สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี หมายถึง

 ���. �آ� ʧڦ��� ����ڤ�.

        ������������§�ͧ���� ����Դ�آ.

        ��. �. ��/��. ��. �Ե�. ��/���. ͧ�. �ʡ. ��/��.

���. ���ڤҹ� �� ���.

        �������âͧ����������§�ѹ ����Դ�آ.

        ��. �. ��/��.

���. ʾ���� ʧڦ�ٵҹ� ����ڤ� �رڲ��Ҹԡ�.

        ������������§�ͧ�ǧ����������� �ѧ������ԭ��������.

        �. �.

�֧�֡�Ҥ������Ѥ�� , �������Ѥ�չ�� ��ҹ������������ ������ԭ���� , ����Թ������Ѥ�� �������㹸��� ��������Ҵ�ҡ�����ѹ����ҡ�¤�

���ҷ� ��� ������ ����ҷ�ڨ ���
���ڤ� ʢ��� �˶ ���� �طڸҹ���ʹ�

��ҹ������¨���繤������ҷ�¤�������� ��� ����������ҷ�¤�����ʹ������� �繼���������§ �դ�����йջ�й���ѹ�Դ ����繾�оط�ҹ���ʹ�

ตามพระพุทธดำรัสนี้ “ความสามัคคีแห่งหมู่” ณ ที่นี้หมายถึง ความปรองดองสมานฉันท์ พร้อมเพรียงกันแห่งหมู่คณะ ในการดำเนินชีวิต หรือ ในการทำกิจการงานโดยชอบธรรมร่วมกัน ความสามัคคีแห่งหมู่คณะอย่างนี้แหละ ย่อมช่วยให้การดำเนินชีวิต หรือประกอบกิจการงานได้ถึงความสำเร็จ ความเจริญและสันติสุขได้เป็นอย่างดี

ความสามัคคีปรองดอง นั้นก็คือ การรู้จักประนีประนอมยอมกัน ไม่ทะเลาะวิวาทแก่งแย่งกัน รู้จักตกลงกันด้วย ไมตรีจิต

ส่วน ความสมานฉันท์ นั้นก็คือ ความร่วมใจกันเป็นอันหนึ่งอันเดียว กันแห่งหมู่คณะ ในการดำเนินชีวิตหรือในการทำกิจการงานโดยชอบธรรม ร่วมกัน ต้องเป็นการดำเนินชีวิต หรือกระทำกิจการงานร่วมกัน โดยชอบธรรม จึงจะถึงความเจริญและสันติสุขอย่างแท้จริงได้ แต่ถ้าร่วมกันทำกิจการงาน โดยทุจริต ผิดศีล ผิดธรรม ผิดกฎหมายของบ้านเมือง หรือผิดไปจากขนบ ธรรมเนียมประเพณีอันดีของสังคมหรือหมู่คณะ แม้จะกระทำการได้สำเร็จ แต่ก็จะไม่ได้รับผลเป็นความเจริญและสันติสุข และกลับจะนำหมู่คณะไปสู่ความเสื่อม หรือความหายนะ ให้ได้รับความทุกข์เดือดร้อนได้

พระพุทธดำรัสว่า “ความสามัคคีแห่งหมู่” นี้ พระพุทธองค์ทรง หมายเฉพาะ ความสามัคคีแห่งหมู่คณะในการดำเนินชีวิต หรือกระทำกิจการ โดยชอบธรรม คือ โดยสุจริตร่วมกันเท่านั้น จึงจะถึงความสันติสุขอย่างแท้จริงได้

สาธุชนพึงเห็นอานิสงส์ คือ คุณประโยชน์แห่งสามัคคีธรรม แล้วนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิตประจำวัน และในการประกอบกิจการงานร่วมกัน พึงสำเหนียกโทษของความขาดสามัคคีธรรม และโทษของการทะเลาะวิวาทแก่งแย่งชิงดีกัน อันเป็นเหตุให้เกิดความแตกแยกสามัคคีในหมู่คณะในสังคมน้อยใหญ่ทั้งปวง แล้วพึงพยายามระวัง/เลิกละมูลเหตุแห่งความวิวาท แก่งแย่ง แบ่งแยกให้แตกความสามัคคีนั้นเสีย แล้วพึงช่วยกันส่งเสริม ปลูกฝังความสามัคคีให้เกิดมีขึ้น ให้เจริญขึ้น และพยายามระวังรักษาความสามัคคีในหมู่คณะ ให้ดำรงคงอยู่อย่างมั่นคง ระวังอย่าให้เกิดความแตกร้าวขึ้นได้ สังคมหรือหมู่คณะนั้นย่อมมีแต่ความเจริญ และร่มเย็นเป็นสุขโดยทั่วหน้ากัน

  1. พุทธศาสนสุภาษิตที่ว่า สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี แปลว่าอะไร

    1.   ?    ความสามัคคีมีความสุข
    2.   ?    ความสุขคือความสามัคคีกัน
    3.   ?    งานจะสำเร็จเพราะความสามัคคี
    4.   ?    ความพร้อมเพรียงของหมู่คณะนำสุขมาให้
  2. ความพร้อมเพรียงของหมู่คณะ จะเกิดได้จากข้อใดมากที่สุด

    1.   ?    สามัคคี
    2.   ?    เมตตา
    3.   ?    อดทนอดกลั้น
    4.   ?    ขยันหมั่นเพียร
  3. ข้อใดคือความพร้อมเพรียงกัน

    1.   ?    ร่วมกันปฏิบัติตามกฎของโรงเรียน
    2.   ?    ซื้ออาหารในโรงอาหารพร้อมกัน
    3.   ?    เดินทางมาโรงเรียนพร้อมกัน
    4.   ?    พบปะเพื่อนรุ่นเดียวกัน
  4. ใครปฏิบัติตามพุทธศาสนสุภาษิต ที่ว่า สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี

    1.   ?    จอยช่วยเพื่อนทำความสะอาด
    2.   ?    หญิงชวนเพื่อนไปเที่ยวด้วยกัน
    3.   ?    มดบริจาคสิ่งของแก่ผู้ยากไร้
    4.   ?    แก้มชวนเพื่อนไปทำบุญ
  5. ความพร้อมเพรียงของหมู่คณะเกิดขึ้นได้เพราะคุณธรรมข้อใด

    1.   ?    ความประหยัด
    2.   ?    ความซื่อสัตย์
    3.   ?    ความโอบอ้อมอารี
    4.   ?    การเห็นประโยชน์ส่วนรวม
  6. เพราะเหตุใดความสามัคคีจึงทำให้เกิดความสุขแก่หมู่คณะ

    1.   ?    ได้พบปะผู้คนมากมาย
    2.   ?    ทำงานต่างๆ สำเร็จลงได้ง่าย
    3.   ?    ทุกคนมีโอกาสแสดงความเห็น
    4.   ?    ทุกคนต่างเป็นคนกลุ่มเดียวกัน
  7. พุทธศาสนสุภาษิตใดที่ตรงกับเมตตาธรรม ค้ำจุนโลก

    1.   ?    นัตถิ สันติปรัง สุขัง
    2.   ?    สัจจังเว อมตา วาจา
    3.   ?    โลโกปัตถัมภิกา เมตตา
    4.   ?    อัตตา หเว ชิตัง เสยโย
  8. การกระทำใดตรงกับพุทธศาสนสุภาษิตที่ว่า โลโกปตฺถมฺภิกา เมตฺตา

    1.   ?    ตั้งใจเรียน
    2.   ?    ให้อาหารสัตว์
    3.   ?    ฝึกสมาธิ
    4.   ?    กตัญญู
  9. ข้อใดไม่ใช่การแสดงความมีเมตตา

    1.   ?    ตกปลา
    2.   ?    เลี้ยงแมว
    3.   ?    ให้อาหารนก
    4.   ?    บริจาคเสื้อผ้า
  10. เพราะเหตุใดความมีเมตตาจึงทำให้สังคมสงบสุข

    1.   ?    ไม่มีคนเอารัดเอาเปรียบกัน
    2.   ?    ทุกคนไม่ต้องทำงานหนัก
    3.   ?    ทุกคนตั้งใจทำตามหน้าที่
    4.   ?    ไม่มีคนรวยและคนจน

สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี หมายถึงอะไร

สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี ความพร้อมเพรียง ความสามัคคีแห่งหมู่ เป็นสุข

สุขาสงฆสสสามคคีอ่านว่าอะไร

สุขา สง ฆสสส สามคคี อ่านว่า สุ-ขา-สัง-คัด-สะ-สา-มัก-คี

สุขาสังฆัสสะสามัคคีหมายถึงอะไร

ย่อมนำความสุขมาให้

พุทธศาสนสุภาษิตมีความหมายว่าอย่างไร

พุทธศาสนสุภาษิต คือ คำสอน ถ้อยคำ หรือประโยคที่ให้ความคิดทางพุทธศาสนา ตัวอย่างเช่น นตฺถิ ปญฺญาสมา อาภา อ่านว่า นัตถิ ปัญญาสะมา อาภา แปลว่า แสงสว่างเสมอด้วยปัญญา ไม่มี ความหมาย ผู้มีปัญญาเปรียบเหมือนมีแสงสว่างคอยนำทางชีวิต