ทใ่ี ช้ Post line เป็นเส้นนำทาง และ(อาจ)มี เอกสาร
ประกอบ เป็นส่วนร่วม
ประเภทของสื่อนำเสนอผลงาน
ประวีน ณ นคร (2550:45)ได้จำแนกประเภทส่ือการนำเสนอผลงานดงั น้ี
1.สอ่ื เพื่อการนำเสนอโครงการ(กิจกรรม)
2. ส่ือเพอื่ สรุปโครงการ(กจิ กรรม)
3. สื่อเพือ่ การประชาสัมพนั ธ์
4. สื่อประกอบการบรรยาย

8

บทที่ 3
วธิ ดี ำเนนิ งาน

กิจกรรม Bansadet open house “School of learning” ปีการศึกษา 2565 และสรปุ ผลการ
ดำเนินงานโครงการพัฒนาครูและโรงเรียนเพ่ือยกระดบั คุณภาพการศึกษาอยา่ งต่อเน่ือง (TSQP) ปกี ารศกึ ษา
2565 ในสังกดั สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาสรุ าษฎรธ์ านี ชมุ พร ผู้จดั กจิ กรรม ไดก้ ำหนด
วิธีดำเนินการดังต่อไปนี้

1. ประชากร
2. เครื่องมือที่ใช้
3. ขั้นตอนการดำเนินงาน
4. การจดั กระทำข้อมูลและการวเิ คราะหข์ ้อมลู
5. สถิตทิ ใ่ี ช้

ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
ประชากรทใี่ ช้ ได้แก่ นักเรียนโรงเรยี นบ้านเสด็จพิทยาคม จำนวน 176 คน ครแู ละบุคลากร

โรงเรียนบา้ นเสด็จพิทยาคม 20 คน ครูและนักเรยี นโรงเรียนบ้านทบั ใหม่ จำนวน 15 คน กลุม่ เคร่ืองแกง
สมนุ ไพรบา้ นราษฎร์พัฒนา หมู่ 11 จำนวน 20 คน และครูและนักเรยี นโรงเรยี นในเครือข่าย จำนวน 20 คน
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

กลมุ่ ตัวอยา่ งที่ใช้ ไดแ้ ก่ นักเรยี นโรงเรียนบ้านเสด็จพทิ ยาคม จำนวน 176 คน ครแู ละ
บคุ ลากรโรงเรียนบ้านเสดจ็ พิทยาคม 20 คน ครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านทบั ใหม่ จำนวน 15 คน กลมุ่
เครอื่ งแกงสมนุ ไพรบ้านราษฎรพ์ ฒั นา หมู่ 11 จำนวน 20 คน และครแู ละนกั เรียนโรงเรยี นในเครือขา่ ย จำนวน
20 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

2. สถานทใี่ นการจดั กิจกรรม
โรงเรยี นบ้านเสด็จพทิ ยาคม อำเภอบ้านเสด็จ จงั หวดั สุราษฎร์ธานี

3. ระยะเวลาท่ีใชใ้ นจัดกิจกรรม
วันท่ี 5 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2565

9

เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้
1. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจที่มตี ่อกจิ กรรม Bansadet open house “School of learning” ปี
การศึกษา 2565

ขนั้ ตอนการดำเนินงาน

1. นำเสนอกจิ กรรมต่อผบู้ รหิ ารเพื่ออนมุ ัติการจดั กจิ กรรม

2. ประชุมคณะกรรมการจดั กจิ กรรมเพ่อื วางแผนกำหนดกรอบแนวทางการดำเนินงาน

3. จดั ทำค่มู ือ เอกสารการจัดกจิ กรรมและการเตรียมรบั การประเมิน ประกอบดว้ ย

- กจิ กรรมทจี่ ดั

- กำหนดการจดั กิจกรรมและการประเมนิ

- แผงผงั การจดั กิจกรรม

- รายละเอยี ดวัสดุ อุปกรณ์ ท่ีใช้ในกจิ กรรม

- แบบตอบรบั การเขา้ รว่ มงาน

- แบบลงทะเบียนการเข้าร่วมงาน

- คำสั่งแตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนินกิจกรรม

- แบบประเมินความพงึ พอใจท่ีมีต่อการจดั กจิ กรรม

4. ประชุมคณะครูทง้ั โรงเรยี นเพื่อช้ีแจง รายละเอียดการจดั กจิ กรรม บทบาทหน้าที่แต่ละคนที่

รับผดิ ชอบตามคู่มือการจัดกจิ กรรมท่ีแจกให้

5. ทำหนังสอื เชญิ โรงเรยี นประถมศึกษาเขา้ ร่วมกิจกรรม

- ทำหนงั สือเชญิ แขกผ้มู ีเกยี รติร่วมพธิ เี ปิดงาน

- แตล่ ะฝ่ายเตรียมการจัดกจิ กรรม

6. จดั สถานท่ี

7. จดั ซื้อ วัสดุ อุปกรณ์ งบประมาณท่ใี ชท้ ้งั หมด 82,353 บาท

คา่ วัดสดุอปุ กรณ์ในการทำนวัตกรรมนกั เรยี นและจดั สถานท่ี 50,823 บาท

ค่าเชา่ เหมา โตะ๊ เก้าอี้ เต็นท์ เครื่องเสียง 14,000 บาท

ค่าดอกไมผ้ า้ จดั ซมุ้ ถ่ายภาพ เวที และบรรยากาศในงาน 3,750 บาท

ชดุ การแสดงพิธีเปิด 4,980 บาท

อาหารกลางวันนักเรียน จำนวน 176 คน คนละ 50 บาท 8,800 บาท

รวม 82,353 บาท

10

8. จัดเตรียมกิจกรรม
- จัดกจิ กรรมตามวันและเวลาที่กำหนด
- ประเมิน สรปุ ผลการจดั กจิ กรรม

การจัดกระทำข้อมลู และการวิเคราะห์ขอ้ มูล
1. นำแบบประเมนิ ความพึงพอใจท่ีมีต่อกิจกรรม Bansadet open house “School of

learning” ปกี ารศึกษา 2565 ซ่ึงเป็นมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) มาตรวจสอบความสมบูรณ์ของ
คำตอบ แล้วตรวจให้คะแนน โดยกำหนดค่า 5 ระดับ ซ่งึ ได้กำหนดค่าคะแนนไวด้ ังน้ี

5 หมายถงึ มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมากทสี่ ดุ
4 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก
3 หมายถึง มคี วามพึงพอใจอยูใ่ นระดบั ปานกลาง
2 หมายถึง มีความพงึ พอใจอยู่ในระดบั น้อย
1 หมายถึง มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั น้อยที่สุด

2.นำแบบประเมนิ ความพงึ พอใจที่มตี ่อกจิ กรรม Bansadet open house “School of learning” ปี
การศกึ ษา 2565 แบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) โดยกำหนดค่าออกเปน็ 5 ระดบั มาหา
คา่ เฉลย่ี และค่าความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) นำค่าเฉล่ีย ทไี่ ดม้ าเปรียบกับเกณฑ์ เพื่อพจิ ารณาความพึงพอใจ
ทีม่ ีต่อกจิ กรรม Bansadet open house “School of learning” ปกี ารศึกษา 2556 ดังน้ี

คา่ เฉลีย่ 4.50 - 5.00 หมายถงึ มีความพึงพอใจมากทส่ี ดุ
คา่ เฉลยี่ 3.50 - 4.49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจมาก
ค่าเฉล่ีย 2.50 - 3.49 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจปานกลาง
คา่ เฉลย่ี 1.50 - 2.49 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย
ค่าเฉลีย่ 1.00 - 1.49 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจน้อยที่สุด

11

บทท่ี 4

ผลการดำเนนิ งาน

กจิ กรรม Bansadet open house “School of learning” ปีการศึกษา 2565 และและสรปุ ผลการ

ดำเนินงานโครงการพฒั นาครูและโรงเรยี นเพื่อยกระดบั คุณภาพการศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง (TSQP) สังกัดสำนกั งาน

เขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาสรุ าษฎรธ์ านี ชมุ พร ผ้จู ดั กิจกรรมเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู ดังน้ี

ตารางที่ 3 ความพงึ พอใจที่มีต่อกจิ กรรม Bansadet Open House “School of learning”

รายการประเมิน S.D ระดับความพึงพอใจ

1. ดา้ นสภาพทั่วไปในการจัดกิจกรรม

1.1 ระยะเวลาของการจดั กจิ กรรม 4.7 0.55 มากที่สุด

1.2 ความเหมาะสมของสถานท่ี 4.2 0.47 มาก

1.3 การประชาสัมพนั ธ์ 4.15 0.37 มาก

1.4 ลำดับขัน้ ตอนพธิ ีเปิด 3.45 0.52 ปานกลาง

1.5 การประสานงานของคณะกรรมการจัดกจิ กรรม 4.25 0.63 มาก

1.6 การตอ้ นรบั และอำนวยความสะดวก 4.40 0.61 มาก

โดยเฉลี่ย 4.25 0.42 มาก

2. ด้านแสดงผลงานครแู ละนกั เรยี น

2.1 การจดั ตกแต่งสถานทจี่ ัดแสดงผลงาน 4.23 0.45 มาก

2.2 ผลงานทีน่ ำเสนอน่าสนใจ 4.20 0.37 มาก

2.3 ความหลากหลายของผลงาน 4.30 0.27 มาก

2.4 การนำเสนอผลงานของเจ้าของผลงาน 4.40 0.42 มาก

2.5 ประโยชน์ทไ่ี ด้จากการเย่ียมชมผลงาน 4.25 0.53 มาก

โดยเฉลีย่ 4.32 0.44 มาก

3. ด้านการนำเสนอโครงงานของนักเรียนชัน้ ม.1-6

3.1 นวัตกรรมชิ้นงานมีความหลากหลาย 4.27 0.25 มาก

3.2 รปู แบบการนำเสนอโครงงานนา่ สนใจ 4.37 0.31 มาก

3.3 การนำเสนอโครงงานของเจ้าของโครงงาน 3.40 0.49 ปานกลาง

3.4 การนำความรจู้ ากโครงงานไปประยุกตใ์ ช้ 4.29 0.35 มาก

โดยเฉล่ีย 4.06 0.25 มาก

12

รายการประเมนิ S.D ระดบั ความพึงพอใจ
4. ด้านสง่ิ ทไ่ี ด้รับจากการร่วมกิจกรรม
4.1 การนำความร้ทู ่ีไดร้ ับไปปรับใช้ในการเรยี นการ 4.40 0.54 มาก
สอนและใช้ในชีวติ ประจำวัน
4.2 ความร้สู กึ ภาคภูมิในและยนิ ดีทไี่ ดร้ ่วมกจิ กรรม 4.95 032 มากท่สี ุด
4.3 ควรให้มกี ารจัดกจริ รมนี้ครั้งตอ่ ไป 4.90 0.25 มากท่ีสุด
4.86 0.47 มากทสี่ ุด
โดยเฉล่ีย 4.45 0.54
โดยเฉลย่ี ภาพรวมทงั้ หมด มาก

จากตาราง ความพึงพอใจที่มีตอ่ กิจกรรม Bansadet Open House “School of Learning” ปีการศึกษา
2565 โดยภาพรวมมีระดบั ความพึงพอใจมาก ( = 4.45 ) เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายดา้ นพบว่า

ด้านสภาพทั่วไปในการจดั กจิ กรรม มรี ะดบั ความพงึ พอใจเฉลยี่ มาก ( = 4.25 )โดยมีความพงึ พอใจ
มากที่สดุ 1 รายการคือ ระยะเวลาของการจัดกิจกรรม( = 4.70 )พงึ พอใจมาก 4 รายการคือการตอ้ นรับและ
อำนวยความสะดวก( = 4.40 ) การประสานงานของคณะกรรมการจดั กิจก(= 4.25 ) ความเหมาะสมของสถานท่ี
( = 4.20 )การประชาสัมพันธ์ ( = 4.15 )และพึงพอใจปานกลาง 1รายการ คอื ลำดับข้นั ตอนพิธีเปดิ ( = 3.45 )
ตามลำดับ

ด้านแสดงผลงานครูและนักเรียนมีระดบั ความพงึ พอใจเฉลีย่ มาก ( = 4.32 )โดยมีความพึงพอใจ
มากทุกรายการคือ การนำเสนอผลงานของเจา้ ของผลงาน( = 4.40 ) ความหลากหลายของผลงาน ( = 4.30 )
ประโยชน์ทไ่ี ดจ้ ากการเย่ยี มชมผลงาน( = 4.25 ) การจดั ตกแต่งสถานทีจ่ ัดแสดงผลงาน ( = 4.23 ) ผลงานที่
นำเสนอน่าสนใจ( = 4.20 ) ตามลำดบั

ดา้ นการนำเสนอนวัตกรรม ชนิ้ งาน ของนักเรียนชนั้ ม.1-6 มรี ะดบั ความพึงพอใจเฉล่ยี มาก ( =
4.06 ) โดยมคี วามพึงพอใจมาก 3รายการคือ รปู แบบการนำเสนอโครงงานน่าสนใจ( = 4.35) การนำความรู้
จากโครงงานไปประยุกต์ใช(้ = 4.29 ) โครงงานมีความหลากหลาย( = 4.27 )และพงึ พอใจปานกลาง 1 รายการ
คือการนำเสนอโครงงานของเจา้ ของโครงงาน( = 3.40 ) ตามลำดับ

ดา้ นสิ่งท่ไี ดร้ บั จากการรว่ มกิจกรรมมรี ะดบั ความพึงพอใจเฉลยี่ มากที่สุด ( = 4.86 )โดยมีความพงึ
พอใจมากทีส่ ดุ 2รายการคือ ความรู้สึกภาคภูมิใจและยนิ ดีที่ได้ร่วมกิจกรรม( = 4.95) ควรใหม้ กี ารจดั กจิ กรรมน้ี
ครงั้ ต่อไป ( = 4.90 ) และพงึ พอใจมาก1 รายการคือการนำความรทู้ ี่ไดร้ ับไปปรับใช้ในการเรียนการสอนและใช้
ในชีวิตประจำวนั ( = 4.40 ) ตามลำดับ

13

บทท่ี 5
สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ

กจิ กรรม “ขว่ งปญั ญา เปิดฟา้ เวยี งแกน่ ” ปีการศึกษา 2557 ผู้จัดกจิ กรรมสามารถสรุปผลการดำเนินงานได้ดังน้ี
1. เพื่อสง่ เสริมนกั เรยี นให้มีทกั ษะในการทำโครงงาน และสามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ได้
2. เพ่อื สง่ เสรมิ นักเรยี นใหร้ ้จู ักการใชเ้ วลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ ในการสร้างสรรค์ผลงาน
3. เพื่อสง่ เสริมนักเรียนใหร้ ้จู กั การนำเสนอผลงานตนเอง กล้าแสดงออกในส่ิงที่ถูกตอ้ ง
4. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนได้นำประสบการณ์ตรงไปประยกุ ตใ์ ช้ในการดำเนนิ ชวี ติ และพฒั นาตนเองอย่าง

ตอ่ เน่อื ง
5. เพื่อการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการของนักเรียน ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ในความสำเร็จ

ด้านการจัดการเรียนการสอนและการบรหิ ารจัดการต่อสาธารณชน
6. เพื่อสรปุ ผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาครูและโรงเรียนเพอื่ ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาอย่าง
ตอ่ เน่ือง (TSQP) ใน

สรปุ ผลการดำเนินงาน
ความพึงพอใจทม่ี ีต่อกจิ กรรม Bansadet Open House “School of Learning” ปีการศึกษา

2565 โดยภาพรวมมีระดับความพงึ พอใจมาก เมอื่ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า
ด้านสภาพทว่ั ไปในการจัดกิจกรรม มรี ะดับความพึงพอใจเฉลีย่ มาก โดยมคี วามพึงพอใจมากที่สุด

1 รายการคือ ระยะเวลาของการจดั กจิ กรรมพึงพอใจมาก 4 รายการคือการต้อนรับและอำนวยความสะดวก การ
ประสานงานของคณะกรรมการจัดกิจกรรมความเหมาะสมของสถานทีก่ ารประชาสมั พนั ธ์ และพึงพอใจปาน
กลาง 1 รายการ คือ ลำดับขั้นตอนพธิ เี ปิด ตามลำดับ

ดา้ นแสดงผลงานครแู ละนกั เรียน มรี ะดับความพึงพอใจเฉลี่ยมาก โดยมคี วามพึงพอใจมากทุก
รายการคือ การนำเสนอผลงานของเจ้าของผลงานความหลากหลายของผลงาน ประโยชน์ทไี่ ดจ้ ากการเย่ยี มชม
ผลงานการจดั ตกแต่งสถานที่จดั แสดงผลงาน ผลงานทน่ี ำเสนอนา่ สนใจตามลำดบั

ด้านการนำเสนอนวตั กรรม ช้ินงานของนักเรียนชั้น ม.1-6 มรี ะดับความพงึ พอใจเฉลย่ี มากโดยมี
ความพงึ พอใจมาก 3 รายการคอื รูปแบบการนำเสนอโครงงานน่าสนใจ การนำความร้จู ากโครงงานไป
ประยุกตใ์ ช้ โครงงานมีความหลากหลายและพงึ พอใจปานกลาง 1 รายการคอื การนำเสนอโครงงานของเจา้ ของ
โครงงาน ตามลำดับ

14

ดา้ นสิง่ ที่ได้รับจากการร่วมกจิ กรรมมรี ะดบั ความพงึ พอใจเฉลี่ยมากที่สุด โดยมีความพงึ พอใจมาก
ท่ีสดุ 2 รายการคือ ความรสู้ กึ ภาคภูมิใจและยินดีท่ไี ด้ร่วมกิจกรรมควรให้มีการจัดกิจกรรมน้ีครัง้ ต่อไป และพึง
พอใจมาก 1 รายการคือการนำความรู้ที่ไดร้ บั ไปปรบั ใช้ในการเรยี นการสอนและใชใ้ นชีวิตประจำวัน ตามลำดบั

ข้อเสนอแนะ
1.ควรจดั กจิ กรรมอยา่ งต่อเนอ่ื งทกุ ๆปี
2. การประสานงานของแตล่ ะฝา่ ยงานควรให้ชดั เจนมากกว่าน้ี

15

ภาคผนวก

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

บรรณานกุ รม

กระทรวงศกึ ษาธิการ. พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติพทุ ธศกั ราช 2542 แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 3).
กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ครุ สุ ภาลาดพร้าว, 2554.

ธีรศักด์ิอัครบวร. ความเปน็ ครไู ทย. กรุงเทพฯ : ก.พลทพิ ย์, 2550 .
เปร่ืองกุมุท.เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการพฒั นาทรพั ยากรมนุษยด์ ว้ ย การศึกษาเลา่ เรียน.

กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , 2552.
ประวีน ณ นคร. “เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทางการศกึ ษา”. กรงุ เทพมหานคร: จฬุ าลงกรณ์

มหาวิทยาลัย, 2550.

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด